Skip to content
Home » [NEW] การใช้คำเชื่อมในภาษาอังกฤษ « Pitukpong’s Blog | in order to ใช้ยังไง – NATAVIGUIDES

[NEW] การใช้คำเชื่อมในภาษาอังกฤษ « Pitukpong’s Blog | in order to ใช้ยังไง – NATAVIGUIDES

in order to ใช้ยังไง: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

And (และ)ใช้เชื่อมข้อความคล้อยตาม กันสอดคล้องกันหรือเป็นไปทำนองเดียวกัน เช่น
We eat with fork and a spoon.
Tina and Tom are playing football.

Or (หรือ)
ใช้เชื่อมข้อความเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
Is your house big or small
Would you like tea or coffee

But (แต่)
ใช้เชื่อมข้อความที่ขัดแย้งกัน เช่น
That house is beautiful but very expensive.
I can ride a bicycle but I can’t ride a horse.

Because (เพราะว่า) ใช้เชื่อมข้อความที่เป็นเหตุเป็นผลกันโดย becauseจะนำหน้าประโยคที่เป็น สาเหตุ
เช่น
I like my sister because she is pretty.
She can pass the exam because she studies hard.

So (ดังนั้น)
ใช้เชื่อมข้อความที่เป็นเหตุเป็นผลกันโดย so จำนำหน้าประโยคที่เป็นผล
เช่น
Cathy eats a lot so she is fat.
My sister is pretty so I like her.

Though/although (แม้ว่า) ใช้เชื่อมข้อความที่ขัดแย้งกัน เช่น
Although he ran very fast, he didn’t win the first prize.

Either….or (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2อย่าง) ถ้านำมาเชื่อมประโยคในส่วนที่เป็นประธานจะ ใช้คำกริยาตามประธานตัวหลัง เช่น
Either you or he is wrong.
You can get either this pen or that pencil.

Neither …….nor (ไม่ทั้ง 2อย่าง)
ถ้านำมาเชื่อมประโยคในส่วนที่เป็นประธานจะ ใช้คำกริยาตามประธานตัวหลัง
เช่น
Neither I nor she speaks English.

o that: (เพื่อว่า, เผื่อว่า)
ตามด้วยประโยค (Clause) เสมอ
กริยาของประโยคที่ตามหลัง so that จะต้องอยู่ในรูป may หรือ might หรือ should + Verb ช่องที่ 1 เช่น
I stepped a side “so that” she “might” go in. (ผมก้าวไปข้าง ๆ เพื่อว่าหล่อนจะได้เข้าไปข้างในได้)
ถ้าต้องการเปลี่ยนประโยค Complex Sentence ที่มี so that มาเชื่อม ไปเป็น Simple Sentence
ก็สามารถทำได้โดยใช้ in order to หรือ so as to + Verb ช่องที่ 1 ได้ เช่น
He gave up smoking “in order to (หรือ so as to)” get better. (เขาเลิกบุหรี่ก็เพื่อให้อาการ (ของเขา) ดีขึ้น)

so……that: (เสีย…จนกระทั่ง)
คำที่อยู่ระหว่าง so…that ได้แก่ Adjective (คุณศัพท์) หรือ Adverb (กริยาวิเศษณ์) เท่านั้น
แต่บางครั้งหลัง Adjective จะมีนามมาร่วมด้วยก็ได้ มีโครงสร้างดังนี้ so + [Adverb/Adjective/Adj+Noun] + that เช่น
Wichai runs “so” fast “that” I cannot overtake him.

such…..that: (เสีย…จน)
คำที่อยู่ระหว่าง such…that ได้แก่ นาม โดยมี Adjective มาขยายอยู่ข้างหน้า มีโครงสร้างดังนี้
แบบ A: such a + Adjective + นามเอกพจน์นับได้ + that เช่น
He is “such” a good boy “that” everyone likes him. (เขาเป็นเด็กดีเสียจนทุก ๆ คนชอบเขา)
such a + Adjective + นามเอกพจน์นับได้ ในแบบ A นั้นจะใช้ so…that มาแทนก็ได้ แต่ต้องเขียนโครงสร้างใหม่ คือ ให้ a มาอยู่ชิดกับนามเอกพจน์ที่นับได้ เป็นดังนี้ so + Adjective + a + นามเอกพจน์นับได้ + that เช่น
He is “so” good “a” boy “that” I like him.
(= He is “such a” good boy “that” I like him.)
แบบ B: such + [Adjective+นามพหูพจน์ / Adjective+นามนับไม่ได้] + that เช่น
They are  “such” heavy boxes “that” I can hardly lift them up.

in order to, so as to: (เพื่อที่จะ)
ตามด้วย Infinitive (กริยาช่องที่ 1) ทั้งนี้เพื่อเชื่อมเนื้อความ 2 ประโยคให้เป็นหนึ่งประโยค เช่น
I shall go on working late tonight “so as to” be free tomorrow.
(= I shall go on working late tonight. I shall be free tomorrow.)
(ผมจะทำงานต่อไปจนดึกเพื่อที่จะว่าง (ไม่ต้องทำงาน) ในวันพรุ่งนี้)

in order that: (เพื่อว่า)
in order that ต่างจาก in order to ตรงที่ว่า in order to ตามด้วย infinitive ส่วน in order that ตามด้วยประโยค (Clause) ตลอดไป
Children go to school “in order that” they may learn things.
(= Children go to school “in order to” learn things.)

lest: (มีความหมายเท่ากับ so that…not แปลว่า “เพื่อจะได้ไม่”)
ประโยคที่ตามหลัง lest ต้องใช้ should (แทน may, might) ตลอดไป และใช้ได้กับทุกบุรุษอีกด้วย เช่น
He works harder “lest” he should (may) fail. (เขาทำงานหนักขึ้น เพื่อจะได้ไม่ประสบความล้มเหลว)

as long as, so long as: (เมื่อ, ถ้า)
สันธานคู่ (Correlative Conjunction) ตัวนี้ นิยมวางไว้ต้นประโยคมากกว่ากลางประโยค และเมื่อจบประโยคข้างหน้าต้องใส่เครื่องหมาย Comma (,) ทันที เช่น
“As (so) long as” you come here in time, you will see her. (ถ้าคุณมาที่นี่ทันเวลา คุณจะพบเธอแน่)

if: (ถ้า, หาก)
คำนี้เมื่อเชื่อมประโยคจะวางไว้ต้นหรือกลางประโยคทั้งสองก็ได้
ถ้าวางไว้ต้นประโยค เมื่อจบประโยคท่อนแรกให้ใส่ Comma (,) เช่น
“If” the weather holds good, we shall stay another week.
แต่ถ้าวาง if ไว้กลางประโยคทั้งสอง ไม่ต้อง Comma เช่น
We shall stay here another week “if” the weather holds good.

unless: (ถ้า…ไม่, เว้นเสียแต่ว่า…ไม่) มีความหมายเท่ากับ if…not
เมื่อนำมาเชื่อมจะวางไว้ต้นหรือกลางประโยคก็ได้ เช่น
We shall go “unless” it rains.
หรือ “Unless” it rains, we shall go.
(= We shall go “if” it “does not” rain.)
ระวัง! อย่าใช้ not ในประโยคที่ตามหลัง unless เพราะ unless มีความหมายเป็นปฏิเสธ (negative) อยู่ในตัวแล้ว เช่น
ผิด: “Unless” he “does not study” harder, he will fail in the exam.
ถูก: “Unless” he “studies” harder, he will fail in the exam.

but that: (ถ้า…ไม่) มีความหมายเหมือนกับ if…not
เมื่อนำมาเชื่อมความ จะวางไว้ต้นหรือกลางประโยคก็ได้ แต่ต้องตามหลังด้วยประโยค
และอย่าใช้ not ในประโยคที่ตามหลัง but that เพราะ but that มีความหมายเป็นปฏิเสธอยู่แล้ว เช่น
She would have fallen “but that” I caught her. (เธอคงจะตกลงไปแล้ว ถ้าผมไม่ได้จับเธอไว้)
“But that” he is in debt, he would enter priesthood. (ถ้าเขาไม่เป็นหนี้ เขาก็คงบวช)
จำอีก: “but for + Noun” แปลว่า “ถ้า…ไม่” เหมือนกับ but that
ต่างกันแต่ว่า หลัง but that เป็นประโยค ส่วนหลัง but for เป็นนาม
“But for” my help, he should have failed last year. (ถ้าผมไม่ช่วย เขาก็คงสอบตกไปแล้วปีกลายนี้)
(= “But that” I helped him, he should have failed last year.)

inasmuch as: (เพราะ, ด้วยเหตุที่) มีความหมายเท่ากับ because
จะวางไว้ต้นหรือกลางประโยคทั้งสองที่ไปเชื่อมก็ได้ เช่น
He yielded to the invader, “inasmuch as” his army was thoroughly defeated.
(เขายอมแพ้ต่อผู้มารุกราน (ข้าศึก) เพราะกองทัพของเขาถูกตีอย่างพ่ายแพ้ไป)
“Inasmuch as” he is sick, he had better go to hospital. (เพราะเขาไม่สบาย เขาก็ควรจะไปโรงพยาบาลดีกว่า)

or และ or else
or: (หรือ) ใช้เชื่อมคำ (words), วลี (phrases), ประโยค (clauses) ที่แสดงการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
เชื่อมคำ: Is it sweet “or” sour? (เปรี้ยวหรือหวาน?)
เชื่อมวลี: Is he at home “or” in the office? (เขาอยู่บ้านหรือว่าไปทำงาน?)
เชื่อมประโยค: You look after the house “or” go to work. (คุณเฝ้าบ้านหรือมิฉะนั้นก็ไปทำงาน (เลือกเอา))
ส่วน or else: (หรือมิฉะนั้น) มีความหมายเท่ากับ otherwise นิยมใช้เชื่อมประโยค (Clause) มากกว่าคำหรือวลี เช่น
I must clean it, “or else” it will be rusty. (ผมจะต้องทำความสะอาด มิฉะนั้นมันจะขึ้นสนิม)

till และ until: (จนกระทั่ง, จนกว่า)
until มักใช้กับประโยค (Clause) ที่ไปนำหน้าอีกประโยคหนึ่ง
พูดให้ง่ายเข้าก็คือ วางไว้ต้นประโยค ใช้ until (มากกว่า till ว่าอย่างงั้นเถอะ) เช่น
“Until” you told me, I had known nothing about him. (ผมไม่เคยได้รู้อะไรเกี่ยวกับเขาเลย จนกระทั่งคุณบอกผม)
till นิยมวางไว้กลางประโยคเสียมากกว่า (แต่จะใช้ until ก็ได้) เช่น
He had never written to me “till (until)” he returned.

provided และ providing: (ถ้าหากว่า) คำทั้งสองก็เป็นสันธานอันหนึ่ง มีหน้าที่เชื่อมประโยคดุจดั่งสันธานทั่ว ๆ ไป
แต่เวลานำมาใช้ provided จะตามด้วย that เสมอ
ส่วน providing ไม่ต้องมี that เช่น
We shall go “provided that” it does not rain. (พวกเราจะไปถ้าหากว่าฝนไม่ตก)
Amy will go “providing” her friend can go together. (เอมี่จะไปถ้าหากว่าเพื่อนของเธอก็ไปด้วยกันได้)

supposing: (ถ้า, สมมติว่า)
คำนี้นิยมไว้ต้นของประโยคหน้า หรือใช้กับ Clause หน้า เช่น
“Supposing” you win the government lottery, what do you buy? (สมมติว่าคุณถูกสลากกินแบ่งรัฐบาล คุณจะซื้ออะไรบ้าง?)

since: (ตั้งแต่, เพราะว่า, เนื่องจากว่า)
ถ้าแปลว่า “ตั้งแต่” ใช้เชื่อมระหว่างประโยค Present Perfect (Subject + have/has + V3) หรือ Present Simple (Subject + V1(ประฐานเอกพจน์เติมs)) กับ Past Simple (Subject + V2(เติมedบ้าง,ผันบ้าง)) เช่น
He has worked hard “since” his father died. (Present Perfect, Past Simple)
ถ้าแปลว่า “เพราะว่า, เนื่องจากว่า” ให้วางไว้หน้า Clause ของประโยคแรก เช่น
“Since” he doesn’t learn English, he can’t speak it. (เนื่องจาก (เพราะ) เขาไม่ได้เรียนภาษาอังกฤษ เขาจึงพูดไม่ได้)

as soon as: (เมื่อ = when)
แต่ใช้ความหมายฉับพลันกว่า when เช่น
I shall go back “as soon as” he arrives.
อนึ่ง จะวาง as soon as ไว้หน้า Clause แรกก็ได้ แต่ต้องใส่ Comma เมื่อจบความของประโยคแรก เช่น
“As soon as” he arrives, I will tell him.

in case: (ในกรณีที่, เพราะ)
ตามด้วยประโยค (Clause)
วิธีใช้ก็เช่นเดียวกับ so that, for fear that คือ จะต้องตามด้วย may, might, should, can, could ตัวใดตัวหนึ่ง เช่น
Don’t go too near the river “in case” you “should” fall in it. (อย่าเข้าไปใกล้แม่น้ำนัก เพราะคุณอาจจะตกไปก็ได้)
ตามด้วยประโยค (Clause)
ถ้า In case วางไว้หน้า Clause แรก ไม่ต้องตามด้วย can, could, should, may, might เช่น
“In case” I “forget”, please remind me about that.
ระวัง! in case of + นาม (ไม่ใช่ประโยค) เช่น
“In case of” fire, please inform the fire-brigade. (ถ้าเกิดเพลิงไหม้ โปรดแจ้งกองดับเพลิงทราบ)

because และ because of: ทั้งสองคำแปลเหมือนกันคือ “เพราะ, เพราะว่า” แต่วิธีใช้ต่างกันคือ
because: เป็น Conjunction เชื่อมประโยคแสดงเหตุผล
หลัง because ต้องเป็นอนุประโยค (Clause) เสมอ เช่น
Jack did not come to school “because” he was ill.
because of: เป็น Preposition (คำที่ใช้เชื่อม Noun และ Pronoun เข้ากับคำอื่น ๆ ที่อยู่ในประโยค ทั้งนี้เพื่อให้ใจความของประโยคกลมกลืนสละสลวยขึ้น” ได้แก่ in, on, at, by, from, toward, into, etc.) วลี
หลัง because of ต้องมีกรรมมารับ จะเป็นสรรพนามหรือคำเสมอนามก็ได้ แต่จะเป็นประโยคไม่ได้ เช่น
She failed “because of” him.

the same…+Noun+…as: (เหมือนกับ, เช่นเดียวกันกับ)
ระหว่าง the same กับ as ให้ใส่คำนามเข้ามา เช่น
I have “the same” trouble “as” you (have). (ผมมีข้อยุ่งยากเช่นเดียวกับคุณ (มี))
ถ้านามนั้นกล่าวถึงมาแล้ว หรือผู้พูดและผู้ฟังรู้กันดีอยู่แล้วว่า หมายถึงอะไรในสิ่งที่เหมือนกัน หลัง the same ก็ไม่ใส่นามเข้ามา
This “book” is “the same as” that one. (หนังสือเล่มนี้เหมือนกับเล่มนั้น)

either of และ neither of
either of + นามพหูพจน์ = (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
ถ้าไปเป็นประธานในประโยค กริยาต้องใช้เอกพจน์ตลอดไป เช่น
“Either of you” is wrong. (เธอคนใดคนหนึ่งจะต้องผิด)
I don’t (กริยาพหูพจน์) want “either of the apples”. (ผมไม่ต้องการแอปเปิ้ลผลใดผลหนึ่ง)

neither of + นามพหูพจน์ = (ไม่ทั้งสองอย่าง)
ถ้าเป็นประธาน กริยาใช้เอกพจน์ เช่น
“Neither of the books” is of any use to me. (หนังสือทั้งสองเล่มไม่มีประโยชน์ใด ๆ แก่ผมเลย)
I want “neither of them”. (ผมไม่ต้องการทั้งสองอย่าง)

no sooner……than: (พอ…ก็)
คำนี้เป็น Conjunctive ใช้เชื่อมประโยคทั้งสองเข้าด้วยกัน
ประโยคที่ no sooner…than ไปเชื่อมมักเป็นประโยค Past Perfect (Subject + had +V3) กับ Past Simple (Subject + V2)
He had “no sooner” seen it “than” he started to run. (Past Perfect, Past Simple)
(พอเห็นเขาเริ่มออกวิ่ง)
หรือจะวาง No sooner ไว้ต้นประโยคก็ได้ เช่น
“No sooner” had he arrived “than” he was told to start back again. (Past Perfect, Past Simple)
(พอมาถึงเขาก็ได้รับคำสั่งให้ออกเดินทางกลับไปอีก)

not so…….as: (ไม่เท่ากับ)
คำนี้ความจริงก็คือ as…as นั่นเอง แต่ใช้ในประโยคปฏิเสธเท่านั้น (ส่วน as…as ใช้ในประโยคบอกเล่า) เช่น
บอกเล่า: He is “as clever as” you are. (เขาฉลาดเท่ากับคุณ(ฉลาด))
ปฏิเสธ: He is “not so clever as” you are. (เขาไม่ฉลาดเท่าคุณ

ขอขอบคุณ*—->>http://englishlearningthailand.com/error-in-conjunction-คำเชื่อมที่มักจะใช้ผิดเสมอ.htmlขอขอคุณ**—->>>

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…

[Update] Prefer แปลว่าอะไร? มีวิธีใช้ยังไงบ้าง? มาดูกันเลย! – eng a wink | in order to ใช้ยังไง – NATAVIGUIDES

Prefer แปลว่าอะไร? เห็นบ่อย แต่ใช้ไม่เป็น!?

หลายคนน่าจะเคยเห็นคำนี้กันบ่อย ๆ แต่อาจจะยังสับสนอยู่ว่ามันใช้ยังไงนะ? วันนี้วิ้งค์จะมาเล่าให้ฟังเองจ้า prefer แปลว่า “ชอบมากกว่า” โดยคำนี้เป็น verb ที่มีโครงสร้างการใช้ค่อนข้างหลากหลายเลยนะ เดี๋ยววิ้งค์จะพาไปดูแบบที่เจอบ่อย ๆ กันก่อนดีกว่า

  1. prefer + N. to N. (ชอบ A มากกว่า B)

การใช้ prefer ในรูปแบบนี้จะเจอบ่อยสุด ๆ ไปเลยล่ะ ใช้บอกความชอบของเราได้ โดยคำศัพท์ที่เอามาใส่ ต้องเป็น N. เช่น

  • I prefer

    coffee

    to

    tea

    . (ฉันชอบกาแฟมากกว่าชา)

  • Rachel prefers

    cupcakes

    to

    pancakes

    . (เรเชลชอบคัพเค้กมากกว่าแพนเค้ก)

    *ใช้ prefer เติม s เพราะ Rachel เป็นเอกพจน์มาคนเดียว กริยาเลยต้องเติม s ในกรณีเป็น Present Simple Tense นะจ๊ะ

  • My parents prefer

    spicy food

    to

    sweet food

    . (พ่อแม่ของฉันชอบอาหารรสเผ็ดมากกว่าอาหารหวาน)

ระวังอย่าใช้ “than” กับ prefer นะจ๊ะ หลายคนเคยชินกับภาษาไทย (มากกว่า งั้นใช้ than) ไม่ได้น้า เค้าเป็นโครงสร้างการใช้มาแบบนี้ ได้โปรดใช้ตามฝรั่งจ้า 😁

  • I prefer coffee than tea.❌
  • I prefer coffee to tea. ✅

2. prefer + V.ing to V.ing (ชอบทำ A มากกว่า B)

โครงสร้างที่ 2 นี้จริง ๆ เหมือนกับโครงสร้างแรกเลยนะ เพราะ V.ing นั้นใช้แทน N. ได้จ้า (เราเรียกว่า Gerund) ต่างกันที่ความหมายนิดหน่อยคือพูดถึง (การกระทำ) ไม่ใช่สิ่งของแล้ว เช่น

  • I prefer

    dancing

    to

    painting

    . (ฉันชอบการเต้นมากกว่าการวาดรูป)

  • Eric prefers

    sleeping

    to

    reading

    . (เอริคชอบการนอนมากกว่าการอ่านหนังสือ) — อันนี้วิ้งค์ก็ชอบนะ 😂

  • Lisa prefers

    playing a guitar

    to

    (playing) a piano

    . (ลิซ่าชอบเล่นกีตาร์มากกว่าเปียโน)

    *สังเกตว่าถ้าเป็น v. เดียวกัน ตัวที่ 2 เราสามารถละได้นะ เพื่อไม่ให้มันซ้ำซ้อน

3. prefer + To V. + rather than + V. (ชอบทำ A มากกว่า B)

โครงสร้างนี้ความหมายเหมือนกับข้อ 2. เลย เพียงแต่ใช้ verb ที่ขึ้นด้วย to แทน (เราเรียก v. แบบนี้ว่า To-Infinitive Verb) เช่น

  • I prefer

    to dance

    rather than

    paint

    .

  • Eric prefers

    to sleep

    rather than

    read

    .

  • Lisa prefers

    to play a guitar

    rather than

    (play) a piano

    .

สังเกตว่า v. ตัวที่ 2 ที่ตามมาจะไม่ต้องใส่ (to) ข้างหน้าแล้วนะ เพราะสามารถละได้เลย เหลือแค่ v. ปกติแบบไม่มี to

มาถึงตรงนี้ หลายคนอาจจะนึกในใจว่า “เอ๊ะ เหมือนจะเคยเห็นแบบ would prefer ด้วยนะ เหมือนกันรึเปล่าน้า?” จริง ๆ ใช้ได้เหมือนกันเลยนะ ต่างกันนิดเดียวคือเรื่องของความหมาย

prefer ปกติ ใช้กับเหตุการณ์ทั่วไป สามารถใช้พูดถึงกรณีเหตุการณ์ในอดีตได้ด้วย เช่น

  • She preferred to play outside when she was younger. (เธอชอบวิ่งเล่นข้างนอกตอนเธอยังเด็กกว่านี้)

★ แต่ถ้าเป็น would prefer (หรือเขียนย่อได้ว่า ‘d prefer) มักจะใช้กับความชอบในปัจจุบัน หรืออนาคตและใช้ในสถานการณ์ที่เจาะจงมากกว่า! เช่น

  • I‘d prefer to travel alone rather than go with a lot of people. (ฉันชอบเที่ยวคนเดียวมากกว่าไปกับคนเยอะ ๆ)

4. would prefer + not + To. V. (เลือกไม่ทำ…ดีกว่า)

โครงสร้างนี้ก็ใช้บ่อยเลยล่ะ เป็นรูปปฎิเสธ โดยที่จะวาง not ไว้ด้านหน้า v. เช่น

  • I prefer not

    to tell

    you my secrets. (ฉันเลือกที่ไม่บอกความลับกับเธอดีกว่า)

  • Mark would prefer not

    to confess

    his love. (มาร์คเลือกที่จะไม่สารภาพรักดีกว่า)

5. would prefer + someone + To V. หรือ would prefer it if + S. + V.2

โครงสร้างนี้อาจจะไม่คุ้นตากันเท่าไร แต่รับรองว่าจำไว้ ได้ใช้แน่นอน เชื่อวิ้งค์! โครงสร้างแบบที่ 5 นี้จะเอาไว้ใช้ในความหมายว่า (จะดีมากถ้า…) เช่น

  • I‘d prefer him

    to stay away

    from me. (จะดีมากถ้าเขาอยู่ห่างฉันไว้)

  • They‘d prefer their sons

    to clean

    their rooms. (พวกเขาคิดว่าจะดีมากถ้าลูก ๆ ทำความสะอาดห้องของตัวเอง)

  • Bam would prefer it if you

    didn’t

    tell anyone about his secret. (แบมคิดว่าจะดีมากถ้าคุณไม่เอาความลับเขาไปบอกใคร)

ชักจะเยอะเกินหัวรับไหวแล้วมั้ยทุกคนนนน มา ๆ ลองมาทวนกันหน่อยว่าสรุป prefer ใช้ยังไงได้บ้าง?

  1. prefer + N. to N. (ชอบ A มากกว่า B) *ระวังอย่าใช้ than แทน to นะ
  2. prefer + V.ing to V.ing (ชอบทำ A มากกว่า B)
  3. prefer + To V. + rather than + V. (ชอบทำ A มากกว่า B)
  4. would prefer + not + To V. (เลือกไม่ทำ…ดีกว่า)
  5. would prefer + someone + To V. หรือ would prefer it if + S. + V.2 (จะดีมากถ้า…)

เอาล่ะ ได้เวลามาทดสอบกันหน่อย ว่าที่อ่านไปทั้งหมดนั้น เก็ทมั้ยยยย 😉

แบบฝึกหัด (ลองพิมพ์ตอบไว้ที่ comment ได้เลยน้า ลองตอบกันก่อนค่อยเลื่อนกลับมาดูเฉลยนะ)

  1. Minnie prefers _______ to taking a bus to school.
    (A) walking (B) to walk
  2. Young Jae would prefer it if his friends ______ his apartment.
    (A) visit (B) visited
  3. Olivia preferred chicken _____ fish when she was in high school.
    (A) to (B) than
  4. Jennie prefers to cook rather than ______ her food.
    (A) ordering (B) order
  5. Sean would prefer not ________ his homework today.
    (A) doing (B) to do

🟢

🟢

🟢

🟢

🟢

มาดูเฉลยกันเลย ดูซิว่าตอบกันถูกมั้ยน้า

  1. Minnie prefers _______ to taking a bus to school. (มินนี่ชอบเดินไปโรงเรียนมากกว่านั่งรถบัสไป)

    (A) walking

    (B) to walk

    เป็นโครงสร้างแบบที่ 2 prefer + V.ing to V.ing นั่นเอง สังเกตว่าด้านหลัง verb นั้นเป็น V.ing (taking) แล้ว แสดงว่าข้างหน้าก็ต้องเป็น V.ing ด้วย

  2. Young Jae would prefer it if his friends ______ his apartment. (ยองแจคิดว่าจะดีมากถ้าเพื่อน ๆ มาเยี่ยมอะพาร์ตเมนต์เขา)
    (A) visit

    (B) visited

    โครงสร้างแบบที่ 5 เลยจ้า would prefer it if + S. + V.2 >> ต้องใช้ V.2 นะ ดังนั้นเลยตอบ visited

  3. Olivia preferred chicken _____ fish when she was in high school.
    (โอลิเวียชอบไก่มากกว่าปลาเมื่อตอนที่เธอยังเด็ก)

    (A) to

    (B) than

    เป็นโครงสร้างแบบที่ 1 คือ prefer + N. to N. นั่นเอง *อย่าลืมนะว่าเราต้องใช้ to จะใช้ than ไม่ได้ (ถึงแปลเป็นไทยจะแปลว่า “มากกว่า” ก็เถอะ)

  4. Jennie prefers to cook rather than ______ her food. (เจนนี่ชอบทำอาหารเองมากกว่าสั่งอาหารมาทาน)
    (A) ordering

    (B) order

    เห็น rather than ย้อนขึ้นไปดู คือโครงสร้างแบบที่ 3 prefer + To V. + rather than + V. >> กริยาตัวหลังต้องเป็นแบบรูปไม่เติม to และไม่เติม -ing ด้วย

  5. Sean would prefer not ________ his homework today. (ฌอนเลือกที่จะไม่ทำการบ้านวันนี้)
    (A) doing

    (B) to do

    ข้อนี้เป็นโครงสร้างแบบที่ 4 คือ would prefer + not + To V. >> ต้องใช้ v. แบบที่มี to นำหน้านะ

เป็นยังไงกันบ้างงง ตอนนี้ทุกคนคงรู้แล้วว่า prefer แปลว่าอะไร? และใช้ยังไง? อาจจะเยอะไปหน่อย แต่ถ้าทวนบ่อย ๆ ค่อย ๆ เอาไปใช้ทีละแบบ รับรองเดี๋ยวชินแน่นอน เชื่อวิ้งค์เถอะ!😉

แล้วพบกันใหม่โพสต์หน้าน้า ใครอยากรู้เรื่องอะไรเป็นพิเศษ comment ไว้ได้นะ


Be ใช้ยังไง พาแปลละเอียดประโยคตัวอย่าง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Be ใช้ยังไง พาแปลละเอียดประโยคตัวอย่าง

Travel English – How to Order in a Restaurant


Eating in a restaurant can be fun, especially with your friends and family. Let’s learn some new English words and phrases.
English Phrases:
1. We have a reservation at ___ for ___.
2. Do you have a table for ___?
3. May I have the menu, please?
4. We’re not ready to order.
5. What do you recommend?
6. May I order, please?
7. My order hasn’t come yet.
8. We didn’t order this.
9. Can I get ___, please?
10. Can I get this to go?
11. Could I have the check, please? / Check, please.

Subscribe this channel:
https://www.youtube.com/channel/UCQb8gVEBKcP46jVOXafBMtg?sub_confirmation=1
Follow us:
Facebook https://www.facebook.com/NeuEnglishApp
Instagram: https://www.instagram.com/neuenglishapp
Weibo: https://www.weibo.com/NeuEnglishApp
APP:
iOS http://bit.ly/NeuEnglish
Android http://bit.ly/NeuEnglishAndroid

Travel English - How to Order in a Restaurant

ดูคนให้ออก มองคนให้เป็น วิธีทำความรู้จักคนที่ไม่รู้จัก | Readery EP.99


คนที่เราคิดว่ารู้จักดีแล้ว บางครั้งก็เหมือนไม่รู้จัก จึงไม่แปลกที่หากเราเพิ่งทำความรู้จักกับใครสักคนแล้วมีเรื่องให้สงสัย ไม่เข้าใจ และเต็มไปด้วยอคติมากมาย
Talking to Strangers หรือ ศิลปะแห่งการอ่านคน คือหนังสือเล่มดังของ มัลคอล์ม แกลดเวลล์ ที่ว่าด้วยเรื่องการสนทนากับคนแปลกหน้าว่าเราจะมีวิธีคิด เข้าใจ และรับมืออย่างไร เพราะเราไม่มีทางรู้เลยว่าคนแปลกหน้าที่เราเจอกำลังจะกลายเป็นใครในชีวิตของเรา ร่วมกันรู้จักผลงานที่มียอดขายกว่า 500,000 เล่มในอเมริกา ผ่านเหตุการณ์สำคัญ ประวัติศาสตร์ และการทดลองทางจิตวิทยาที่จะทำให้เรารู้จัก ‘คน’ มากขึ้น
———————————————
THE STANDARD PODCAST: EYEOPENING FOR YOUR EARS
พอดแคสต์จากสำนักข่าว THE STANDARD
Apple Podcasts: https://apple.co/3iEUKhX
Spotify: https://spoti.fi/3ancGLf
SoundCloud: https://soundcloud.com/thestandardpod…
Facebook: https://www.facebook.com/thestandardth/
Twitter: https://twitter.com/TheStandardPod
Website: https://www.thestandard.co/podcast

Readery TheStandardPodcast TheStandardco TheStandardth

ดูคนให้ออก มองคนให้เป็น วิธีทำความรู้จักคนที่ไม่รู้จัก | Readery EP.99

จำศัพท์ยังไง? แนะนำแอพฝึกภาษา Quizlet แบบละเอียด | NoteworthyMF


แนะนำแอพฝึกภาษา Quizlet แบบละเอียด ฝึกได้ทุกภาษาเลย~
ช่วยให้จำศัพท์ง่ายและสนุกมากขึ้น หรือเอาไปใช้จำเนื้อหาก็ได้นะ
(ทำเหมือนข้อสอบคือใส่คำถามกับคำตอบลงไปแทนศัพท์กับความหมาย)
ใครอยากเริ่มท่องศัพท์ ลองเอาวิธีไปใช้ดูน้า
Quizlet เล่นได้ทั้งในเว็บหรือโหลด app ก็ได้ ฟรีจ้า ไม่จำกัดจำนวนเซตการ์ดด้วยนะ
Website : https://quizlet.com
Vocab : IG @noteworthy.mf
Sound by www.bensound.com

Find me more !
Fanpage : Noteworthy.mf (https://www.facebook.com/noteworthy.mf)
Instagram : @ffim.medcu60 (https://www.instagram.com/ffim.medcu60)

Contact for work
Instagram : @ffim.medcu60 (https://www.instagram.com/ffim.medcu60)

จำศัพท์ยังไง? แนะนำแอพฝึกภาษา Quizlet แบบละเอียด | NoteworthyMF

some any ใช้ยังไง – เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ฟรี


เรียนภาษาอังกฤษง่ายๆ ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันกับเคท
หัวข้อวันนี้คือ พูดอังกฤษsome any ใช้ยังไง
some กับ any [ มีบ้าง แต่ไม่ได้บอกว่ามีเท่าไร ]
ใช้กับนามนับได้ที่มีมากกว่า 1 แต่ไม่ระบุจำนวน
ใช้กับนามนับไม่ได้ เช่น ข้าว ขนมปัง
some = ใช้กับประโยคบอกเล่า
There are some apples.
There is some rice.
Some = ใช้กับประโยคคำถาม [ ขอ….ได้ไหม ]
โครงสร้างประโยค “Can I have some + สิ่งที่ต้องการจะขอ\”
Can I have some apples?
ฉันขอแอ๊ปเปิ้ลบางได้ไหม
Some = ใช้กับประโยคคำถาม [ เสนอให้….เอามั้ยจ๊ะ ]
โครงสร้างประโยค “Would you like some + สิ่งที่ต้องการจะเสนอ\”
Would you like some apples?
อยากได้แอ๊ปเปิ้ลบ้างไหมจ๊ะ
———————————————————————————
Any = ใช้กับประโยคคำถาม [ มี….มั้ยจ๊ะ ]
โครงสร้างประโยค “Do you have any + สิ่งที่ต้องการจะขอ\”
Do you have any apples?
คุณมีแอ๊ปเปิ้ลบ้างไหมจ๊ะ
Any = ใช้กับประโยคปฏิเสธ
There aren’t any apples.
There isn’t any rice.

some any ใช้ยังไง - เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ฟรี

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ in order to ใช้ยังไง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *