Skip to content
Home » [NEW] การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน | ห้องเรียนภาษาไทย – NATAVIGUIDES

[NEW] การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน | ห้องเรียนภาษาไทย – NATAVIGUIDES

ห้องเรียนภาษาไทย: คุณกำลังดูกระทู้

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ผู้วิจัย นายชิษณุพันธ์ ทาสมบูรณ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
หน่วยงาน โรงเรียนพิบูลมังสาหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ปีที่วิจัย 2561
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (2) สร้างและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (3) ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (4) ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ทดลองใช้รูปแบบ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบประเมินความต้องการพื้นฐานเพื่อการจัดการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (3) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ (4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล และทดสอบสมมุติฐานประกอบด้วย ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (x-bar) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t-test dependent Samples)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สรุปได้ดังนี้ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้ความสำคัญกับผู้เรียนทางด้านความคิดและกำหนดไว้เป็นสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน สำหรับนักเรียนพบว่าขาดทักษะและกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้านทักษะชีวิต ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ การให้รายละเอียดข้อมูล การจำแนก การให้เหตุผล การเชื่อมโยงความสัมพันธ์เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล และความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และนำไปสู่การตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
2. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรียกว่า“PCDESE Model” มี 5 องค์ประกอบได้แก่ (1) หลักการ (2) วัตถุประสงค์ (3) กระบวนการ (4) เงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ (5) ระบบสนับสนุน กระบวนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย 6 ขั้น คือ (1) ขั้นเตรียม (Prepare : P)
(2) ขั้นพิจารณาปัญหา (Considering the problems : C) (3) ขั้นสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด (Discussion : D) (4) ขั้นขยายความคิด (Expand the idea : E) (5) ขั้นสรุป (Summary : S) (6) ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด แสดงว่ามีความสอดคล้องกับหลักการของรูปแบบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (x-bar = 4.69, S.D. = 0.47) มีประสิทธิภาพ 82.85/84.25 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีผล ดังนี้
3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3.2 ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0.7418 แสดงว่า นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 74.18
3.3 การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar = 4.81, S.D. = 0.41)

Click to rate this post!

[Total:

0

Average:

0

]

[NEW] การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน | ห้องเรียนภาษาไทย – NATAVIGUIDES

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ผู้วิจัย นายชิษณุพันธ์ ทาสมบูรณ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
หน่วยงาน โรงเรียนพิบูลมังสาหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ปีที่วิจัย 2561
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (2) สร้างและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (3) ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (4) ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ทดลองใช้รูปแบบ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบประเมินความต้องการพื้นฐานเพื่อการจัดการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (3) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ (4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล และทดสอบสมมุติฐานประกอบด้วย ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (x-bar) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t-test dependent Samples)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สรุปได้ดังนี้ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้ความสำคัญกับผู้เรียนทางด้านความคิดและกำหนดไว้เป็นสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน สำหรับนักเรียนพบว่าขาดทักษะและกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้านทักษะชีวิต ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ การให้รายละเอียดข้อมูล การจำแนก การให้เหตุผล การเชื่อมโยงความสัมพันธ์เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล และความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และนำไปสู่การตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
2. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรียกว่า“PCDESE Model” มี 5 องค์ประกอบได้แก่ (1) หลักการ (2) วัตถุประสงค์ (3) กระบวนการ (4) เงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ (5) ระบบสนับสนุน กระบวนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย 6 ขั้น คือ (1) ขั้นเตรียม (Prepare : P)
(2) ขั้นพิจารณาปัญหา (Considering the problems : C) (3) ขั้นสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด (Discussion : D) (4) ขั้นขยายความคิด (Expand the idea : E) (5) ขั้นสรุป (Summary : S) (6) ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด แสดงว่ามีความสอดคล้องกับหลักการของรูปแบบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (x-bar = 4.69, S.D. = 0.47) มีประสิทธิภาพ 82.85/84.25 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีผล ดังนี้
3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3.2 ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0.7418 แสดงว่า นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 74.18
3.3 การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย ท31101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar = 4.81, S.D. = 0.41)

Click to rate this post!

[Total:

0

Average:

0

]


ช่วงน้องๆ เล่นเกมใบ้คำ น่ารักมากๆ @Shopee x GOT7 ‘I GOT7 U’ FANSIGN


ตัดคลิปไปให้เครดิตด้วยนะคะ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ช่วงน้องๆ เล่นเกมใบ้คำ น่ารักมากๆ @Shopee x GOT7  'I GOT7 U' FANSIGN

\”ห้องเรียนหรรษา มาอ่านคำไทย\” มาตกแต่งห้องเรียนภาษาไทยของเรากันเถอะ


เย้!!!! มาตกแต่งห้องเรียนของเราให้มีสีสัน และสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้กันเถอะ!!
สีสันของดอกทานตะวันสายรุ้ง : มาตราตัวของไทย และผีเสื้อสีสดใส ดึงดูงสายตาให้นักเรียน ขยับเข้ามาอ่านคำกันอย่างสนุกสนาน ห้องเรียนน่าอยู่ น่าเรียนมากยิ่งขึ้น
สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณดอกไม้และผีเสื้อสวยๆ จากห้องสื่อออนไลน์จากคุณครูใจดีทุกๆท่านนะคะ

\

เพลงกระรอกน้อย – KidsMeSong Music Official


เพลงกระรอกน้อย KidsMeSong
เนื้อเพลง
กระรอกน้อยไต่บนต้นไม้ วิ่งเร็วทันใจกระโดดไปมา
มีหางเป็นพวงและมีสี่ขา ชอบใช้ฟันหน้ากัดแทะกิ่งไม้
กระรอกน้อยมีบ้านโพรง เจาะเป็นอุโมงบนต้นไม้ใหญ่
กระโดดไปมาแคล่วคล่อง ว่องไวกินผลไม้เป็นอาหารเอย

เพลงกระรอกน้อย   -   KidsMeSong Music Official

จงเป็นให้เหมือนสิงโตที่เงียบ อย่าเป็นดั่งสุนัขที่เห่าดัง


จงเป็นให้เหมือนสิงโตที่เงียบ
อย่าเป็นดั่งสุนัขที่เห่าดัง..

จงเป็นให้เหมือนสิงโตที่เงียบ อย่าเป็นดั่งสุนัขที่เห่าดัง

ห้องเรียนภาษาไทยครูอัญป.6 วันพฤหัสบดี ที่15 กรกฎาคม 64


การอ่านคำที่มีตัวการันต์(1)

ห้องเรียนภาษาไทยครูอัญป.6 วันพฤหัสบดี ที่15 กรกฎาคม 64

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ห้องเรียนภาษาไทย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *