Skip to content
Home » [NEW] ขอคนไทยรวมพลังความสามัคคี ตามพระราชปณิธาน’ในหลวง ร.9′ | สุภาษิต ความ ดี – NATAVIGUIDES

[NEW] ขอคนไทยรวมพลังความสามัคคี ตามพระราชปณิธาน’ในหลวง ร.9′ | สุภาษิต ความ ดี – NATAVIGUIDES

สุภาษิต ความ ดี: คุณกำลังดูกระทู้

บนเส้นทาง 35 ปีแห่งการถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทในหลวงรัชกาลที่ 9 ยังที่ต่างๆ ทั่วประเทศนั้น ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้ถ่ายทอดเรื่องราวว่า ตลอดรัชกาล 70 ปี พระองค์ทรงสอนเรื่องความดี ประหนึ่งแสงประทีปที่นำทางชีวิต ทรงพร่ำสอนเรื่อง ดิน น้ำ ลม ไฟ อยู่เสมอ ถ้าเราไม่รักษาแผ่นดิน ไม่รักษาชาติบ้านเมือง ไม่รักษาปัจจัยแห่งชีวิต ชีวิตก็คงจะอยู่ไม่ได้ พร้อมทางรอดของชีวิตกับ 4,700 โครงการพระราชดำริ ที่เปรียบเสมือนเป็นบทเรียนที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ รวมถึงภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดคือ การบริหารความเสี่ยงของบ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งสถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดอย่างรุนแรง การใช้ชีวิตแบบนิวนอร์มอล เว้นระยะห่างนั้น พระองค์ท่านทรงเตือนไว้ตั้งแต่ พ.ศ.2541                     
    ตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี พระองค์ท่านทรงสอนเรื่องการครองแผ่นดินด้วยความรัก ความเมตตาที่ทรงมีต่อพสกนิกร พระองค์ทรงคิดค้นการบริหารน้ำ การบริหารยอดเขาและป่าไม้ และการบริหารท้องฟ้า โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้สรุปงานของพระองค์ได้ว่า จากนภา ผ่านภูผา สู่มหานที อย่างที่ทุกคนเรียกว่า “ศาสตร์พระราชา” งานชิ้นแรกของพระองค์ท่านเริ่มจากท้องฟ้า เรามองเห็นเป็นเพียงเมฆ แต่พระองค์ท่านทรงเห็นเป็นสายน้ำ เป็นต้นกำเนิดของโครงการฝนหลวง หลักการทำงานที่จำได้ขึ้นใจคือ การดูแลป่าต้นน้ำ 3 ส่วน ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ เพราะป่าไม้เปรียบเสมือนเป็นทรัพย์สมบัติทางธรรมชาติและเป็นสายใยแห่งชีวิตของเราทั้งสิ้น พระองค์ท่านทรงสอนวิธีการแก้ปัญหาไว้ให้เราหมดแล้ว รวมไปถึงปรัชญาชีวิตที่พระองค์ทรงสอนไว้ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง      เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่แค่การปลูกข้าวหรือขุดร่องผัก แต่แท้ที่จริงแล้ว เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักปรัชญาและความคิดด้วยหลักธรรม 3 ประการ คือ พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน ซึ่งการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น เราต้องรู้จักประมาณตน ประเมินศักยภาพตัวเองเสียก่อน เพราะทุกคนมีต้นทุนไม่เหมือนกัน จะทำสิ่งใดนั้นต้องคำนึงต้นทุนที่มีอยู่ในตัว อย่างทุนของประเทศไทยคือ อู่ข้าวอู่น้ำ ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เราพูดกันมากว่า 900 ปีแล้ว จึงสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาที่ถูกวิธี ดั่งพระองค์ท่านทรงใช้เหตุผลในการนำทาง ต่อเนื่องด้วยการใช้สติปัญญา อย่าใช้อารมณ์และความอยากในการเดินตามผู้อื่น ภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดคือ การบริหารความเสี่ยงของบ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งไม่คาดคิดว่าจะเกิดสภาพแบบนี้ ทั้งสถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดอย่างรุนแรง การใช้ชีวิตแบบนิวนอร์มอล เว้นระยะห่าง ความเสี่ยงแบบ distancing พระองค์ท่านทรงเตือนไว้เมื่อปี พ.ศ.2541 ให้ระวังการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นดังเช่นปัจจุบัน พร้อมที่จะเผชิญหากมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทางเลือก 3 ทางที่จะชนะความเปลี่ยนแปลงได้คือ ประการที่ 1) เราจะสู้กับการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ หากจะสู้เราต้องเปลี่ยนจากตัวเราก่อน ให้เป็นผู้นำก้าวกระโดดทางนวัตกรรม ประการที่ 2) แก้ไขเป็นวันๆ แบบเสมอตัว และประการที่ 3) หนีความเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า Disruption นี่คือสิ่งที่พระองค์ทรงสอนว่าอย่ามองข้ามปัญหาที่กำลังเผชิญ พร้อมรับมือกับปัญหา ไม่ต้องรอการพึ่งพาจากผู้อื่น หากเรารอคอยความช่วยเหลือ ชีวิตเราจะแขวนอยู่กับความไม่แน่นอน ซึ่งพระองค์ท่านทรงหลักการทำงานด้วยธรรมะ 3 ข้อ คือ ความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง โดยเราต้องรอบรู้ว่าโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ต้องมีความฉลาด เพราะความโลภจะทำให้เกิดความพินาศ อย่าคดโกง ตั้งมั่นบนความซื่อสัตย์สุจริต รู้จักแบ่งปันผู้อื่น เพราะถ้าสังคมอยู่ไม่ได้ ตัวเราก็อยู่ไม่ได้เช่นเดียวกัน สุดท้ายสังคมและประเทศชาติจะเดินไปสู่จุดหมายปลายทางด้วย 3 คำ คือ มั่นคง สมดุล และยั่งยืน    
    UN SDGs หรือ Sustainable Development Goals 17 ข้อที่สหประชาชาติได้กำหนดออกมานั้น ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่านทรงได้กำหนดไว้ก่อนหน้านี้แล้ว แต่คนไทยไม่ใส่ใจ ซึ่งนั่นคือเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ท่านทรงกำหนดไว้อย่างเหนือชั้น ด้วยวิธีคิดเป็นหมวกครอบทั้งหมด แต่เป็นที่น่าเสียดายแทนคนไทย ดังเช่นสุภาษิตที่ว่า ใกล้เกลือกินด่าง ผิดกับชาวต่างชาติที่เข้ามาศึกษาเรียนรู้ แต่คนไทยนั้นอยู่ใกล้ปราชญ์เสียเปล่า แต่ไม่ค่อยเอาธรรมะ มัวแต่ไปไขว่คว้าความฝันของผู้อื่น จนเกิดเป็นความแตกแยกอย่างเช่นทุกวันนี้ ซึ่งการรู้จักประมาณตนและพอประมาณจะนำพาทุกคนก้าวไปข้างหน้า และสุดท้ายความฝันของพระองค์ท่านก็จะสำเร็จ เพราะได้เห็นทุกคนได้ประโยชน์และมีความสุขชั่วลูกชั่วหลาน                 
    ดร.สุเมธ ให้แง่คิดแก่ผู้เข้าอบรมในโครงการอบรมวิทยากรส่งเสริมคุณธรรม Sustainability c Moral “ตามรอยพระราชา” ว่าคุณธรรมไม่ใช่สิ่งที่ปรุงแต่ง ไม่จำเป็นต้องใช้เทคนิคในการถ่ายทอด แต่เป็นสิ่งที่ออกมาจากภายใน จากการเห็นคุณค่าและการลงมือทำจนเกิดผลเป็นรูปธรรม และสื่อสารจากประสบการณ์ตรง ต้องยอมรับกันว่าคุณธรรมเป็นสิ่งที่ต้องการอย่างมากในสังคมไทย และเป็นรากฐานที่สำคัญและมั่นคงสำหรับประโยชน์สุขของทุกคนในสังคม เปรียบเสมือนเสาเข็มที่มองไม่เห็น แต่ยิ่งวางเสาเข็มให้แข็งแรงมั่นคงเท่าไร ย่อมสามารถต่อเติมอาคารบ้านเรือนให้สวยงามแข็งแรงตลอดไป
    ความตอนหนึ่งจากการแสดงปาฐกถาเปิดโครงการอบรมวิทยากรส่งเสริมคุณธรรม Sustainability c Moral “ตามรอยพระราชา” สร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนจากศาสตร์พระราชา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2564 จัดขึ้นโดย ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ร่วมกับมูลนิธิธรรมดี โดยมี รศ.นพ.สุริยเดว ทรีปาตี ผู้อำนวยการศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ดร.ดนัย จันทร์เจ้าฉาย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิศูนย์คุณธรรม และประธานมูลนิธิธรรมดี อาจารย์อดุลย์ ดาราธรรม นายกสมาคมนักเรียนเก่า AFS ประเทศไทย ร่วมเป็นวิทยากรในหลักสูตร เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และปราชญ์ชาวบ้านในแหล่งเรียนรู้ทั่วประเทศ ให้เกิดการบูรณาการพัฒนานวัตกรรมศาสตร์พระราชา จาก 9 เส้นทาง 81 แหล่งเรียนรู้ สู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมสืบไป ติดตามข้อมูลได้ทาง Facebook: ตามรอยพระราชา The King’s Journey.

ฝ่ายประชาสัมพันธ์มูลนิธิธรรมดี 
 

[NEW] ขอคนไทยรวมพลังความสามัคคี ตามพระราชปณิธาน’ในหลวง ร.9′ | สุภาษิต ความ ดี – NATAVIGUIDES

บนเส้นทาง 35 ปีแห่งการถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทในหลวงรัชกาลที่ 9 ยังที่ต่างๆ ทั่วประเทศนั้น ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้ถ่ายทอดเรื่องราวว่า ตลอดรัชกาล 70 ปี พระองค์ทรงสอนเรื่องความดี ประหนึ่งแสงประทีปที่นำทางชีวิต ทรงพร่ำสอนเรื่อง ดิน น้ำ ลม ไฟ อยู่เสมอ ถ้าเราไม่รักษาแผ่นดิน ไม่รักษาชาติบ้านเมือง ไม่รักษาปัจจัยแห่งชีวิต ชีวิตก็คงจะอยู่ไม่ได้ พร้อมทางรอดของชีวิตกับ 4,700 โครงการพระราชดำริ ที่เปรียบเสมือนเป็นบทเรียนที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ รวมถึงภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดคือ การบริหารความเสี่ยงของบ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งสถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดอย่างรุนแรง การใช้ชีวิตแบบนิวนอร์มอล เว้นระยะห่างนั้น พระองค์ท่านทรงเตือนไว้ตั้งแต่ พ.ศ.2541                     
    ตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี พระองค์ท่านทรงสอนเรื่องการครองแผ่นดินด้วยความรัก ความเมตตาที่ทรงมีต่อพสกนิกร พระองค์ทรงคิดค้นการบริหารน้ำ การบริหารยอดเขาและป่าไม้ และการบริหารท้องฟ้า โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้สรุปงานของพระองค์ได้ว่า จากนภา ผ่านภูผา สู่มหานที อย่างที่ทุกคนเรียกว่า “ศาสตร์พระราชา” งานชิ้นแรกของพระองค์ท่านเริ่มจากท้องฟ้า เรามองเห็นเป็นเพียงเมฆ แต่พระองค์ท่านทรงเห็นเป็นสายน้ำ เป็นต้นกำเนิดของโครงการฝนหลวง หลักการทำงานที่จำได้ขึ้นใจคือ การดูแลป่าต้นน้ำ 3 ส่วน ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ เพราะป่าไม้เปรียบเสมือนเป็นทรัพย์สมบัติทางธรรมชาติและเป็นสายใยแห่งชีวิตของเราทั้งสิ้น พระองค์ท่านทรงสอนวิธีการแก้ปัญหาไว้ให้เราหมดแล้ว รวมไปถึงปรัชญาชีวิตที่พระองค์ทรงสอนไว้ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง      เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่แค่การปลูกข้าวหรือขุดร่องผัก แต่แท้ที่จริงแล้ว เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักปรัชญาและความคิดด้วยหลักธรรม 3 ประการ คือ พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน ซึ่งการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น เราต้องรู้จักประมาณตน ประเมินศักยภาพตัวเองเสียก่อน เพราะทุกคนมีต้นทุนไม่เหมือนกัน จะทำสิ่งใดนั้นต้องคำนึงต้นทุนที่มีอยู่ในตัว อย่างทุนของประเทศไทยคือ อู่ข้าวอู่น้ำ ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เราพูดกันมากว่า 900 ปีแล้ว จึงสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาที่ถูกวิธี ดั่งพระองค์ท่านทรงใช้เหตุผลในการนำทาง ต่อเนื่องด้วยการใช้สติปัญญา อย่าใช้อารมณ์และความอยากในการเดินตามผู้อื่น ภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดคือ การบริหารความเสี่ยงของบ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งไม่คาดคิดว่าจะเกิดสภาพแบบนี้ ทั้งสถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดอย่างรุนแรง การใช้ชีวิตแบบนิวนอร์มอล เว้นระยะห่าง ความเสี่ยงแบบ distancing พระองค์ท่านทรงเตือนไว้เมื่อปี พ.ศ.2541 ให้ระวังการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นดังเช่นปัจจุบัน พร้อมที่จะเผชิญหากมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทางเลือก 3 ทางที่จะชนะความเปลี่ยนแปลงได้คือ ประการที่ 1) เราจะสู้กับการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ หากจะสู้เราต้องเปลี่ยนจากตัวเราก่อน ให้เป็นผู้นำก้าวกระโดดทางนวัตกรรม ประการที่ 2) แก้ไขเป็นวันๆ แบบเสมอตัว และประการที่ 3) หนีความเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า Disruption นี่คือสิ่งที่พระองค์ทรงสอนว่าอย่ามองข้ามปัญหาที่กำลังเผชิญ พร้อมรับมือกับปัญหา ไม่ต้องรอการพึ่งพาจากผู้อื่น หากเรารอคอยความช่วยเหลือ ชีวิตเราจะแขวนอยู่กับความไม่แน่นอน ซึ่งพระองค์ท่านทรงหลักการทำงานด้วยธรรมะ 3 ข้อ คือ ความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง โดยเราต้องรอบรู้ว่าโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ต้องมีความฉลาด เพราะความโลภจะทำให้เกิดความพินาศ อย่าคดโกง ตั้งมั่นบนความซื่อสัตย์สุจริต รู้จักแบ่งปันผู้อื่น เพราะถ้าสังคมอยู่ไม่ได้ ตัวเราก็อยู่ไม่ได้เช่นเดียวกัน สุดท้ายสังคมและประเทศชาติจะเดินไปสู่จุดหมายปลายทางด้วย 3 คำ คือ มั่นคง สมดุล และยั่งยืน    
    UN SDGs หรือ Sustainable Development Goals 17 ข้อที่สหประชาชาติได้กำหนดออกมานั้น ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่านทรงได้กำหนดไว้ก่อนหน้านี้แล้ว แต่คนไทยไม่ใส่ใจ ซึ่งนั่นคือเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ท่านทรงกำหนดไว้อย่างเหนือชั้น ด้วยวิธีคิดเป็นหมวกครอบทั้งหมด แต่เป็นที่น่าเสียดายแทนคนไทย ดังเช่นสุภาษิตที่ว่า ใกล้เกลือกินด่าง ผิดกับชาวต่างชาติที่เข้ามาศึกษาเรียนรู้ แต่คนไทยนั้นอยู่ใกล้ปราชญ์เสียเปล่า แต่ไม่ค่อยเอาธรรมะ มัวแต่ไปไขว่คว้าความฝันของผู้อื่น จนเกิดเป็นความแตกแยกอย่างเช่นทุกวันนี้ ซึ่งการรู้จักประมาณตนและพอประมาณจะนำพาทุกคนก้าวไปข้างหน้า และสุดท้ายความฝันของพระองค์ท่านก็จะสำเร็จ เพราะได้เห็นทุกคนได้ประโยชน์และมีความสุขชั่วลูกชั่วหลาน                 
    ดร.สุเมธ ให้แง่คิดแก่ผู้เข้าอบรมในโครงการอบรมวิทยากรส่งเสริมคุณธรรม Sustainability c Moral “ตามรอยพระราชา” ว่าคุณธรรมไม่ใช่สิ่งที่ปรุงแต่ง ไม่จำเป็นต้องใช้เทคนิคในการถ่ายทอด แต่เป็นสิ่งที่ออกมาจากภายใน จากการเห็นคุณค่าและการลงมือทำจนเกิดผลเป็นรูปธรรม และสื่อสารจากประสบการณ์ตรง ต้องยอมรับกันว่าคุณธรรมเป็นสิ่งที่ต้องการอย่างมากในสังคมไทย และเป็นรากฐานที่สำคัญและมั่นคงสำหรับประโยชน์สุขของทุกคนในสังคม เปรียบเสมือนเสาเข็มที่มองไม่เห็น แต่ยิ่งวางเสาเข็มให้แข็งแรงมั่นคงเท่าไร ย่อมสามารถต่อเติมอาคารบ้านเรือนให้สวยงามแข็งแรงตลอดไป
    ความตอนหนึ่งจากการแสดงปาฐกถาเปิดโครงการอบรมวิทยากรส่งเสริมคุณธรรม Sustainability c Moral “ตามรอยพระราชา” สร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนจากศาสตร์พระราชา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2564 จัดขึ้นโดย ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ร่วมกับมูลนิธิธรรมดี โดยมี รศ.นพ.สุริยเดว ทรีปาตี ผู้อำนวยการศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ดร.ดนัย จันทร์เจ้าฉาย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิศูนย์คุณธรรม และประธานมูลนิธิธรรมดี อาจารย์อดุลย์ ดาราธรรม นายกสมาคมนักเรียนเก่า AFS ประเทศไทย ร่วมเป็นวิทยากรในหลักสูตร เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และปราชญ์ชาวบ้านในแหล่งเรียนรู้ทั่วประเทศ ให้เกิดการบูรณาการพัฒนานวัตกรรมศาสตร์พระราชา จาก 9 เส้นทาง 81 แหล่งเรียนรู้ สู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมสืบไป ติดตามข้อมูลได้ทาง Facebook: ตามรอยพระราชา The King’s Journey.

ฝ่ายประชาสัมพันธ์มูลนิธิธรรมดี 
 


#สุภาษิต #สำนวนไทย ใช้บ่อย 100 คำ


สุภาษิต หรือ ภาษิต หมายถึง ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน เตือนสติ ด้วยหลักความจริง ส่วนมากเป็นคำคล้องจอง มีการสืบทอดมาแต่โบราณและแต่ละชุมชน กระทั่งแต่ละเหล่าอาชีพก็มีสำนวนของใครของมันคล้ายกันบ้าง แตกต่างกันไปบ้าง ทั้งนี้เพราะที่มาไม่เหมือนกันแต่โดยความหมายมักเทียบเคียงกันได้ แม้แต่ภาษาต่างวัฒนธรรมก็ยังมีส่วนคล้ายกันในทางอุปมา ..
สำนวนไทย คือถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า สำนวน คือถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือความที่เรียบเรียงขึ้นในเชิงอุปมาอุปมัยโดยมีนัยแฝงเร้นซ่อนอยู่อย่างลึกซึ้ง แยบคาย เพื่อให้ผู้รับได้ไปตีความ ทำความเข้าใจด้วยตนเองอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งอาจแตกต่างไปความหมายเดิมหรืออาจคล้ายคลึงกับความหมายเดิมก็ได้ สันนิษฐานว่า สำนวนนั้นมีอยู่ในภาษาพูดก่อนที่จะมีภาษาเขียนเกิดขึ้นในสมัยสุโขทัย โดยเมื่อพิจารณาจากข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงแล้ว ก็พบว่ามีสำนวนไทยปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ เช่น ไพร่ฟ้าหน้าใส หมายถึง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข ..
เพลย์ลิสต์ แคนดี้จอมแก่น https://www.youtube.com/watch?v=vYufhxVFBs\u0026list=PLfU4q0XQ6pQvp4eQgAX1DUw2GM9NkZSCL
สุภาษิต สำนวนไทย https://youtu.be/TyPpxmXQQkM
รายชื่อนายกรัฐมนตรี https://www.youtube.com/watch?v=3MOJoc7YkDo\u0026list=PLfU4q0XQ6pQuYfktA9RuexN_XWBQfPt1I
นิทานร้อยบรรทัด https://www.youtube.com/watch?v=8W_j54cpfGo\u0026list=PLfU4q0XQ6pQuitZlva8Me2rxfNcMBwQms
คำขวัญวันเด็ก https://www.youtube.com/watch?v=ypmQjFkAJYg\u0026list=PLfU4q0XQ6pQsarh0TuCwHpcE8MhMVA4Xz
คำขวัญจังหวัดต่างๆ https://www.youtube.com/watch?v=H8nvEiy9A4I\u0026list=PLfU4q0XQ6pQtJprATKMpVbQLz1BRQs1

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

#สุภาษิต #สำนวนไทย ใช้บ่อย 100 คำ

[DAILY WORD] คนที่แสวงหาความดี สุภาษิต (Proverbs) 11 ตอนที่ 10


dailyword พระคำประจำวัน สุภาษิต11

[DAILY WORD] คนที่แสวงหาความดี สุภาษิต (Proverbs) 11 ตอนที่ 10

สำนวน สุภาษิต คำพังเพยของไทย #สำนวนไทย #สำนวน #สุภาษิต #คำพังเพย #ภาษาไทย


สำนวน สุภาษิต คำพังเพยของไทย วันนี้ครูฟ้าหยิบยกมา 65 สำนวนด้วยกัน มาพร้อมกับความหมาย
ขอให้ทุกท่านสนุกสนานและได้ความรู้จากการชมคลิปวีดิโอนะคะ
ขอขอบคุณ ภาพสำนวนสุภาษิตคำพังเพย จากเพจ ห้องสื่อครูบาส
สนใจศึกษาเพิ่มเติมคลิกที่ลิ้งค์นี้ได้เลยค่ะ
https://web.facebook.com/pg/KruBasIT/photos/?tab=album\u0026album_id=1724433611101738\u0026__tn__=UCR

สำนวน สุภาษิต คำพังเพยของไทย #สำนวนไทย #สำนวน #สุภาษิต #คำพังเพย #ภาษาไทย

มื้อสันวันดี กินจุ๊เนื้อสด สามสิบกลีบพันตับแกล้มมะระขี้นกแซ่บๆ ขมอ่ำหล่ำคือเก่า


ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามรับชม
กินจุ๊เนื้อสด สามสิบกลีบพันตับแกล้มมะระขี้นกแซ่บๆ ขมอ่ำหล่ำคือเก่า บางลีลาอาจบ่สุภาพปานใด๋กะขออภัยเด้อครับ ขอบคุณความรักความเมตตา ขอบคุณทุกคอมเมนต์ ที่ทุกท่านมีให้กับบ่าวท้าว ฝากเป็นแรงใจ อย่าลืมกด subscribe หรือกดติดตาม และกดกระดิ่งไว้ เพื่อไม่ให้พลาดการรับชมคลิปใหม่ๆ ก่อนใครนะครับ\r
ติดตามเพิ่มเติมได้ที่\r
Facebook : https://www.facebook.com/profile.php?id=100007548155534\r
แฟนเพจ : https://www.facebook.com/bawtaw2019/

มื้อสันวันดี กินจุ๊เนื้อสด สามสิบกลีบพันตับแกล้มมะระขี้นกแซ่บๆ ขมอ่ำหล่ำคือเก่า

อมตะนิทาน เรื่อง วาจา สุภาษิต สุภาสิตา จ ยา วาจา มงคลชีวิต


vihantaweesakอมตะนิทานวาจามงคลชีวิต อมตะนิทาน เรื่อง วาจา สุภาษิต สุภาสิตา จ ยา วาจา มงคลชีวิต วาจาสุภาษิต หมายถึง คำพูดที่ผู้พูดได้กลั่นกรองไว้ดีแล้วด้วยใจที่ผ่องใส มิใช่สักแต่พูด อวัยวะในร่างกายของคนเรานี้ก็แปลก ตา มีหน้าที่ ดู อย่างเดียว ธรรมชาติให้มา ๒ ตา
หู มีหน้าที่ ฟัง อย่างเดียว ธรรมชาติให้มา ๒ หู
แต่ปาก มีหน้าที่ถึง ๒ อย่าง คือทั้งกินและพูด ธรรมชาติกลับให้ มาเพียงปากเดียว แสดงว่าธรรมชาติต้องการให้คนดูให้มาก ฟังให้มาก แต่พูดให้น้อยๆ ให้มีสติคอยระมัดระวังปาก จะกินก็กินให้พอเหมาะ จะพูดก็พูดให้พอดี ลักษณะคำพูดที่พอเหมาะพอดี เป็นคุณทั้งแก่ตัวผู้พูดและผู้ฟังเรียกว่า วาจาสุภาษิต
องค์ประกอบของวาจาสุภาษิต
๑. ต้องเป็นคำจริง ไม่ใช่คำพูดที่ปั้นแต่งขึ้น เป็นคำพูดที่ไม่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ไม่บิดเบือนจากความจริง ไม่เสริมความ ไม่อำความ ต้องเป็นเรื่องจริง ๒. ต้องเป็นคำสุภาพ เป็นคำพูดไพเราะ ที่กลั่นออกมาจากน้ำใจที่ บริสุทธิ์ ไม่เป็นคำหยาบ คำด่า คำประชดประชัน คำเสียดสี คำหยาบนั้นฟังก็ ระคายหู แค่คิดถึงก็ระคายใจ
๓. พูดแล้วก่อให้เกิดประโยชน์ เกิดผลดีทั้งแก่คนพูดและคนฟัง ถึงแม้คำพูดนั้นจะจริงและเป็นคำสุภาพ แต่ถ้าพูดแล้วไม่เกิดประโยชน์อะไร กลับจะทำให้เกิดโทษ ก็ไม่ควรพูด
๔. พูดด้วยจิตเมตตา พูดด้วยความปรารถนาดี อยากให้คนฟังมี ความสุข มีความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป ในข้อนี้หมายถึงว่า แม้จะพูดจริง เป็นคำ สุภาพ พูดแล้วเกิดประโยชน์ แต่ถ้าจิตยังคิดโกรธมีความริษยาก็ยังไม่สมควรพูด เพราะผู้ฟังอาจรับไม่ได้ ถ้วยคำที่กล่าวด้วยจิตขุนมัว แม้เพียงประโยคเดียวอาจก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงอย่างไม่อาจประมาณได้
๕. พูดถูกกาลเทศะ แม้ใช้คำพูดที่ดี เป็นคำจริง เป็นคำสุภาพ เป็นคำพูดที่มีประโยชน์ และพูดด้วยจิตที่เมตตา แต่ถ้าผิดจังหวะ ไม่ถูกกาลเทศะ ผู้ฟังยังไม่พร้อมที่จะรับแล้ว จะก่อให้เกิดผลเสียได้ เช่น จะกลายเป็นประจานหรือจับผิดกันไป
พูดถูกเวลา (กาล) คือรู้ว่าเวลาไหนควรพูด เวลาไหนยังไม่ควรพูด ควรพูดนานเท่าไร ต้องคาดผลที่จะเกิดขึ้นไว้ด้วย
พูดถูกสถานที่ (เทศะ) คือรู้ว่าในสถานที่เช่นไร เหตุการณ์แวดล้อม เช่นไรจึงสมควรที่จะพูด หากพูดออกไปแล้วจะมีผลดีหรือผลเสียอย่างไร
เช่น มีความหวังดีอยากเตือนเพื่อนไม่ให้ดื่มเหล้า แต่ไปเตือนขณะเพื่อนกำลังเมาอยู่ในหมู่เพื่อนฝูงทำให้เขาเสียหน้า อย่างนี้นอกจากเขาจะไม่ฟังแล้ว เราเองอาจเจ็บตัวได้
“คนฉลาดไม่ใช่เป็นแต่พูดเท่านั้น ต้องนิ่งเป็นด้วย
คนที่พูดเป็นนั้น ต้องรู้ในสิ่งที่ไม่ควรพูดให้ยิ่งกว่าสิ่งที่ควรพูด”

อมตะนิทาน  เรื่อง  วาจา สุภาษิต  สุภาสิตา จ ยา วาจา   มงคลชีวิต

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ สุภาษิต ความ ดี

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *