Skip to content
Home » [NEW] การบัญชีเบื้องต้น (รวม)-Flip eBook Pages 251 – 300 | งบ กํา ไร ขาดทุน แบบ รายงาน – NATAVIGUIDES

[NEW] การบัญชีเบื้องต้น (รวม)-Flip eBook Pages 251 – 300 | งบ กํา ไร ขาดทุน แบบ รายงาน – NATAVIGUIDES

งบ กํา ไร ขาดทุน แบบ รายงาน: คุณกำลังดูกระทู้

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
ชื่อวชิ า : การบัญชีเบอ้ื งตน้ รหัสวชิ า 30200-0001งาน แผ่นท่ี 1/16 148
: งบการเงนิ

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของงบการเงนิ ได้
2. บอกจุดมงุ่ หมายของงบการเงนิ ได้
3. อธิบายงบการเงินฉบบั สมบรู ณ์ได้
4. อธิบายการกาํ หนดรายการย่อที่ตอ้ งมใี นงบการเงินได้
5. จดั ทํางบกาํ ไรขาดทนุ ได้
6. จัดทาํ งบแสดงฐานะการเงนิ ได้

เนือ้ หาสาระ

1. ความหมายของงบการเงิน (Financial Statement)

หมายถึง รายงานท่ีแสดงขอ้ มลู อนั เป็นผลจากการประกอบธรุ กจิ ของกจิ การซ่งึ ประกอบด้วยงบดุล งบกาํ ไร
ขาดทุน งบแสดงการเปลย่ี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ งบกระแสเงนิ สด หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน งบยอ่ ย และ
คาํ อธิบายอนื่ ซ่งึ ระบวุ า่ เป็นสว่ นหนึง่ ของงบการเงิน

การจดั ทํางบการเงนิ ปกติจะจัดทาํ ในวนั สน้ิ งวดบญั ชี (Accounting Period) ตามประกาศสภาวชิ าชพี บญั ชี ที่
14/2560 เรอ่ื ง มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ท่ี 1(ปรบั ปรงุ 2560) เรอ่ื งการนาํ เสนองบการเงิน

คาํ นยิ ามที่ใช้ในมาตรฐานการบญั ชฉี บบั นมี้ คี วามหมายโดยเฉพาะ ดังนี้
งบการเงนิ ทีจ่ ัดทาข้นึ เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป (ในทนี่ หี้ มายถงึ งบการเงิน) หมายถึง งบการเงนิ ท่จี ดั ทําขึน้ เพ่ือ
สนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ บการเงินซงึ่ ไมอ่ ยใู่ นฐานะทจี่ ะเรยี กร้องใหก้ จิ การจดั ทารายงานท่ีมีการดัดแปลงตามความ
ตอ้ งการข้อมลู ท่ีเฉพาะเจาะจง
2. จดุ ม่งุ หมายของงบการเงิน
งบการเงนิ เป็นการนาํ เสนอฐานะการเงินและผลการดําเนนิ งานทางการเงินของกจิ การอย่างมแี บบแผน
โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาํ เนินงานและกระแสเงินสดของกิจการ ซ่ึงเป็นประโยชน์
ตอ่ การตัดสนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ กลมุ่ ตา่ งๆ นอกจากนง้ี บการเงินยังแสดงถงึ ผลการบริหารงานของฝ่าย
บรหิ ารซึง่ ได้ รับมอบหมายให้ดูแลทรัพยากรของกจิ การ เพอื่ ทีจ่ ะบรรลวุ ตั ถุประสงคด์ ังกลา่ ว งบการเงินให้ข้อมูลทกุ ข้อ
ดงั ตอ่ ไปน้ีเกย่ี วกับกิจการ
2.1 สนิ ทรพั ย์
2.2 หน้สี ิน
2.3 ส่วนของเจา้ ของ
2.4 รายได้และค่าใช้จ่าย รวมถงึ ผลกําไรและขาดทุน
2.5 เงนิ ทนุ ทีไ่ ด้รบั จากผูเ้ ป็นเจา้ ของและการจัดสรรสว่ นทุนให้ผู้เป็นเจา้ ของในฐานะที่เป็นเจ้าของ และ
2.6 กระแสเงนิ สด
ข้อมลู เหลา่ นแ้ี ละขอ้ มูลอนื่ ทีเ่ ปิดเผยในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ชว่ ยผู้ใชง้ บการเงิน ในการคาดการณ์
เกยี่ วกับจังหวะเวลาและความแนน่ อนที่กิจการจะกอ่ ให้เกิดกระแสเงนิ สดในอนาคตของกจิ การ

สาขาวิชา : การบญั ชี รหัสวิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ท่ี 2/16 149
ช่ือวชิ า : การบญั ชีเบอื้ งตน้

: งบการเงิน

3. งบการเงินฉบบั สมบรู ณ์ (The complete financial statement)
งบการเงนิ ฉบบั สมบูรณป์ ระกอบด้วย
3.1 งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันส้นิ งวด (Statement of the financial position)
3.2 งบกําไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ อื่นสาํ หรับงวด (Statement of comprehensive income)
3.3 งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสว่ นของเจ้าของสําหรบั งวด (Statement of changes in shareholders’ equity)
3.4 งบกระแสเงนิ สดสําหรบั งวด (Cash flow statement)
3.5 หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to financial statement) ซึ่งประกอบด้วยนโยบายการบัญชี

ทีส่ าํ คัญและข้อมูลทใ่ี หค้ ําอธบิ ายอ่ืน
3.5.1 ข้อมูลเปรียบเทียบของงวดกอ่ นตามที่ระบไุ วใ้ นย่อหนา้ ท่ี 38 และ 38ก และ

3.6 งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ตน้ งวดของงวดก่อน เม่ือกจิ การได้นํานโยบายการบญั ชีใหม่ มาถือปฏิบตั ิ
ย้อนหลัง หรอื การปรับยอ้ นหลงั รายการในงบการเงนิ หรือเมื่อกิจการมีการจดั ประเภทรายการใหม่ในงบการเงินตามยอ่
หน้าที่ 40ก ถงึ 40ง

กิจการอาจจะใชช้ ือ่ อื่นสําหรบั งบการเงนิ นอกเหนือจากท่ีระบุในมาตรฐานการบัญชฉี บับนี้ ตัวอย่างเชน่ กจิ การ
อาจจะใชช้ ือ่ “งบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ ” แทน “งบกาํ ไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อื่น”

กจิ การอาจแสดงงบเดยี วทร่ี วมงบกาํ ไรขาดทุนและกาํ ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อ่ืน หรอื แสดงกําไรหรอื ขาดทุนและ
กําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อ่ืนแยกออกเปน็ สองสว่ น โดยตอ้ งนําเสนอส่วนของกําไรหรอื ขาดทนุ ก่อนและตามดว้ ยส่วนของกําไร
ขาดทุนเบ็ดเสร็จอนื่ กิจการอาจแสดงสว่ นของกําไรหรือขาดทุนไวใ้ นงบกาํ ไรขาดทุนท่แี สดงแยกต่างหาก โดยหากเป็น
เชน่ นนั้ งบกําไรขาดทนุ ท่แี สดงแยกตา่ งหากตอ้ งแสดงทนั ทกี อ่ นงบท่ีนาํ เสนอกําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ ซ่ึงต้องตง้ั ต้นด้วยกําไร
หรอื ขาดทุน

หมายเหตุ
1. งบการเงินที่นามาศึกษาในหน่วยการเรียนนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจการเจ้าของคนเดียว ประเภทธุรกิจบริการ
เท่านนั้ แบ่งออกเปน็ งบกาไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ
2. กรมพัฒนาธรุ กิจการค้า ไม่ได้กาหนดรายการย่อทตี่ ้องมีในงบการเงินสาหรบั กจิ การเจา้ ของ คนเดยี ว ดังน้นั
จงึ นางบการเงนิ ของหา้ งหุ้นส่วนจดทะเบยี น (ตามแบบที่ 1) มาประยกุ ต์ใช้กบั หน่วยการเรยี นนี้ เพ่ือใหส้ ามารถเรียนรู้และ
ฝกึ ทกั ษะการจัดทางบการเงินสาหรับกิจการเจา้ ของคนเดียวประเภทการให้บริการได้

สาขาวชิ า : การบัญชี รหัสวิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นที่ 3/16 150
ชือ่ วิชา : การบญั ชีเบือ้ งตน้

: งบการเงนิ

กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้ากาํ หนดใหง้ บการเงินของผู้มีหน้าที่จัดทาํ บัญชีตอ้ งมีรายการยอ่ ดงั นี้
 หา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบียน ตอ้ งมรี ายการย่อตามแบบ 1
 บริษัทจํากดั ต้องมีรายการย่อตามแบบ 2
 บรษิ ทั มหาชนจํากัด ตอ้ งมรี ายการย่อตามแบบ 3
 นิตบิ คุ คลทต่ี งั้ ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามแบบ 4
 กจิ การร่วมคา้ ตามประมวลรัษฎากร ต้องมรี ายการยอ่ ตามแบบ 5
เพอื่ ให้ผู้มหี น้าทจ่ี ัดทําบัญชเี ขา้ ใจถงึ แนวคิดในการกําหนดรปู แบบและความหมายของรายการย่อที่ต้องมีใน

งบการเงิน รวมทงั้ เพือ่ ใหก้ ารจัดทาํ งบการเงินมีมาตรฐานเดยี วกนั กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้าจึงขอช้ีแจงดังน้ี
1) การกาหนดความหมายและรปู แบบของรายการยอ่ ทีต่ ้องมใี นงบการเงิน

1.1 ความหมายของศัพท์ที่มีความหมายเฉพาะ กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-

Publicly Accountable Entities: NPAEs) หมายถงึ กจิ การที่ไมเ่ ขา้ ลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหน้ีของกิจการ ซึ่งมีการซอื้ ขายต่อประชาชน ไม่ว่าจะเป็น

ตลาดหลักทรพั ยใ์ นประเทศหรอื ตา่ งประเทศ หรอื การซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter) รวมทั้งตลาดใน

ท้องถิ่นและในภูมิภาค หรือกิจการท่ีนําส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนําส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สํานักงาน
คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือหน่วยงานกํากับดูแลอื่น เพ่ือวัตถุประสงค์ในการออกขาย

หลกั ทรัพยใ์ ดๆ ตอ่ ประชาชน

(2) กิจการที่ดําเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น
สถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์กองทุนรวม ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่ง

ประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการน้นั เป็นต้น

(3) บรษิ ทั มหาชนจํากดั ตามกฎหมายวา่ ด้วยบริษัทมหาชนจํากัด
(4) กจิ การอน่ื ที่สภาวิชาชีพบญั ชีจะกาํ หนดเพม่ิ เตมิ

1.2 การกําหนดรปู แบบรายการยอ่ ทต่ี ้องมีในงบการเงิน

(1) รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของบริษัทมหาชนจํากัด (แบบ 3) กําหนดข้ึนโดย
อ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกําหนดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ระหวา่ งประเทศ (International Financial Report Standard: IFRS)

(2) รูปแบบรายการย่อท่ีต้องมีในงบการเงินของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (แบบ 1) บริษัทจํากัด
(แบบ 2) นิติบุคคลท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (แบบ 4) และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร (แบบ 5) กําหนด

ขึ้นโดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Non-

Publicly Accountable Entities: TFRS for NPAEs) ที่สภาวชิ าชพี บญั ชีประกาศกาํ หนด
1.3 การกําหนดความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน ความหมายของรายการย่อท่ี

ต้องมีในงบการเงินจะอธิบายเฉพาะคํานิยามของแต่ละรายการเท่านั้น สําหรับการรับรู้รายการ และการวัดมูลค่า ให้

กจิ การถอื ปฏบิ ัติตามมาตรฐานรายงานทางการเงนิ ท่ีเก่ียวขอ้ ง

สาขาวชิ า : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 4/16 151
ชือ่ วิชา : การบัญชีเบือ้ งตน้

: งบการเงิน

2) การจดั ทางบการเงนิ
2.1 ผมู้ ีหน้าท่ีจัดทาํ บัญชีตอ้ งจัดทาํ งบการเงนิ ตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไดแ้ ก่
(1) ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีท่ีต้องจัดทํางบการเงิน และต้องนําส่งต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

ตามมาตรา 11 แหง่ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด
นิติบุคคลทีต่ ัง้ ขนึ้ ตามกฎหมายต่างประเทศ และกจิ การร่วมค้าตามประมวลรษั ฎากร

(2) นิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศ คือนิติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในประเทศ
ไทยและเขา้ มาประกอบธรุ กิจในประเทศไทยทกุ กรณี ไม่ว่าจะได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคน
ต่างด้าวหรือไม่ก็ตาม โดยครอบคลุมถึงสํานักงานผู้แทนของนิติบุคคลต่างประเทศในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและ
สาํ นกั งานภูมภิ าคของบริษัทข้ามชาตดิ ้วย

(3) การกําหนดรายการย่อของงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็นการ
กําหนดรายการย่อของงบการเงินสําหรับธุรกิจท่ัวไปเท่านั้น ธุรกิจที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะ เช่น สถาบันการเงิน
บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทบริหารสินทรัพย์ บริษัทโฮลดิ้งท่ีเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ให้ใช้
รายการย่อตามทก่ี าํ หนดในกฎหมายเฉพาะนนั้

2.2 หลกั การจัดทาํ งบการเงิน
(1) ผู้มีหน้าทจี่ ัดทําบัญชแี ต่ละประเภทตอ้ งจัดทํางบการเงนิ ดังนี้

(2) ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีที่เป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจํากัด นิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตาม
กฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ที่เข้าเง่ือนไขเป็นกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะหรือเข้า
เง่ือนไขเป็นกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะแต่มีความประสงค์จะจัดทําบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่
สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกําหนดโดยอ้างอิงมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) ให้ผู้มีหน้าท่ีจัดทํา
บัญชีดังกล่าวจัดทํางบการเงินโดยนํารูปแบบรายการยอ่ ท่ีต้องมีในงบการเงินของบริษัทมหาชนจํากัด (แบบ 3) มาใช้โดย
ปรับปรุงรายการที่เก่ียวข้องกับส่วนของเจ้าของให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงตามกฎหมายและข้อกําหนดของมาตรฐานการ
รายงานทางการเงนิ

สาขาวชิ า : การบัญชี รหสั วิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 5/16 152
ชอ่ื วิชา : การบญั ชเี บือ้ งตน้

: งบการเงิน

(3) เมือ่ ผมู้ หี นา้ ที่จดั ทาํ บัญชเี ลอื กแสดงงบกําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ แบบใดแบบหนึ่ง หรือเลือก
แสดงงบกําไรขาดทุนแบบใดแบบหนง่ึ ของกรมธุรกิจกาค้า ผมู้ หี นา้ ท่ีจัดทาํ บัญชีควรถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งสม่ําเสมอเพอื่

ประโยชน์ในการเปรียบเทียบ อย่างไรก็ตาม หากผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงแบบท่ีเลือกไว้ให้
กจิ การปฏบิ ัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ที่เกีย่ วข้อง และใหเ้ ปิดเผยไว้ในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินด้วย

(4) ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีท่ีเป็นนิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศ ตามข้อ 2.1 (2) เมื่อ
จัดทํารายการยอ่ ท่ีต้องมีในงบการเงินตามแบบ 4 ในรายการทุนขั้นต่ําตามกฎหมายแยกตามประเภทธุรกิจ ให้แยกทุนข้ัน
ต่ําตามกฎหมายที่ได้รับจากสํานักงานใหญ่ตามประเภทธุรกิจน้ัน โดยอาจแสดงรายละเอียดแต่ละประเภทในงบการเงิน
หรอื อาจแสดงยอดรวมไวใ้ นงบการเงินแล้วเปิดเผยรายละเอียดแยกตามประเภทธุรกิจไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินก็
ได้

(5) ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีท่ีมีฐานะเป็นคนต่างด้าวและได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตาม
กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวให้เปิดเผยข้อมูลเพ่ิมเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินเกี่ยวกับ
รายการดังต่อไปน้ดี ้วย

(6) กรณีท่ีผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีจัดทํางบการเงินตามแบบ 3 และได้นํานโยบายการบัญชีใหม่มา
ถอื ปฏิบตั ิย้อนหลัง หรือการปรับงบการเงินยอ้ นหลัง หรือเมื่อกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ ผู้มีหน้าท่ี
จัดทําบญั ชีต้องนาํ เสนองบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันต้นงวดของงวดท่ีนํามาเปรยี บเทยี บทใี่ กลท้ สี่ ดุ ดว้ ย

(7) สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่จัดทํางบการเงิน หรือกรณีท่ีมีการแปรสภาพกิจการ
ระหว่างปีงบการเงินของรอบระยะเวลาบัญชีก่อนที่นํามาเปรียบเทียบอาจมีการจัดประเภทรายการหรือมีรูปแบบที่
แตกตา่ งจากประกาศฉบับนี้ ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีควรจัดประเภทรายการหรือรูปแบบท่ีจะนํามาเปรียบเทียบให้สอดคล้อง
กบั ประกาศฉบับน้ีด้วย เวน้ แต่ในทางปฏบิ ตั ไิ มส่ ามารถทาํ ได้

(8) การจัดประเภทรายการในงบการเงนิ ให้พจิ ารณา ดังน้ี
ให้พิจารณาลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ี

เก่ยี วข้องกบั เร่ืองนนั้ ๆ รวมท้งั คาํ นงึ ถงึ นโยบายการกาํ กบั ดูแลของหน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
ใหพ้ ิจารณาเนอื้ หาเชงิ เศรษฐกจิ มากกวา่ รูปแบบทางกฎหมาย เช่น หุ้นบุริมสิทธิซง่ึ ให้สิทธิ

ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีท่ีออกหุน้ ในการบังคับไถ่ถอนด้วยจํานวนเงินที่แน่นอนหรือที่สามารถทราบได้ ณ วันที่กําหนดไว้หรือ
วันท่ีทราบได้ หรือหุ้นบุริมสิทธิซ่ึงให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการเรียกร้องให้ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีไถ่ถอนหุ้นในหรือหลังวันท่ีที่
กาํ หนดไว้ด้วยจํานวนเงินท่ีแน่นอนหรือที่ทราบได้หุน้ บุริมสิทธินั้นต้องจัดประเภทเป็นหน้ีสินในงบแสดงฐานะการเงิน เป็น
ต้น ท้ังนี้ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีต้องเปิดเผยข้อมูลให้สอดคล้องตามข้อเท็จจริงและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่
เกย่ี วขอ้ ง

(9) รูปแบบรายการย่อเป็นเพียงแนวทางท่ีกําหนดให้แสดงรายการแยกเป็นแต่ละบรรทัดพร้อม
จํานวนเงิน หากผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีไม่มีรายการตามที่แบบรายการย่อกําหนดไว้ก็ไม่ต้องแสดงรายการดังกล่าวไว้ในงบ
การเงนิ เชน่

สาขาวิชา : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ท่ี 6/16 153
ชือ่ วิชา : การบญั ชเี บอ้ื งตน้

: งบการเงิน

– งบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ หากผมู้ ีหน้าที่จัดทาํ บัญชีไม่มีรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่ืน ก็
ไม่ต้องแสดงรายการดังกล่าว โดยให้แสดงรายการกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปีต่อจากรายการกําไร (ขาดทุน)
สาํ หรบั ปี

– งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุน้ ถ้าในระหว่างปีมีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะกําไร
(ขาดทุน) สาํ หรับปเี ทา่ นัน้ ไมม่ ีการเปลี่ยนแปลงในรายการอ่นื กใ็ หแ้ สดงเฉพาะการเปลีย่ นแปลงในกาํ ไร (ขาดทุน) สําหรับ
ปเี ทา่ นน้ั

(10) กรณีท่ีผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีมีรายการนอกเหนือจากที่รูปแบบรายการย่อกําหนดไว้ให้แสดง
รายการน้นั ไดต้ ามความจําเป็นและเหมาะสมแก่กรณีเช่น แบบรายการย่อกําหนดให้แสดงรายการย่อไว้เพียงรายการเดียว
ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีจะแสดงรายละเอียดภายใต้รายการนั้นก็ได้ แต่ต้องแสดงรายการให้ถูกต้องตามประเภทและลักษณะ
ของสินทรัพย์หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้หรือค่าใช้จ่าย เป็นต้น ส่วนกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเ งิน
กําหนดให้มีรายการยอ่ นอกเหนือจากรายการท่ีกําหนดในประกาศฉบับน้ีใหแ้ สดงรายการนั้นเพ่ิมเติมตามที่มาตรฐานการ
รายงานทางการเงนิ กําหนด

(11) การแสดงรายการส่วนเกิน (ตํ่ากว่า) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิหรือส่วนเกิน (ตํ่ากว่า) มูลค่าหุ้น
สามัญ หากมีทง้ั ส่วนเกินและสว่ นต่าํ ของหุ้นทนุ ประเภทเดียวกนั และมีเนื้อหาเศรษฐกจิ เดยี วกันสามารถนํามาหักกลบ และ
แสดงเปน็ มลู คา่ สุทธไิ ด้ เชน่ ส่วนต่ํากว่ามลู ค่าหุ้นสามัญสามารถหกั กลบกับส่วนเกินมลู คา่ หุ้นสามัญได้แต่ไม่ให้หกั กลบส่วน
ตาํ่ กวา่ มลู ค่าหุ้นสามัญกับสว่ นเกินมูลคา่ หนุ้ บรุ ิมสิทธิเน่ืองจากเป็นหุ้นทุนคนละประเภทและมีสิทธิตามกฎหมายที่แตกต่าง
กัน ท้ังนี้การหักกลบดังกล่าวเป็นเพียงการนําเสนอข้อมูลในงบการเงินเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในการบันทึกรายการบัญชี
จะต้องแยกบันทึกรายการส่วนเกินมูลค่าหุ้น และส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้นของทั้งหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญเป็นแต่ละบัญชี
แยกจากกัน รายการส่วนเกินมูลค่าหุ้น ต้องเป็นเงินหรือสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นส่วนที่สูงกว่ามูลค่าท่ีตราไว้
ตามที่จดทะเบยี นหรอื ทีไ่ ด้มาจากการลดทุนจดทะเบียนในส่วนท่ีได้มีการชําระเงินจากผู้ถือห้นุ แล้วและมิได้คืนกลับให้ผู้ถือ
หนุ้

(12) การกําหนดหน่วยจํานวนเงินบาท อาจแสดงเป็นหน่วยของหลักพัน หลักหม่ืน หลักแสน
หลักล้านได้ตามความเหมาะสม แตต่ ้องระบุหน่วยของหลกั ทีใ่ ชไ้ ว้ในงบการเงิน

(13) หมายเลขกํากับรายการที่ปรากฏในงบการเงินมีไว้เพ่ือความสะดวกในการอ้างอิงเท่านั้น ใน
การจดั ทาํ งบการเงนิ ไมต่ ้องแสดงหมายเลขดังกล่าว

(14) รายการยอ่ ของงบการเงินตามที่กําหนดไว้ในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กําหนด
รายกายอ่ ทต่ี ้องมีในงบการเงนิ จะไดก้ ลา่ วต่อไป
4. งบกาไรขาดทนุ (Income Statement or profit and loss statement)

หมายถึง งบท่ีแสดงผลการดาํ เนนิ งานของกิจการในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่งึ ว่ามรี ายได้ ค่าใชจ้ า่ ย และกาํ ไร
หรือขาดทุนสุทธิเท่าใด ซง่ึ อาจจะจัดทาํ งบกําไรขาดทุนสําหรบั ระยะเวลา 3 เดือน 6 เดอื น หรือ 12 เดอื น

งบกาํ ไรขาดทุนแบบรายงาน สามารถแสดงได้ 2 รปู แบบ คอื
1) งบกําไรขาดทุน จาํ แนกค่าใชจ้ า่ ยตามลักษณะของค่าใชจ้ า่ ย

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 7/16 154
ชื่อวชิ า : การบัญชเี บ้อื งตน้

: งบการเงิน

2) งบกําไรขาดทนุ จําแนกค่าใชจ้ ่ายตามหนา้ ท่ี แบ่งออกได้ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

2.1 จําแนกค่าใชจ้ า่ ยตามหน้าท่ี-แบบขั้นเดยี ว (Single step)

2.2 จาํ แนกค่าใชจ้ ่ายตามหนา้ ท่ี-แบบหลายขัน้ (Multiple step)

อย่างไรกต็ าม การจดั ทํางบกาํ ไรขาดทุนไมว่ ่ารปู แบบใด หากพิจารณาแล้วจะมีบัญชีหลักๆ อยู่ 3 กลุ่มด้วยกัน

ได้แก่ รายได้ ค่าใช้จ่าย (รวมต้นทุน) และกําไร (ขาดทุน) สุทธิ ซึ่งสําหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธุรกิจบริการได้

นําเอางบกําไรขาดทุนของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (ตามแบบที่ 1) มาประยุกต์ใช้โดยเน้นสาระสาคัญของเน้ือหาของ

กิจการเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ าร มากกวา่ รปู แบบ

การจัดทํางบกําไรขาดทุนอย่างงา่ ยๆ ได้ดงั นี้

1) เขียนหวั งบกําไรขาดทุน

2) นําบัญชีหมวดรายได้ที่เป็นยอดสุทธิมาใส่ในงบกําไรขาดทุนแล้วรวมยอดท้ังส้ิน ถ้ารายการใดท่ีต้องหา

รายได้สุทธใิ ห้แสดงไวใ้ นหมายเหตปุ ระกอบฯ แยกต่างหาก นําเฉพาะรายไดส้ ทุ ธมิ าใสเ่ ท่านั้น

3) นําบัญชีหมวดค่าใช้จ่าย ท่ีเป็นยอดรวมแต่ละประเภทมาแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ถ้ารายการใดมี

มากกวา่ 1 รายการ ใหแ้ สดงไวใ้ นหมายเหตุประกอบ ฯ แยกไว้ต่างหาก แลว้ นําเฉพาะยอดรวมมาใส่เท่าน้นั

4) หาผลตา่ งระหว่างยอดรวมของรายไดแ้ ละยอดรวมของคา่ ใช้จ่าย

4.1 ถา้ ยอดรวมของรายได้มากกว่ายอดรวมของค่าใช้จา่ ย ผลตา่ งคือ “กําไรสทุ ธ”ิ

4.2 ถ้ายอดรวมของค่าใช้จ่ายมากกวา่ ยอดรวมของรายได้ ผลต่างคอื “ขาดทนุ สุทธิ”

 งบกาไรขาดทุน จาแนกคา่ ใช้จา่ ยตามลกั ษณะของค่าใชจ้ ่าย

หนว่ ย : บาท

หมายเหตุ 25XX

1. รายได้

1.1 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร XX

1.2 รายไดอ้ น่ื XX

รวมรายได้ (1.1 + 1.2) XX

2. ค่าใช้จา่ ย

2.1 งานทก่ี จิ การทําและถอื เป็นรายจา่ ยฝ่ายทนุ XX

2.2 ค่าใชจ้ า่ ยพนักงาน XX

2.3 ขาดทุนจากการด้อยคา่ ของสนิ ทรัพย์ XX

2.4 คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื XX

รวมค่าใชจ้ า่ ย (2.1+2.2+2.3+2.4) XX

3. กําไร (ขาดทุน) กอ่ นตน้ ทนุ ทางการเงิน (1-2) XX

4. ตน้ ทุนทางการเงิน XX

5. กําไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ (3-4) XX

สาขาวิชา : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 8/16 155
ชอ่ื วิชา : การบัญชเี บอ้ื งตน้

: งบการเงนิ

 งบกาไรขาดทนุ จาแนกคา่ ใช้จ่ายตามหน้าที่

2.1 งบกาไรขาดทุน จาแนกค่าใช้จา่ ยตามหน้าท่ี – แบบข้นั เดยี ว

หน่วย : บาท

หมายเหตุ 25XX

1. รายได้

1.1 รายได้จากการให้บรกิ าร XX

1.2 รายไดอ้ ่ืน XX
XX
รวมรายได้ (1.1 + 1.2)
XX
2. ค่าใชจ้ า่ ย XX
XX
2.1 ต้นทุนการใหบ้ รกิ าร XX
XX
2.2 ค่าใชจ้ ่ายในการใหบ้ รกิ าร XX XX
XX
2.3 คา่ ใชจ้ า่ ยในการบริหาร XX
XX
2.4 คา่ ใชจ้ ่ายอนื่ XX XX

รวมค่าใช้จ่าย (2.1+2.2+2.3+2.4)

3. กาํ ไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ (1-2) XX

4. ตน้ ทุนทางการเงิน

5. กาํ ไร (ขาดทุน) สุทธิ

2.2 งบกาไรขาดทุน จาแนกคา่ ใชจ้ า่ ยตามหน้าที่ – แบบหลายขน้ั

หนว่ ย : บาท

หมายเหตุ 25XX

1. รายไดจ้ ากการใหบ้ ริการ XX

2. ตน้ ทนุ การใหบ้ ริการ

3. กําไร (ขาดทนุ ) ข้ันต้น (1-2) XX

4. รายไดอ้ ่นื

5. กําไร (ขาดทุน) กอ่ นคา่ ใชจ้ ่าย (3+4) XX

6. ค่าใช้จา่ ยในการใหบ้ รกิ าร

7. ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร XX

8. ค่าใชจ้ า่ ยอน่ื XX

9. รวมค่าใชจ้ า่ ย (6+7+8) XX

10. กําไร (ขาดทนุ ) ก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ (5-9) XX

11. ตน้ ทุนทางการเงนิ

12. กําไร (ขาดทนุ ) สุทธิ (10-11)

สาขาวชิ า : การบัญชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นท่ี 9/16 156
ชื่อวิชา : การบัญชีเบ้ืองตน้

: งบการเงนิ

ตวั อยา่ งท่ี  กระดาษทาํ การของรา้ นเนเจอร์ซาลอน ซง่ึ มีนายเนมเปน็ เจ้าของมีข้อมลู ดงั น้ี

รา้ นเนเจอร์ซาลอน

กระดาษทาการ

สาหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สนิ้ สุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X8

ชือ่ บญั ชี เลขที่ งบทดลอง งบกาํ ไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงนิ
บัญชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบิต เครดิต

เงนิ สด 101 100,000 100,000

เงินฝากธนาคาร 102 60,000 60,000

ลูกหน้กี ารคา้ 103 35,000 35,000

อุปกรณ์ 104 50,000 50,000

เครื่องตกแต่ง 105 40,000 40,000

อาคาร 105 270,000 270,000

เจ้าหนกี้ ารคา้ 201 38,000 38,000

เงนิ กูร้ ะยะยาว 6% 202 60,000 60,000

ทนุ -นายเนม 301 400,000 400,000

ถอนใชส้ ว่ นตัว-นายเนม 302 12,000 12,000

รายไดค้ า่ บริการ 401 320,000 320,000

รายได้อืน่ ๆ 402 80,000 80,000

คา่ พาหนะ 501 12,000 12,000

ค่าโฆษณา 502 110,000 110,000

คา่ รับรองลูกคา้ 503 30,000 30,000

คา่ สาธารณูปโภค 504 40,000 40,000

คา่ เสยี หายจากนา้ํ ท่วม 505 14,000 14,000

ค่าใชจ้ า่ ยอื่นๆ 506 15,000 15,000

ดอกเบี้ยจ่าย 507 32,000 32,000

เงนิ เดือน 508 78,000 78,000

898,000 898,000 331,000 400,000 567,000 498,000

กําไรสทุ ธิ 69,000 69,000

400,000 400,000 567,000 567,000

สาขาวิชา : การบญั ชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 10/16 157
ชื่อวชิ า : การบญั ชีเบือ้ งตน้

: งบการเงิน

งบกาไรขาดทุน จาแนกค่าใช้จ่ายตามลักษณะของคา่ ใชจ้ ่าย

ร้านเนเจอร์ซาลอน

งบกําไรขาดทุน

สําหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธนั วาคม 25X8

หมายเหตุ หนว่ ย: บาท

รายได้ 320,000
80,000
รายไดจ้ ากการให้บรกิ าร 400,000

รายไดอ้ ืน่ ๆ 118,000
152,000
รวมรายได้ 29,000

ค่าใช้จา่ ย 101,000
32,000
งานทกี่ ิจการทําและถือเป็นรายจา่ ยฝา่ ยทนุ  69,000

ค่าใชจ้ า่ ยในการให้บริการและบริหาร  หน่วย: บาท

คา่ ใช้จา่ ยอนื่ ๆ  320,000
80,000
รวมคา่ ใชจ้ ่าย 400,000

299,000 118,000

กาํ ไรก่อนตน้ ทุนทางการเงิน

หกั ต้นทนุ ทางการเงิน

กาํ ไรสุทธิ

งบกาไรขาดทนุ จาแนกตามหน้าท่ี-แบบขั้นเดยี ว

ร้านเนเจอร์ซาลอน

งบกาํ ไรขาดทนุ

สําหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 25X8

หมายเหตุ

รายได้

รายได้จากการให้บรกิ าร

รายได้อ่ืนๆ

รวมรายได้

ค่าใชจ้ ่าย

ต้นทนุ การให้บริการ 

สาขาวชิ า : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ที่ 11/16 158
ช่อื วิชา : การบญั ชีเบอ้ื งตน้

: งบการเงิน

ค่าใช้จา่ ยในการให้บริการและบริหาร  152,000
คา่ ใช้จา่ ยอืน่ ๆ  29,000
รวมคา่ ใช้จา่ ย 299,000
กําไรก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ 101,000
หกั ต้นทุนทางการเงนิ 32,000
กําไรสทุ ธิ 69,000

งบกาไรขาดทนุ จาแนกตามหน้าที่-แบบหลายข้นั

รา้ นเนเจอรซ์ าลอน

งบกาํ ไรขาดทนุ

สําหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สนิ้ สุดวันท่ี 31 ธันวาคม 25X8

หมายเหตุ หนว่ ย: บาท
320,000
รายไดจ้ ากการให้บรกิ าร 118,000
202,000
หกั ต้นทนุ การให้บริการ  80,000
282,000
กาํ ไรขนั้ ต้น 152,000
29,000
บวก รายได้อื่น
101,000
กําไรกอ่ นคา่ ใช้จา่ ย 32,000
69,000
คา่ ใชจ้ ่ายในการให้บรกิ ารและบริหาร 

คา่ ใช้จา่ ยอ่นื 

รวมคา่ ใช้จา่ ย

181,000

กําไรกอ่ นตน้ ทุนทางการเงิน

หกั ต้นทนุ ทางการเงนิ

กาํ ไรสทุ ธิ

สาขาวิชา : การบัญชี รหสั วิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 12/16 159
ช่ือวชิ า : การบัญชีเบ้ืองตน้

: งบการเงนิ

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ

หมายเหตุฯ  งานท่กี ิจการทาและถือเป็นรายจา่ ยฝ่ายทนุ (และตน้ ทุนการให้บรกิ าร)

คา่ สาธารณปู โภค 40,000 บาท

เงินเดือน 78,000 บาท

รวม 118,000 บาท

หมายเหตฯุ  คา่ ใชจ้ ่ายในการให้บริการและบริหาร

ค่าพาหนะ 12,000 บาท

ค่าโฆษณา 110,000 บาท

ค่ารับรองลูกค้า 30,000 บาท

รวม 152,000 บาท

หมายเหตุฯ  คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ๆ

คา่ เสยี หายจากนํา้ ทว่ ม 14,000 บาท

ค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ 15,000 บาท

รวม 29,000 บาท

5. งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of the financial position) หมายถงึ งบทแี่ สดงถงึ ฐานะทางการเงนิ ของกจิ การ
ณ วันใดวนั หนึง่ บญั ชีทแี่ สดงใน ได้แก่ บัญชีประเภทสนิ ทรัพย์ หนี้สนิ และทนุ หรอื สว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) การจัดทาํ งบ
แสดงฐานะการเงนิ ตามกรมพัฒนาธุรกจิ การจะมีรปู แบบเดยี วคอื แบบรายงาน ซึง่ จะแบ่งรายการออกเปน็ 2 ส่วน คือ

สว่ นทห่ี น่ึง จะแสดงรายการเกยี่ วกบั สนิ ทรพั ย์ทง้ั หมดเรียงกันลงมาตามลําดับแล้วทาํ การรวมยอดเงนิ ของ
สนิ ทรพั ย์ทัง้ หมด

สว่ นทสี่ อง จะแสดงรายการหน้สี ินและส่วนของเจา้ ของเรยี งกันลงมาเช่นเดียวกัน แลว้ ทาํ การรวมยอดหนสี้ ิน
และทนุ ซึง่ ยอดรวมทัง้ สองสว่ นคือ ด้านสินทรัพย์ หนสี้ นิ และส่วนของเจ้าของจะต้องเท่ากนั ดังน้ี

1) เขียนหวั กลางกระดาษ โดยจะประกอบด้วย 3 บรรทดั คอื
 บรรทดั แรก เขยี นชอ่ื กจิ การ
 บรรทัดที่ 2 เขียนคําวา่ “งบแสดงฐานะการเงิน”
 บรรทดั ท่ี 3 เขยี นวนั ทีท่ จี่ ัดทาํ งบแสดงฐานะการเงิน

2) เขยี นคําวา่ “สินทรพั ย”์ ไว้กลางกระดาษ แล้วนําบัญชีสนิ ทรพั ย์มาใส่และรวมยอดสนิ ทรพั ย์ทั้งหมด
3) เขียนคําวา่ “หนี้สินและส่วนของเจ้าของ” ไว้กลางกระดาษ แล้วใหน้ ําบัญชีหมวดหนี้สินมาใส่และรวมยอด
หนี้สินท้ังหมด ต่อจากนั้นให้นําบัญชีหมวดส่วนของเจ้าของ มาใส่และนํายอดรวมของส่วนของเจ้าของ รวมกับยอดรวม
หน้สี ินท้งั หมด ซงึ่ จะตอ้ งเท่ากับยอดรวมของสินทรัพย์
รูปแบบงบแสดงฐานะการเงินของกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธุรกิจบริการที่ประยุกต์จากรูปแบบของห้าง
หุ้นสว่ นจดทะเบยี น (แบบ 1) ตามประกาศของกรมพัฒนาธรุ กิจการค้า มีดังน้ี

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นที่ 13/16 160
ช่ือวชิ า : การบัญชีเบอื้ งตน้

: งบการเงนิ

รายการยอ่ ตามแบบที่ 1

งบแสดงฐานะการเงนิ
————————————

สนิ ทรพั ย์

หมายเหตุ หนว่ ย : บาท
25XX

1. สินทรัพย์หมุนเวียน
1.1 เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด
1.2 เงนิ ลงทนุ ชวั่ คราว
1.3 ลกู หน้กี ารคา้ – สุทธิ
1.4 เงนิ ใหก้ ยู้ ืมระยะส้นั แกบ่ คุ คลหรอื กจิ การที่เก่ยี วข้องกนั
1.5 เงนิ ให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรอื กจิ การอื่น
1.6 สินค้าคงเหลือ
1.7 สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียนอืน่
รวมสนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี น

2. สินทรพั ย์ไมห่ มุนเวียน
2.1 เงนิ ลงทนุ ระยะยาวอืน่
2.2 เงินใหก้ ้ยู มื ระยะยาวแก่บคุ คลหรือกิจการทเ่ี กยี่ วข้องกัน
2.3 เงินใหก้ ้ยู ืมระยะยาวแก่บคุ คลหรอื กจิ การอ่ืน
2.4 ที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ์ – สุทธิ
2.5 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน – สทุ ธิ
2.6 สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี นอนื่
รวมสินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียน

รวมสนิ ทรพั ย์

สาขาวิชา : การบญั ชี รหัสวิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นที่ 14/16 161
ช่อื วิชา : การบัญชีเบื้องตน้

: งบการเงิน

หนส้ี นิ และสว่ นของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น
3. หนส้ี นิ หมนุ เวยี น

3.1 เงินเบิกเกินบัญชแี ละเงนิ กู้ยมื ระยะส้นั จากสถาบันการเงนิ
3.2 เจา้ หนกี้ ารคา้
3.3 เงนิ ก้ยู มื ระยะยาวทถ่ี ึงกาํ หนดชําระภายในหนง่ึ ปี
3.4 เงินก้ยู ืมระยะสน้ั จากบคุ คลหรอื กิจการทีเ่ ก่ียวขอ้ งกนั
3.5 เงินกู้ยืมระยะส้นั จากบุคคลหรอื กจิ การอน่ื
3.6 ประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้
3.7 หนส้ี ินหมุนเวียนอื่น

รวมหนสี้ ินหมนุ เวยี น
4. หนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวยี น

4.1 เงนิ กยู้ ืมระยะยาวจากบคุ คลหรือกจิ การท่เี กยี่ วข้องกัน
4.2 เงนิ กยู้ ืมระยะยาวจากบคุ คลหรอื กิจการอ่นื
4.3 ประมาณการหน้สี นิ ระยะยาว
4.4 หนส้ี นิ ไม่หมุนเวียนอน่ื

รวมหนี้สินไมห่ มุนเวียน
รวมหนสี้ ิน
5. ส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน
5.1 ทนุ ของผู้เป็นหนุ้ สว่ นแตล่ ะคน
5.2 ผลกาํ ไร (ขาดทนุ ) ที่ยังไม่เกดิ ขึ้นจรงิ
5.3 กาํ ไร (ขาดทนุ ) สะสมยังไม่ได้แบง่

รวมส่วนของผูเ้ ป็นหนุ้ ส่วน
รวมหนส้ี นิ และส่วนของผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน
เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การทาํ ความเขา้ ใจ จงึ มีการปรบั ปรุงรายการบางสว่ นในการนํางบแสดงฐานะการเงนิ ไป
ประยกุ ต์ใช้ในหน่วยการเรียนรู้ ดงั ต่อไปน้ี

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 15/16 162
ช่อื วิชา : การบญั ชีเบอ้ื งตน้

: งบการเงิน

รูปแบบงบดลุ แบบรายงาน 

ร้าน…………..
งบแสดงฐานะการเงนิ

วนั ท่ี ……เดือน…………พ.ศ. ……..
สนิ ทรัพย์

สินทรพั ย์หมุนเวียน XX XX
เงนิ สด
XX + +
สินทรพั ย์ไมห่ มุนเวียน XX
รถยนต์ XX
อุปกรณ์สํานักงาน XX
เคร่ืองตกแต่ง
หนส้ี นิ และสว่ นของเจา้ ของ
รวมสนิ ทรัพย์
XX
หนส้ี นิ หมนุ เวยี น
เจา้ หนี้ XX +
XX
หนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวียน ยอดรวม
เงนิ กู้ระยะยาว
รวมหน้สี นิ เท่ากัน

ส่วนของเจา้ ของ XX + +
ทนุ (เจ้าของกิจการ) XX
บวก กาํ ไรสทุ ธิ
XX XX
หกั ถอนใชส้ ว่ นตัว XX – XX
รวมหนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหสั วิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 16/16 163
ช่ือวชิ า : การบัญชเี บอ้ื งตน้

: งบการเงนิ

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ โดยตามมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ที่ 1 กล่าวถงึ หมายเหตุประกอบงบการเงนิ

ประกอบด้วย ขอ้ มูลทแี่ สดงเพมิ่ เตมิ จากข้อมูลทแี่ สดงในงบแสดงฐานะการเงิน งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบเฉพาะกาํ ไร

ขาดทนุ (ถา้ มกี ารนาํ เสนอ) งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสว่ นของเจ้าของ และงบกระแสเงินสด หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ

เปน็ การอธบิ ายหรอื การแยกแสดงของรายการทีน่ าํ เสนอในงบการเงินดังกล่าวและข้อมลู เก่ียวกับรายการท่ีมีคุณสมบตั ิไม่

เพยี งพอทจ่ี ะรบั รู้ในงบการเงินที่นําเสนอ

ตัวอย่างหมายเหตุประกอบงบการเงิน

หมายเหตฯุ  เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด

หน่วย: บาท

เงนิ สด XX

เงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์ XX

ตวั๋ เงนิ ทม่ี อี ายุคงเหลอื ไม่เกินกวา่ 3 เดือน XX

หกั เงินฝากเพื่อลกู ค้า (XX)

รวมเงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด XX

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบทดสอบ หนา้ ท่ี
ชอ่ื วชิ า : การบญั ชีเบอื้ งตน้ รหสั วิชา 30200-0001งาน แผน่ ที่ 1/1 164
: งบการเงิน

คาช้แี จง ใหน้ ักศึกษาอ่านคําถามแลว้ เขียนวงกลมล้อมรอบคาํ ตอบทีถ่ ูกตอ้ งท่ีสดุ

1. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ ว่ นประกอบงบการเงนิ 2. งบดุล หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. งบดลุ ก. งบที่แสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงนิ ของกจิ การ

ข. งบกาํ ไรขาดทุน ข. งบที่แสดงผลการดําเนนิ งานของกจิ การ

ค. งบแสดงการเปลย่ี นแปลงฐานะการเงนิ ค. งบทีแ่ สดงฐานะการเงินของกิจการ

ง. กําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ ง. งบท่แี สดงการเปลย่ี นแปลงเงินสดทไี่ ดม้ าและใช้ไปของกจิ การ

3. ขอ้ ใดไมใ่ ช่รายการในโครงสรา้ งงบดุล 4. “งบท่ีแสดงผลการดาเนนิ งานสาหรบั งวดเวลาหน่ึง” หมายถึงงบใด

ก. ลกู หนี้การคา้ ก. งบดลุ

ข. กําไรสะสม ข. งบกาํ ไรขาดทุน

ค. ต้นทนุ สินค้าขาย ค. งบกระแสเงินสด

ง. ต๋ัวเงินจ่าย ง. งบกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็

5. การลดลงของสินทรพั ยส์ ุทธิของกจิ การเนือ่ ง 6. สว่ นหัวงบกาไรขาดทนุ แสดงรายการอยา่ งไร
ก. ชอ่ื กิจการ งบกาไรขาดทนุ วนั ที่
จากการซื้อสินค้าหรอื บริการจากผูข้ ายหมายถงึ ข้อใด ข. ชื่อกจิ การ งบกาไรขาดทนุ สาหรบั งวดบญั ชี ส้นิ สุดวนั ท่ี
ค. ชอ่ื กิจการ วันท่ี งบกาไรขาดทนุ
ก. คา่ ใชจ้ า่ ย ง. ชอ่ื กิจการ งบดุล วนั ที่
ข. เงนิ ลงทุนระยะยาว
ค. สว่ นของเจา้ ของ 8. งบใดเปน็ งบท่แี สดงให้เหน็ ถึงการเพิ่มขน้ึ หรอื ลดลงของสว่ นของเจ้าของในระหว่างงวด
ง. หน้สี ิน ก. งบกาไรขาดทุน
ข. งบกระแสเงนิ สด
7. งบกาไรขาดทนุ แบบบัญชี แสดงรายการอยา่ งไร ค. งบแสดงการเปลย่ี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ
ก. ดา้ นเดบิตแสดงสนิ ทรพั ย์ ง. งบแสดงการเปลยี่ นแปลงฐานะทางการเงนิ
ข. ด้านเดบิตแสดงรายได้ 10. งบดลุ แบบรายงาน เรยี งลาดับอยา่ งไร
ค. ด้านเครดติ แสดงรายได้ ก. สนิ ทรพั ย์ หนสี้ ิน สว่ นของเจ้าของ
ง. ด้านเดบิตแสดงหนี้สนิ ข. รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย กาไร (ขาดทุนสทุ ธ)ิ
ค. สินทรพั ย์ หนีส้ นิ คา่ ใชจ้ า่ ย
9. ส่วนหวั งบดุลแสดงรายการอยา่ งไร ง. รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย สว่ นของเจา้ ของ
ก. ช่ือกิจการ งบกาไรขาดทนุ วนั ท่ี
ข. ชือ่ กจิ การ งบดุล ณ วันที่
ค. ชอ่ื กิจการ งบดลุ สาหรบั งวดบัญชี สนิ้ สุดวนั ท่ี
ง. ช่อื กิจการ วนั ท่ี งบกาไรขาดทุน

สาขาวิชา : การบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
165
ช่ือวชิ า : การบญั ชเี บ้อื งตน้ รหสั วชิ า 30200-0001 แผ่นที่ 1/1

งาน : งบการเงนิ

1. ขอ้ ใดไม่ใช่ส่วนประกอบงบการเงิน
คําตอบ : ค. งบแสดงการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงิน

2. งบดลุ หมายถึงขอ้ ใด
คําตอบ : ค. งบท่แี สดงฐานะการเงนิ ของกจิ การ

3. ขอ้ ใดไม่ใช่รายการในโครงสรา้ งงบดุล
คําตอบ : ค. ต้นทนุ สินคา้ ขาย

4. “งบท่แี สดงผลการดาเนินงานสาหรับงวดเวลาหนึ่ง” หมายถึงงบใด
คําตอบ : ข. งบกําไรขาดทนุ

5. การลดลงของสินทรัพยส์ ุทธขิ องกิจการเน่อื งจากการซื้อสินคา้ หรือบริการจากผขู้ ายหมายถึง ข้อใด
คาํ ตอบ : ก. ค่าใชจ้ ่าย

6. สว่ นหัวงบกาไรขาดทนุ แสดงรายการอยา่ งไร
คาํ ตอบ : ข. ชอ่ื กิจการ งบกาไรขาดทุน สาหรบั งวดบัญชี ส้ินสุดวันท่ี

7. งบกาไรขาดทนุ แบบบญั ชี แสดงรายการอยา่ งไร
คําตอบ : ค. ดา้ นเครดติ แสดงรายได้

8. งบใดเปน็ งบท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึงการเพ่ิมขนึ้ หรอื ลดลงของสว่ นของเจ้าของในระหว่างงวด
คําตอบ : ค. งบแสดงการเปล่ยี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ

9. สว่ นหัวงบดลุ แสดงรายการอยา่ งไร
คาํ ตอบ : ข. ช่อื กจิ การ งบดุล ณ วนั ท่ี

10. งบดุลแบบรายงาน เรียงลาดับอยา่ งไร
คาํ ตอบ : ก. สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจา้ ของ

สาขาวิชา : การบัญชี ใบมอบหมายงาน หนา้ ที่
แผ่นที่ 1/1 166
ช่อื วชิ า : การบัญชีเบื้องตน้ รหสั วชิ า 30200-0001

งาน : งบการเงนิ

จุดประสงค์การมอบงาน
1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นรู้จักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์
2. เพื่อใหผ้ เู้ รียนได้ค้นคว้าหาความรู้เพม่ิ เตมิ
3. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง

แนวทางการปฏิบตั งิ าน

ครมู อบหมายงาน นักเรยี นค้นคว้า นักเรียนนาํ เสนอ นักเรยี นส่งผลงาน
เป็นการบา้ น งานตนเอง ครใู หค้ ะแนน

แหลง่ ค้นควา้
หนงั สือเรียน ตาํ ราเรียน

คาถาม/ปญั หา
1. ในการคน้ ควา้ งานนักเรียนพบปัญหาอะไรบา้ ง
2. นกั เรยี นแกป้ ญั หาอยา่ งไร
3. นกั เรยี นไดอ้ ะไรจากการไปคน้ ควา้ งาน

กาหนดเวลาสง่ งาน
กอ่ นครูสอนคาบต่อไป

หนังสืออา้ งองิ
บรษิ ทั สาํ นกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จํากัด
http://www.aimphan.co.th

แบบที่ 1

6. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้

แบบที่ 2

6. กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ กจิ กรรมผ้เู รียน
กจิ กรรมผู้สอน

ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกบั การบญั ชี
1. Accounting คือขอ้ ใด

ก. การบญั ชี
ข. การทาบญั ชี
ค. ผูท้ าบัญชี
ง. หน้าท่ขี องผูท้ าบัญชี
2. ขอ้ ใดคือความหมายทส่ี าคญั ของการบัญชี
ก. การทาํ บัญชี
ข. ช่วยใหม้ รี ะบบควบคมุ ภายในทดี่ ี
ค. การใหข้ ้อมูลทางการเงนิ
ง. ถกู ทั้ง ก. และข้อ ข.
3. ขอ้ ใดคือขน้ั ตอนในการทาบัญชี
ก. Collecting
ข. Recording
ค. Classifying
ง. ถูกทุกข้อ
4. Classifying คือขอ้ ใด
ก. การรวบรวม
ข. การบนั ทกึ
ค. การจําแนก
ง. การสรปุ ข้อมูล
5. การรวบรวม คือขอ้ ใด
ก. Collecting
ข. Recording
ค. Classifying
ง. Summarizing
6. การจาแนกหมวดหมู่ของบัญชีประเภทตา่ ง ๆ จดั อย่ใู นข้นั ตอนใดในการทาบญั ชี
ก. Collecting
ข. Recording
ค. Classifying
ง. Summarizing
7. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ในการใหข้ ้อมลู ทางการเงิน
ก. ใช้ในการวเิ คราะห์ดา้ นการเงนิ
ข. จัดทาํ งบประมาณ
ค. เรียกเก็บชําระหนไ้ี ดง้ า่ ย
ง. การปรับปรุงระบบบญั ชี

8. ขอ้ มูลทางการเงนิ ใหป้ ระโยชน์แกบ่ ุคคลใดในขอ้ ต่อไปนี้
ก. ผู้ใหก้ ู้
ข. รัฐบาล
ค. นกั ลงทนุ
ง. ถูกทุกข้อ

9. จุดประสงคห์ ลกั ของการบัญชคี อื ข้อใด
ก. ควบคุมรักษาสินทรพั ยข์ องกจิ าร
ข. ทราบผลการดาํ เนนิ งานของกิจการ
ค. ให้ขอ้ มูลในการวางแผนการดําเนนิ งาน
ง. ถูกทุกข้อ

10. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของข้อมูลการบญั ชี
ก. ช่วยในการวางแผนและตดั สนิ ใจของธรุ กจิ
ข. เพื่อใช้ในการเลย่ี งภาษี
ค. เป็นเคร่อื งมอื ในการหาแหล่งเงนิ ทนุ
ง. ช่วยในการวางแผนกาํ ไร

11 .ขอ้ ใดเปน็ การเขียนตวั เลขทีใ่ สเ่ คร่อื งหมายถูกต้อง
ก. 4,400
ข. 8,350.-
ค. “4,300”
ง. 3,800.25.-

Accounting Framework หมายถงึ ข้อใด
ก. มาตรฐานการบัญชีระหวา่ งประเทศ
ข. แมบ่ ทการบญั ชี
ค. ลกั ษณะของงบการเงิน
ง. หลักฐานการบญั ชี

13. งบการเงนิ จดั ทาขึน้ เพอื่ วตั ถุประสงคใ์ ด
ก. ใหข้ ้อมลู การเก่ยี วกบั ฐานะการเงิน
ข. เพือ่ ใหท้ ราบผลการดาํ เนนิ งาน
ค. ทราบถึงการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงนิ
ง. ถูกทุกข้อ

14. หลกั เกณฑใ์ นการปรับปรงุ มาตรฐานการบัญชไี ด้แก่ข้อใด
ก. แม่บทการบัญชี
ข. งบการเงิน
ค. ทราบถงึ การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน
ง. ถูกทุกข้อ

15. ข้อสมมตติ ามแมบ่ ทการบัญชไี ด้แก่ขอ้ ใด
ก. Accrual Basis
ข. Going Concern
ค. Accounting
ง. ถูกทั้งขอ้ ก. และขอ้ ข.

16. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะเชงิ คุณภาพของงบการเงนิ
ก. ความเข้าใจได้
ข. ความเช่ือถอื ได้
ค. นักบัญชตี ้องมีความรอบคอบ
ง. การเปรยี บเทียบกนั ได้

17. ข้อใดไม่ใชอ่ งค์ประกอบทเี ก่ียวขอ้ งในการวดั ฐานะการเงนิ ในงบแสดงฐานะการเงนิ
ก. สินทรัพย์
ข. รายได้
ค. หน้สี นิ
ง. ส่วนของเจ้าของ

18. ขอ้ ใดคือองคป์ ระกอบที่เก่ียวข้องกบั การวัดผลการดาเนนิ งานในงบกาไรขาดทนุ
ก. สินทรัพย์
ข. รายได้
ค. หนสี้ ิน
ง. สว่ นของเจ้าของ

19 การวัดมลู คา่ ขององคป์ ระกอบของงบการเงินไดแ้ ก่ข้อใด
ก. ราคาทุนเดิม
ข. คา่ เงนิ บาท
ค. ราคาทุนปัจจุบนั
ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ก. และข้อ ข.

20. ข้อมลู การบัญชเี ปน็ เครอื่ งมือชว่ ยในการหาแหล่งเงนิ ทนุ ได้แกข่ ้อใด
ก. สร้างความเชอื่ ม่ันใหเ้ จา้ หนแ้ี ละสถาบนั การเงิน
ข. ช่วยตัดสินใจในการกาํ หนดราคา
ค. ควบคมุ ต้นทุนการผลติ
ง. ผิดทุกข้อ

2 สินทรัพย์ หนสี้ ินและส่วนของเจา้ ของ (ทนุ ) 6. นางสาวเจนมสี ินทรัพย์ หนส้ี นิ ซึง่ เป็นของ
1. Assets คอื ขอ้ ใด สว่ นตวั ดังน้ี เงนิ สด 20,000 บาท เงินฝากธนาคาร
ก. สินทรัพย์ 15,000 บาท รถยนต์ 350,000 บาท ท่ีดิน
ข. หนส้ี ิน 150,000 บาท กูเ้ งนิ จากธนาคารมา 80,000 บาท
ค. ส่วนของเจ้าของ อยากทราบวา่ นางสาวเจนมีสนิ ทรัพยท์ ั้งส้ินจํานวน
ง. รายได้ เทา่ ใด
ก. 80,000 บาท
2. ขอ้ ใดคือสนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน ข. 455,000 บาท
ก. ลูกหนี้ ค. 535,000 บาท
ข. อาคาร ง. 615,000 บาท
ค. เงินลงทนุ ระยะยาว 7. จากข้อ 6 อยากทราบวา่ นางสาวเจนมหี นส้ี ิน
ง. รถยนต์ ท้ังสิ้นจาํ นวนเท่าใด
ก. 80,000 บาท
3. Liabilities คือขอ้ ใด ข. 455,000 บาท
ก. เงนิ สด ค. 535,000 บาท
ข. ลขิ สิทธ์ิ ง. 615,000 บาท
ค. สัมปทาน 8. จากข้อ 6 อยากทราบวา่ นางสาวเจนมสี ่วนของ
ง. ตว๋ั เงินจ่าย เจ้าของทง้ั สิน้ เท่าใด
ก. 80,000 บาท
4. ข้อใดคอื หน้สี นิ ไม่หมุนเวียน ข. 455,000 บาท
ก. เงินลงทนุ ระยะยาว ค. 535,000 บาท
ข. เงนิ เบิกเกนิ บัญชีธนาคาร ง. 615,000 บาท
ค. เงนิ กยู้ ืมระยะยาว
ง. ตว๋ั เงนิ จา่ ย 9. สมการบญั ชี คือขอ้ ใด
ก. Accounting Equation
5. สว่ นของเจา้ ของคอื ขอ้ ใด ข. Accounts Payable
ก. Cash ค. Accounting Form
ข. Owner’s Equity ง. Account receivables
ค. Liabilities
ง. Assets 10. ข้อใดคอื สมการบญั ชีตามการแสดง
ความสมั พันธร์ ะหว่างสินทรัพย์ หนสี้ นิ และสว่ นของ
เจ้าของ
ก. OE = A + L
ข. L = A + OE
ค. OE = A – L
ง. A = L – OE

โจทย์ประกอบ ใชต้ อบคาํ ถามข้อ 11-15 ต่อไปนเี้ ปน็ สนิ ทรพั ยข์ องนายนพเดช ซง่ึ เป็นบุคคลธรรมดา ดงั น้ี

เงนิ สด 35,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท เครือ่ งตกแตง่ บ้าน 22,000 บาท รถยนต์ 250,000

บาท บา้ น 450,000 บาท เงนิ กู้ 100,000 บาท

11. นายนพเดช มสี ินทรพั ย์ จาํ นวนเทา่ ใด 16. งบแสดงฐานะการเงินคือขอ้ ใด

ก. 877,000 บาท ก. Balance Sheet

ข. 777,000 บาท ข. Balance Form

ค. 677,000 บาท ค. Accounting Equation

ง. 100,000 บาท ง. Statement of financial position

12. นายนพเดช มีหนี้สินจาํ นวนเทา่ ใด 17. งบดุลรูปแบบใดใชแ้ บบฟอร์มคลา้ ยกับบญั ชีแยก
ก. 877,000 บาท ประเภท
ข. 777,000 บาท ก. แบบบัญชี
ค. 677,000 บาท ข. แบบรายงาน
ง. 100,000 บาท ค. แบบแนวตัง้
ง. แบบตารางคู่

13. จากโจทยส์ ามารถเขยี นสมการบัญชไี ดต้ ามข้อ 18. จากโจทยใ์ ห้แทนคา่ สมการบัญชีทถี่ กู ตอ้ ง

ใด

ก. A = L + OE ก. สินทรัพย์ = 55,000

ข. A = OE ข. สินทรัพย์ = 55,000 + ส่วนของเจา้ ของ

ค. L = A – OE ค. 55,000 = สินทรพั ย์ + สว่ นของเจา้ ของ

ง. OE = A – L ง. ส่วนของเจา้ ของ = สินทรพั ย์ + 50,000

14. จากโจทย์ใหแ้ ทนค่าสมการบัญชที ถ่ี กู ต้อง 19. จากโจทยอ์ ยากทราบวา่ นายปลวิ มสี ินทรพั ย์

ก. 777,000 = ส่วนของเจา้ ของ ทง้ั สิน้ จํานวนเท่าใด

ข. ส่วนของเจา้ ของ = 777,000 – ก. 610,000 บาท

100,000 ข. 665,000 บาท

ค. 100,000 = 777,000 – ส่วนของ ค. 680,000 บาท

เจา้ ของ ง. 735,000 บาท

ง. 777,000 = 100,000 – ส่วนของเจ้าของ

15. จากข้อ 14 สว่ นของเจา้ ของมีค่าเท่ากบั เทา่ ใด 20. จากโจทยอ์ ยากทราบว่ามีทุนนายปลวิ เปน็ สว่ น

ก. 877,000 บาท ของเจา้ ของจาํ นวนทั้งส้ินเท่าใด

ข. 777,000 บาท ก. 735,000 บาท

ค. 677,000 บาท ข. 680,000 บาท

ง. 100,000 บาท ค. 665,000 บาท

ง. 610,000 บาท

3. การวิเคราะหร์ ายการคา้

1. กจิ การรปู แบบใดทีด่ าํ เนนิ งานโดยมีจาํ นวนเงินทุน 6. ขอ้ ใดมผี ลทําใหส้ ินทรพั ย์เพมิ่ และส่วนของเจา้ ของ

จาํ กัด และขยายกิจการได้ยาก เพม่ิ

ก. ห้างหนุ้ ส่วนจาํ กดั ก. นําเงินสดมาลงทุนในกจิ การ

ข. บริษทั จาํ กัด ข. ถอนเงินของกิจการใชส้ ว่ นตัว

ค. บรษิ ัทมหาชนจํากดั ค. ซอ้ื เคร่อื งตกแต่งเปน็ เงนิ สด

ง. กจิ การเจา้ ของคนเดียว ง. รับชําระหน้ีจากลกู ค้า

2. Business Transaction คอื ข้อใด 7. รายการ “จ่ายค่าเช่ารา้ น” มผี ลตอ่ การ
ก. การวเิ คราะหร์ ายการค้า เปลีย่ นแปลงอย่างไรบ้าง
ข. รายการทไี่ มใ่ ชร่ ายการค้า ก. สินทรัพย์ลด สว่ นของเจ้าของเพิม่
ค. รายการคา้ ข. สนิ ทรพั ยเ์ พมิ่ สว่ นของเจ้าของเพมิ่
ง. การวิเคราะหก์ ารเงิน ค. สินทรพั ย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
ง. สินทรัพยเ์ พม่ิ ส่วนของเจา้ ของลด
3. ขอ้ ใดเป็นรายการค้า
ก. ซ้อื เครอื่ งมือเป็นเงนิ สด 8. รายการ “รบั บิลคา่ ไฟฟา้ เดือนนี้จากการไฟฟา้
ข. การส่งสนิ ค้าใหล้ ูกค้า นครหลวง” มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร
ค. การชาํ ระหนใ้ี หเ้ จ้าหนี้ ก. สินทรพั ย์ลด หนสี้ นิ ลด
ง. ถูกทกุ ขอ้ ข. หนส้ี ินเพิม่ ส่วนของเจ้าของลด
ค สินทรพั ย์ลด หน้สี นิ เพ่มิ
ง. หนส้ี ินเพิ่ม ส่วนของเจา้ ของเพิ่ม

4. ข้อใดไม่ใชร่ ายการค้าภายนอก 9. รายการซื้อรถยนตเ์ ป็นเงินเชอ่ื มีผลตอ่ การ
ก. ถอนเงนิ สดไปใช้สว่ นตวั เปล่ยี นแปลงตามข้อใด
ข. ซอ้ื สินค้า ก. สนิ ทรพั ยล์ ด หนส้ี นิ เพม่ิ
ค. การรบั ชาํ ระหน้ี ข. สินทรัพยเ์ พมิ่ หนสี้ นิ เพมิ่
ง. การกู้ยืมเงนิ ค. สินทรัพยล์ ด สว่ นของเจ้าของลด
ง. หน้ีสินเพ่มิ สว่ นของเจ้าของเพม่ิ

5. Non-Business Transaction คือขอ้ ใด 10. ตามหลกั การบัญชีค่ถู ้าสินทรพั ย์เพิ่มข้ึน ควร
ก. การรบั ชาํ ระหนจี้ ากลกู หน้ี บนั ทึกบญั ชีด้านใด
ข. การขายสนิ ค้าให้แกล่ ูกคา้ ก. ดา้ นเดบติ (Dr.)
ค. การก้ยู ืมเงนิ จากธนาคาร ข. ดา้ นเครดติ (Cr.)
ง. การเชิญชวนลกู คา้ ไปชมสนิ คา้ ค. บันทกึ ท้งั สองดา้ น
ง. ถกู ทุกขอ้

11. รายการ “จา่ ยเงินเดือนให้พนกั งาน” มีผลตอ่ 16. นายวชิ ัยนาเงินสดมาลงทนุ 15,000 บาท สรุป
บัญชีใด การวิเคราะหอ์ ย่างไร
ก. เงินสดลด ทนุ ลด ก. เดบิตเงินสด 15,000 บาท เครดติ ทนุ -นายวชิ ัย
ข. เงนิ สดลด 15,000 บาท
ค. เงนิ เดือน ทนุ ลด ข. เดบิตทุน-นายวิชยั 15,000 บาท เครดติ เงนิ สด
ง. เงินสดลด หน้สี ินลด 15,000 บาท
ค. เดบติ เงนิ สด 15,000 บาท เครดิตรายได้
15,000 บาท
ง. เดบิตถอนใชส้ ว่ นตวั 15,000 บาท เครดิตเงินสด
15,000 บาท

12. เมือ่ นารายการมาวเิ คราะห์ในรปู งบดลุ แล้วจะ 17. ซอ้ื เครอ่ื งตกแตง่ เป็นเงนิ เช่ือจากร้านปลานอ้ ย
ทาใหเ้ งินสดมจี านวนท้งั ส้ินเท่าใด 5,000 บาท สรปุ การวเิ คราะห์อย่างไร
ก. 143,000 บาท ก. เดบิตเครอื่ งตกแตง่ 5,000 บาท เครดิตเงินสด
ข. 150,000 บาท 5,000 บาท
ค. 223,000 บาท ข. เดบติ เครอ่ื งตกแตง่ 5,000 บาท เครดติ เจา้ หนี้-
ง. 230,000 บาท รา้ นปลาน้อย 5,000 บาท
ค. เดบติ เงินสด 5,000 บาท เครดิตเครื่องตกแตง่
5,000 บาท
ง. เดบิตเจ้าหน้ี-ร้านปลาน้อย 5,000 บาท เครดิต
เครื่องตกแตง่ 5,000 บาท

13. รายการ “ถอนเงนิ ” ดังกล่าว มีผลทาใหส้ ่วน 18. ปลาทองนาเงินของกจิ การไปใช้ส่วนตัว 7,000
ของเจา้ ของเปล่ยี นแปลงอย่างไร บาท สรุปการวเิ คราะหอ์ ยา่ งไร
ก. เดบติ ถอนใชส้ ว่ นตวั 7,000 บาท เครดิตเจ้าหนี้
ก. ทุน-นกน้อยคงที่ไม่เปลยี่ นแปลง 7,000 บาท
ข. ทุน-นกนอ้ ยลดลง 7,000 บาท ข. เดบติ ถอนใชส้ ่วนตัว 7,000 บาท เครดิตเงินสด
ค. ทุน-นกนอ้ ยเพ่ิมขนึ้ 7,000 บาท 7,000 บาท
ง. ทุน-นกนอ้ ยลดลง 143,000 บาท ค. เดบติ ถอนใชส้ ่วนตวั 7,000 บาท เครดติ ทุน-ปลา
ทอง 7,000 บาท
ง. เดบิตเงินสด 7,000 บาท เครดติ ทนุ -ปลาทอง
7,000 บาท

14. ยอดรวมท้ังสนิ้ ของงบแสดงฐานะการเงนิ ทั้ง 19. โจทย์ประกอบ ใช้ตอบคาถามขอ้ 19-20 19.

สองดา้ นมจี านวนท้งั สิ้นเทา่ ใด รายการวันท่ี 20 มีนาคม 2556 สรปุ การวเิ คราะห์

ก. 143,000 บาท อยา่ งไร

ข. 150,000 บาท ก. เดบิตเงนิ สด 12,000 บาท เครดติ ลูกหน้ี

ค. 223,000 บาท 12,000 บาท

ง. 230,000 บาท ข. เดบติ เงินสด 4,000 บาท เครดิต

ลูกหนี้ 4,000 บาท

ค. เดบติ เงินฝากธนาคาร 12,000 บาท เครดิต

ลูกหนี้ 12,000 บาท

ง. เดบติ เงินฝากธนาคาร 4,000 บาท เครดิต

ลกู หนี้ 4,000 บาท

15. จากโจทยส์ รุปไดว้ า่ รายการดังกลา่ วมี 20. รายการขา้ งตน้ ลกู หนย้ี งั คา้ งชาระหนเ้ี ป็น

ผลกระทบตอ่ สินทรัพย์ หน้สี ิน และส่วนของเจา้ ของ จานวนเทา่ ใด

อย่างไร ก. ไมม่ คี ้างชาระ

ก. สินทรัพยเ์ พม่ิ ส่วนของเจา้ ของเพิม่ ข. 4,000 บาท

ข. สนิ ทรพั ยล์ ด สว่ นของเจา้ ของเพิ่ม ค. 8,000 บาท

ค. สินทรัพยเ์ พิ่ม ส่วนของเจ้าของลด ง. ผิดทกุ ขอ้

ง. สนิ ทรพั ยล์ ด สว่ นของเจา้ ของลด

4 การบันทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไปของธุรกิจบรกิ ารเจา้ ของคนเดียว

1. สมุดรายวันขัน้ ต้นเลม่ ใดท่ใี ช้จดบนั ทกึ รายการคา้ 6. การเพิม่ ข้นึ ของสนิ ทรพั ย์ จะบนั ทกึ บญั ชดี า้ นใด

ต่าง ๆ ท่เี กิดขน้ึ เปน็ ครง้ั แรก ก. ดา้ นเดบติ

ก. สมดุ รายวันขัน้ ตน้ ข. ด้านเครดติ

ข. สมุดรายวันเฉพาะ ค. ทงั้ สองด้าน

ค. สมุดแยกประเภทท่ัวไป ง. ไม่ตอ้ งบันทึก

ง. ถูกทุกข้อ

2. ขอ้ ใดหมายถึง Special Journal 7. การเพิ่มขึ้นของสินทรพั ย์ จะบนั ทึกบญั ชดี า้ นใด

ก. สมุดรายวนั ทั่วไป ก. ดา้ นเดบิต

ข. สมุดรายวันเฉพาะ ข. ดา้ นเครดติ

ค. สมุดรายวันขนั้ ต้น ค. ทัง้ สองดา้ น

ง. สมดุ แยกประเภททวั่ ไป ง. ไม่ต้องบนั ทกึ

3. Sales Journal คอื ขอ้ ใด 8. รายการเปิดบัญชไี ด้แก่

ก. สมุดรายวนั รับเงิน ก. สม้ จีนจ่ายเงนิ เดือนคนงาน

ข. สมดุ รายวนั ขายสินคา้ ข. สม้ เปรยี้ วถอนใช้สว่ นตวั

ค. สมุดรายวนั ซ้อื สนิ คา้ ค. มดดํานาํ เงินสดมาลงทนุ

ง. สมุดรายวนั จา่ ยเงิน ง. องนุ่ รบั เงินคา่ บริการเสริมสวย

4. General Journal คอื ข้อใด 9. นายนิดนาํ เงนิ สดมาลงทนุ ในกจิ การ 35,000 บาท

ก. สมดุ รายวนั สง่ คนื สามารถบันทกึ บัญชโี ดย

ข. สมุดรายวนั รับคืน ก. เดบิตเงนิ สด 35,000 บาท เครดิตทุน-นายนดิ

ค. สมดุ รายวันเฉพาะ 35,000 บาท

ง. สมดุ รายวนั ทวั่ ไป ข. เดบติ ทนุ -นายนิด 35,000 บาท เครดติ เงนิ สด

35,000 บาท

ค. เดบติ เงนิ สด 35,000 บาท เครดิตรายได้

35,000 บาท

ง. เดบติ ถอนใชส้ ว่ นตัว 35,000 บาท เครดิตเงนิ สด

35,000 บาท

5. หลักการบนั ทึกรายการอย่างไรทีไ่ ม่เป็นท่ีนยิ มใช้ 10. นางเจนจริ านําเงินสด 20,000 บาท เงินฝาก

ก. บัญชีต้นทุนๆ ธนาคาร 35,000 บาท เคร่ืองตกแตง่ 18,000 บาท

ข. บญั ชขี ายสินคา้ เจ้าหน้กี ารค้า 5,500 บาท และเงนิ กู้ 9,000 บาท มา

ค. บัญชีเดี่ยว ลงทุน อยากทราบว่ามสี นิ ทรพั ยท์ ้ังสนิ้ เท่าใด

ง. บญั ชีคู่ ก. 73,000 บาท

ข. 58,500 บาท

ค. 55,000 บาท

ง. 14,500 บาท

11. จากข้อ 10 มีหนีส้ นิ ทง้ั สน้ิ จานวนเท่าใด 16. นายโชคดนี าเงนิ สด 30,000 บาท อปุ กรณ์
ก. 5,500 บาท สานักงาน 12,000 บาท เงินกู้ 8,000 บาท เจ้าหนี้
ข. 9,000 บาท 5,000 บาท มาลงทุน ทุนของนายโชคดีคือข้อใด
ค. 14,500 บาท ก. 55,000 บาท
ง. 73,000 บาท ข. 42,000 บาท
ค. 29,000 บาท
ง. 13,000 บาท

12. จากข้อ 10 อยากทราบว่านางเจนจริ ามที นุ 17. จากข้อ 16 หน้ีสนิ ภายนอกคอื ขอ้ ใด
จานวนเท่าใด ก. 5,000 บาท
ก. 14,500 บาท ข. 8,000 บาท
ข. 55,500 บาท ค. 12,000 บาท
ค. 58,500 บาท ง. 30,000 บาท
ง. 73,000 บาท

13. สง่ บลิ เรียกเก็บเงินจากลูกค้าคา่ บริการท่คี ้าง 18. หนี้สนิ ภายในคอื ข้อใด
ชาระ สามารถบันทึกบญั ชีโดย ก. 5,000 บาท
ก. เดบิตเจ้าหน้ี เครดิตเงนิ สด ข. 8,000 บาท
ข. เดบิตเงนิ สด เครดิตเจ้าหนี้ ค. 12,000 บาท
ค. เดบติ ลกู หน้ี เครดติ เงินสด ง. 30,000 บาท
ง. เดบติ ลกู หน้ี เครดติ รายไดค้ า่ บรกิ าร

14. จา่ ยค่าไฟฟ้า สามารถบนั ทึกบัญชโี ดย 19. Single-entry book-keeping คือขอ้ ใด
ก. เดบิตลูกหนี้ เครดติ รายได้
ข. เดบิตค่าไฟฟา้ เครดติ เจา้ หน้ี ก. หลักการบญั ชีเดย่ี ว
ค. เดบติ คา่ ไฟฟ้า เครดติ เงินสด ข. หลกั การบัญชคี ู่
ง. เดบติ เจา้ หนี้ เครดติ เงินสด ค. รายการเปดิ บญั ชี
ง. รายการปกติของกจิ การ

15. นางสมใจถอนเงนิ จากบญั ชสี ว่ นตัวของตนเอง 20. Journal Entry คอื ขอ้ ใด
ไปใช้ส่วนตัว สามารถบนั ทึกบัญชโี ดย ก. หลักการบัญชเี ดี่ยว
ข. หลกั การบัญชีคู่
ก. เดบิตถอนใชส้ ว่ นตัว เครดติ เงินสด ค. รายการเปิดบัญชี
ข. เดบิตเงินสด เครดติ ถอนใช้ส่วนตัว ง. รายการปกตขิ องกจิ การ
ค. เดบิตทุน-นางสมใจ เครดติ ถอนใช้ส่วนตวั
ง. ไมบ่ ันทึกรายการ

5 ไมม่ ขี อ้ มลู 6.Credit Balance คือขอ้ ใด
6. งบทดลอง ก. เครดิตมากกวา่ เดบิต
1.งบทดลองประกอบดว้ ย ข. เดบติ มากกว่าเครดติ
ค. รายการที่มียอดรวมดา้ นเดยี ว
ก. สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ ง. เดบติ เทา่ กบั เครดิต
ข. สนิ ทรัพย์ หนสี้ นิ และทนุ
ค. สนิ ทรพั ย์ หน้ีสนิ ทุนและรายได้
ง. สินทรพั ย์หน้สี ินทนุ รายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ย

2.บญั ชีถอนใชส้ ว่ นตวั จดั อยูใ่ นบญั ชหี มวดใด 7.ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของงบทดลอง
ก. หมวด 1 ก. แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดไดท้ นั ท่วงที
ข. หมวด 2 ข. ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการทาํ งบการเงนิ
ค. หมวด 3 ค. แสดงฐานะการเงินของกิจการ
ง. หมวด 4 ง. พสิ ูจนค์ วามถกู ต้องของการบันทึกบญั ชี

3.บญั ชีเงนิ กู้ มยี อดคงเหลืออยดู่ ้านใด 8.งบทดลองคือข้อใด
ก. เดบิต
ข. เครดิต ก. Balance Sheet
ค. ด้านใดกไ็ ด้ ข. Trial Balance
ง. ทําใหห้ นี้เพม่ิ ค. Trial Balance Form
ง. Trial Balance Sheet

4.ขอ้ ใดคอื งบทดลอง 9.บัญชคี า่ แรงงานปรากฏในหมวดใด
ก. แสดงฐานะการเงิน ก. สินทรพั ย์
ข. แสดงผลการดําเนินงาน ข. หน้สี ิน
ค. พสิ ูจน์ความถกู ต้องของข้อมูลทางบญั ชี ค. ทุน
ง. ถูกทุกข้อ ง. คา่ ใชจ้ ่าย

5.บัญชคี า่ พาหนะ มียอดคงเหลือปรากฏอย่ดู า้ นใด 10.บญั ชีลูกหนี้ จดั อยู่หมวดใด
ก. เดบิต ก. สนิ ทรัพย์
ข. เครดติ ข. รายได้
ค. เดบิตหรอื เครดติ กไ็ ด้ ค. หนสี้ นิ
ง. ทุนลด ง. คา่ ใช้จา่ ย

11.ถา้ ยอดรวมเดบติ มากกว่ายอดรวมเครดติ ในสมดุ 16.บัญชีเงนิ กู้เบกิ เกินบัญชี จะปรากฏในงบทดลอง
แยกประเภทท่ัวไป เรียกวา่ อะไร ดา้ นใด
ก. Credit Balance ก. เดบิต
ข. Debit Balance ข. เครดิต
ค. Pencil Footing ค. ทั้งสองดา้ น
ง. Trial Balance ง. ถูกทุกข้อ

12.งบทดลองประกอบดว้ ยบัญชีกีห่ มวด 17.จากข้อ 16 จดั อยู่ในหมวดบัญชใี ด
ก. 5 หมวด ก. สนิ ทรพั ย์
ข. 4 หมวด ข. หนส้ี ิน
ค. 3 หมวด ค. ส่วนของเจ้าของ
ง. 2 หมวด ง. คา่ ใชจ้ า่ ย

13.ข้อใดคอื การหายอดรวมด้วย Pencil Footing 18.บัญชีรายไดค้ า่ บริการ จัดเปน็ บัญชีหมวดใด
ก. เขยี นด้วยดินสอบรรทัดบน ก. สินทรพั ย์
ข. เขยี นด้วยดินสอบรรทดั ถดั ไป ข. รายได้
ค. เขยี นด้วยดินสอชิดเส้นด้านเดบิตและเครดิต ค. คา่ ใชจ้ า่ ย
ง. เขียนด้วยดินสอชดิ เสน้ บรรทดั ง. สว่ นของเจ้าของ

14.Trial Balance Form คอื ขอ้ ใด 19.ถ้าบัญชีแยกประเภทมีรายการเดียว หรือดา้ นเดียว
ก. งบทดลอง ให้รวมยอดตามขอ้ ใด
ข. รูปแบบของงบทดลอง ก. หาผลตา่ งระหว่างด้านเดบิตและเครดิต
ค. ลกั ษณะของงบทดลอง ข. รวมยอดทั้งสองด้านเท่ากัน
ง. ยอดคงเหลอื บญั ชแี ยกประเภท ค. ให้ถือเป็นยอดคงเหลอื ไมต่ ้องรวมดว้ ยดินสอ
ง. ถูกทุกข้อ

15.บัญชหี มวดหนี้สนิ จะอยู่ในงบทดลอง 20.ข้อใดคอื วัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดทาํ งบทดลอง
ก. เดบิต ก. พสิ จู นค์ วามถูกตอ้ งของข้อมูลทางบญั ชี
ข. เครดิต ข. เพอื่ หาผลดาํ เนนิ งาน
ค. ทง้ั สองด้าน ค. เพื่อทราบหนี้สิน หนส้ี นิ และสว่ นของเจ้าของ
ง. ถูกทุกข้อ ง. ถูกทุกข้อ

7.กระดาษทาํ การ 6 ชอ่ ง 6.บญั ชีหมวดหนี้สนิ จะนําไปใส่ในชอ่ งใดของกระดาษ
1.Work Sheet หมายถงึ ข้อใด ทําการ 6 ช่อง
ก. กระดาษทาํ การ ก. งบดลุ ดา้ นเดบติ
ข. งบดลุ ข. งบดลุ ด้านเครดิต
ค. งบกําไรขาดทุน ค. งบกาํ ไรขาดทุน ดา้ นเดบิต
ง. งบการเงนิ ง. งบกําไรขาดทุน ดา้ นเครดติ

2.ข้อใดคือความหมายของกระดาษทําการ 7.บญั ชีหมวดสว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) จะนําไปใส่ในชอ่ ง
ใดของกระดาษทาํ การ 6 ชอ่ ง
ก. แสดงผลการดําเนนิ งาน ก. งบดลุ ดา้ นเดบิต
ข. เปน็ เคร่ืองมอื ช่วยในการจดั ทาํ งบการเงนิ ข. งบดลุ ด้านเครดิต
ค. พสิ ูจน์ความถกู ต้องของงบการเงนิ ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ดา้ นเดบติ
ง. แสดงฐานะการเงนิ ง. งบกําไรขาดทุน ด้านเครดติ
3.ข้อใดคือประโยชน์ของกระดาษทําการ
ก. ประหยดั เวลา 8.บญั ชดี อกเบย้ี จ่าย แสดงยอดในกระดาษทาํ การตาม
ข. ป้องกนั ข้อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึ้นได้ ขอ้ ใด
ค. ทราบผลการดาํ เนนิ งานและฐานะการเงนิ เร็วขึน้ ก. ดา้ นเดบติ ของงบดลุ
ง. ถูกทุกข้อ ข. ด้านเครดติ ของงบดุล
ค. ดา้ นเดบิตของงบกําไรขาดทนุ
4.กระดาษทาํ การประกอบด้วย ง. ด้านเครดติ ของงบกาํ ไรขาดทนุ

ก. งบดุล 9.บญั ชีหมวดสว่ นของเจ้าของ (ถอนใชส้ ่วนตวั ) จะ
ข. งบทดลอง นําไปใสใ่ นชอ่ งใดของกระดาษทาํ การ
ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ก. งบดุล ด้านเดบิต
ง. ถูกทุกข้อ ข. งบดุล ด้านเครดติ
5.บญั ชหี มวดสนิ ทรพั ยจ์ ะนําไปใส่ในช่องใดของ ค. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต
กระดาษทาํ การ 6 ช่อง ง. งบกาํ ไรขาดทนุ ดา้ นเครดิต
ก. งบดลุ ดา้ นเดบติ
ข. งบดลุ ด้านเครดติ 10.บัญชีหมวดรายได้ จะนาํ ไปใส่ในชอ่ งใดของ
ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ด้านเดบิต กระดาษทาํ การ
ง. งบกาํ ไรขาดทนุ ด้านเครดิต ก. งบดุล ด้านเดบติ
ข. งบดุล ดา้ นเครดติ
ค. งบกาํ ไรขาดทุน ด้านเดบติ
ง. งบกาํ ไรขาดทุน ดา้ นเครดติ

11.บญั ชหี มวดคา่ ใชจ้ า่ ย จะนําไปใส่ในชอ่ งใดของ 16.ถา้ ยอดเดบิตมีจํานวนเงินมากกวา่ ดา้ นเครดติ ใน
กระดาษทาํ การ งบกําไรขาดทุนจะมีผลทําให้
ก. งบดลุ ด้านเดบติ ก. กําไรสทุ ธิ
ข. งบดลุ ด้านเครดิต ข. ค่าใชจ้ า่ ย
ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ดา้ นเดบติ ค. ยอดคงเหลอื
ง. งบกาํ ไรขาดทุน ด้านเครดิต ง. ถูกทุกข้อ

12.กาํ ไรสทุ ธิจะแสดงยอดด้านใดของกระดาษทํา 17.บัญชีเงินเบิกเกนิ บัญชี แสดงยอดดา้ นใดของ
การ กระดาษทําการ
ก. งบดุล ด้านเดบติ ก. งบดลุ ด้านเครดิต
ข. งบดุล ดา้ นเครดติ ข. งบกําไรขาดทนุ ด้านเดบิต
ค. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต เครดิตงบดุล ค. งบดุลด้านเดบติ
ง. งบกาํ ไรขาดทนุ ด้านเครดิต ง. งบกําไรขาดทุนดา้ นเครดติ

13.ขาดทุนสทุ ธิ หมายถึง 18.บัญชรี ายได้ค่าซักรดี จะนาํ ไปใส่ในช่องใดของ
ก. รายไดม้ ากกว่ารายจ่าย กระดาษทาํ การ
ข. รายได้นอ้ ยกว่ารายจา่ ย ก. งบดุล ดา้ นเดบติ
ค. สนิ ทรัพยม์ ากกวา่ หนส้ี ิน ข. งบดลุ ดา้ นเครดติ
ง. ทุนมากกวา่ สนิ ทรัพย์ ค. งบกาํ ไรขาดทุน ดา้ นเดบิต
ง. งบกาํ ไรขาดทุน ด้านเครดิต
14.เงินกู้ กาํ หนดจา่ ย 2 ปี จัดเปน็ บัญชีประเภท
ก. สนิ ทรพั ย์ 19.บัญชีค่าแรงงาน จะแสดงอยู่ในงบใดของ
ข. หนส้ี ิน กระดาษทําการ
ค. รายได้ ก. งบดุล ด้านเดบติ
ง. คา่ ใชจ้ า่ ย ข. งบดลุ ด้านเครดติ
ค. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต
15.บัญชีดอกเบ้ยี รบั จะแสดงในกระดาษทาํ การ ง. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเครดิต
ตามขอ้ ใด
ก. สนิ ทรัพย์ 20.ถ้าค่าใชจ้ ่ายมียอดรวมมากกว่ารายไดจ้ ะทาํ ให้มี
ข. หนส้ี นิ ผลตา่ งตามขอ้ ใด
ค. รายได้ ก. กาํ ไรสุทธิ
ง. คา่ ใชจ้ ่าย ข. ขาดทุนสทุ ธิ
ค. สว่ นของเจา้ ของเพ่มิ ข้ึน
ง. สว่ นของเจ้าของลดลง

8. การปรบั ปรงุ บัญชี

1.ข้อใดคือรายการท่ีเกดิ ขนึ้ แล้วแต่กิจการยงั ไม่ได้ 6.ขอ้ ใดคอื รายการท่ีกจิ การไดใ้ ห้บริการแก่

บนั ทกึ บัญชี บคุ คลภายนอกไปแล้ว แต่ยังไม่ได้รับชําระเงิน และ

ก. รายไดร้ ับลว่ งหนา้ ยังไม่ไดบ้ ันทึกบัญชี

ข. คา่ ใช้จา่ ยจา่ ยล่วงหนา้ ก. รายได้ค้างรับ

ค. ค่าใชจ้ ่ายค้างจา่ ย ข. รายไดร้ ับลว่ งหน้า

ง. ถกู ทกุ ขอ้ ค. คา่ ใช้จ่ายจ่ายล่วงหนา้

ง. รายได้จ่ายค้างจ่าย

2. ขอ้ ใดคอื ค่าใช้จา่ ย 7.ข้อใดคอื จํานวนเงนิ ทีก่ จิ การจา่ ยไปแลว้ สาํ หรับ

ก. วัสดุสิ้นเปลืองใชไ้ ป สนิ ทรพั ยท์ จี่ ะไดร้ บั ประโยชน์ในอนาคต และจะใช้

ข. ค่าใช้จา่ ยจ่ายลว่ งหนา้ หมดไปในระยะเวลาสั้น

ค. คา่ ใช้จ่ายคา้ งจา่ ย ก. รายไดค้ ้างรบั

ง. รายได้ค้างรบั ข. รายไดร้ ับลว่ งหนา้

ค. คา่ ใช้จ่ายจ่ายล่วงหนา้

ง. รายไดจ้ ่ายคา้ งจ่าย

3.ข้อใดคือการคํานวณหาวสั ดสุ น้ิ เปลอื งใช้ไป 8. ข้อใดเปน็ หนีส้ ินหมนุ เวียน

ก. ตน้ งวด+ซอ้ื เพม่ิ –ปลายงวด ข ก. รายไดค้ า้ งรับ

ข. ตน้ งวด+ซ้ือเพม่ิ +ปลายงวด ข. รายไดร้ บั ลว่ งหน้า

ค. ซื้อเพิม่ +ปลายงวด ง. ค. ค่าใช้จา่ ยจา่ ยล่วงหน้า

ง. ตน้ งวด+ปลายงวด ง. ค่าเผือ่ หน้ีสงสัยจะสญู

4.ขอ้ ใดเปน็ บญั ชีหน้ีสินหมุนเวียน 9.ข้อใดคือรายการท่ีกจิ การรบั เงินมาล่วงหนา้ แล้ว

ก. วัสดสุ น้ิ เปลืองใชไ้ ป แตย่ ังมไิ ดใ้ หบ้ ริการตอบแทนต่อลูกคา้

ข. คา่ ใชจ้ ่ายจา่ ยลว่ งหนา้ ก. รายไดค้ า้ งรับ

ค. ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ข. รายได้รับลว่ งหน้า

ง. รายไดค้ า้ งรับ ค. คา่ ใช้จ่ายจ่ายลว่ งหน้า

ง. รายไดจ้ ่ายคา้ งจ่าย

5.ขอ้ ใดเป็นบัญชีทกี่ จิ การใชป้ ระโยชน์ไปแล้ว 10.ข้อใดบันทกึ บัญชีเปน็ รายได้ทงั้ จาํ นวนและ

ระหว่างงวดบญั ชี แต่ยงั ไมไ่ ดจ้ ่ายเงนิ และมิได้บนั ทึก บันทกึ เปน็ หนี้สินทง้ั จํานวน ณ วันทีก่ จิ การไดร้ ับเงิน

บัญชี ก. รายได้คา้ งรบั

ก. คา่ ใชจ้ ่ายจา่ ยลว่ งหนา้ ข. รายไดร้ บั ล่วงหนา้

ข. คา่ ใชจ้ า่ ยค้างาจา่ ย ค. ค่าใช้จ่ายจา่ ยลว่ งหน้า

ค. รายไดค้ า้ งรบั ง. รายได้จ่ายคา้ งจ่าย

ง. รายได้รบั ล่วงหน้า

11.ขอ้ ใดเปน็ บัญชปี รับมลู ค่าท่ีมยี อดดลุ ทางดา้ น 16. ข้อใดตอ่ ไปน้ตี อ้ งบันทึกรายการกลับบัญชี

เครดติ ก. ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า

ก. หน้สี งสัย ข. รายไดร้ ับลว่ งหนา้

ข. คา่ เผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ ค. ค่าใช้จ่ายคา้ งจา่ ยและรายไดค้ า้ งรับ

ค. หนส้ี ูญ ง. ถูกทุกข้อ

ง. ลกู หนี้

12.กิจการแหง่ หนึ่งมียอดขายเชอ่ื 100,000 บาท 17.ขอ้ ใดเปน็ บญั ชชี ั่วคราว ( Temporary

รับคืน 2,000 บาท และส่วนลดจ่าย 1,000 บาท ให้ account )

ตง้ั หนส้ี งสัย ก. บัญชสี ินทรพั ย์

ก. 470 บาท ข. 970 บาท ข. บญั ชรี ายได้และคา่ ใช้จา่ ย

ค. 1,000 บาท ง. 1,470 บาท ค. บญั ชีหน้ีสนิ

ง. บัญชีทนุ

13.กจิ การแห่งหน่ึงมยี อดลกู หน้ีจากการขายเชือ่ 18. ขอ้ ใดเปน็ บญั ชีแท้ ( Real account )

200,00 บาท รับคืน 2,000 บาท ส่วนลดจา่ ย ก. บญั ชสี นิ ทรพั ย์และหนส้ี นิ

1,000 บาท ให้ตง้ั หนี้สงสัยจะสญู 5% ของยอด ข. บญั ชีรายได้

ลูกหนปี้ ลายงวด (ลูกหนี้ยกมา 50,000 บาท ค่าเผือ่ ค. บญั ชคี ่าใชจ้ ่าย

หนีส้ งสยั จะสญู ยกมา 3,000 บาท) ต้งั หนสี้ งสัยจะ ง. ถูกทุกข้อ

สญู จํานวนเทา่ ใด

ก. 10,000 บาท ข. 9,400 บาท

ค. 6,900 บาท ง. 6,850 บาท

14.กจิ การซ้อื เครือ่ งจักรราคาทุน 300,000 บาท 19. Prepaid expenses คอื ขอ้ ใด

ประมาณว่าจะมอี ายุการใชง้ านได้ 10 ปี และขาย ก. คา่ ใช้จ่ายคา้ งจา่ ย

เป็นเศษซากได้ 10,000 บาท คิดค่าเส่ือมราคาต่อปี ข. รายไดค้ ้างรับ

จาํ นวนเทา่ ใด ค. ค่าใชจ้ ่ายจา่ ยล่วงหนา้

ก. 10,000 บาท ข. 29,000 บาท ง. ถูกทุกข้อ

ค. 30,000 บาท ง. 31,000 บาท

15.ข้อใดตอ่ ไปนี้ไม่ต้องบันทึกรายการกลับบัญชี 20. Doubtful Account คือข้อใด

ก. รายได้คา้ งรบั ข. รายไดร้ บั ก. วัสดสุ นิ้ เปลืองใช้ไป

ล่วงหน้า ข. ค่าเสอ่ื มราคา

ค. ค่าเส่ือมราคา ง. ค่าใช้จา่ ย ค. หนีส้ งสยั จะสูญ

ล่วงหนา้ ง. รายได้รับล่วงหน้า

9การปิดบัญชี

1. การเปดิ บญั ชีคอื ขอ้ ใด 6. ข้อใดเป็นบัญชที ี่โอนเขา้ บัญชที ุน

ก. Closing Entries ก. อาคาร

ข. Closing ข. รถยนต์

ค. Opening Entries ค. เงนิ เดือน

ง. Adjusting Entries ง. เงินถอนใช้ส่วนตัว

2. ขอ้ ใดคือการทําให้ยอดรวมของด้านเดบิตเท่ากับ 7. การปดิ บญั ชีค่าใช้จ่าย ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

ยอดรวมของด้านเครดิตของแตล่ ะหมวดบญั ชี ก. เดบิตทุน เครดติ ค่าใชจ้ า่ ย

ก. วงจรบัญชี ข. เดบติ ค่าใชจ้ า่ ย เครดิตทุน

ข. การบันทกึ บัญชี ค. เดบิตกําไรขาดทุน เครดิตคา่ ใชจ้ า่ ย

ค. การปดิ บญั ชี ง. เดบิตค่าใช้จ่าย เครดิตกําไรขาดทุน

ง. การทาํ งบการเงิน

3. ข้อใดคอื บัญชีกาํ ไรขาดทุน 8. บญั ชีกาํ ไรขาดทุน เรียกชอื่ อีกอย่างหนึง่ ว่า

ก. Profit Account อย่างไร

ข. Loss Account ก. กาํ ไรขาดทนุ

ค. Profit and Loss Account ข. ขาดทุนสทุ ธิ

ง. Profit sheet ค. สรปุ ผลกําไรขาดทุน

ง. สรปุ ยอดคงเหลอื

4. ขน้ั ตอนในการปิดบญั ชีมีทงั้ ส้ินก่ีขัน้ ตอน 9. ผลตา่ งดา้ นเดบิตกับเครดิต ในบัญชกี ําไรขาดทนุ

ก. 3 ขั้นตอน จะโอนปดิ อยา่ งไร ถา้ ดา้ นเครดติ สงู กวา่ เดบิต

ข. 4 ขนั้ ตอน ก. เดบิตกําไรขาดทนุ เครดติ ทุน

ค. 5 ขั้นตอน ข. เดบติ ทุน เครดิตกําไรขาดทนุ

ง. 6 ข้นั ตอน ค. เดบติ รายได้ เครดิตกําไรขาดทุน

ง. เดบติ ค่าใชจ้ ่าย เครดติ กาํ ไรขาดทนุ

5. บญั ชรี ายได้จะบันทกึ ปิดเขา้ บัญชีใด 10. ถา้ มผี ลขาดทุนสุทธิเกดิ ข้นึ จะโอนปดิ บัญชี
ก. กําไรขาดทนุ อยา่ งไร
ข. ทนุ
ค. เงนิ ถอนใชส้ ว่ นตัว ก. เดบิตทุน เครดิตขาดทุนสทุ ธิ
ง. คา่ ใช้จา่ ย ข. เดบติ ขาดทนุ สทุ ธิ เครดติ กําไรขาดทนุ
ค. เดบิตทุน เครดติ กาํ ไรขาดทนุ
ง. เดบติ ขาดทุนสุทธิ เครดิตทุน

11. ปกติบญั ชรี ายไดจ้ ะมียอดดุลทางดา้ นใด 16. ขนั้ ตอนใดในการทําบญั ชที ีส่ ําคญั มาก
ก. เดบติ ก. การวเิ คราะห์รายการ
ข. เครดิต ข. การบันทกึ รายการ
ค. ยอดเทา่ กันทั้งสองดา้ น ค. การผา่ นรายการ .
ง. ถกู ทั้งข้อ ก. และขอ้ ข. ง. การปดิ บญั ชี

12. Nominal Account คอื ขอ้ ใด 17. Jourmalizing Original Entries คือขอ้ ใด
ก. บัญชที นุ ก. การบนั ทกึ รายการลงในสมุดบัญชี
ข. บญั ชีสนิ ทรัพย์
ค. บญั ชีเจา้ หนี้ ขนั้ ตอน
ง. บญั ชถี อนใชส้ ่วนตวั ข. การปรับปรงุ บญั ชีวันสน้ิ งวด
ค. การจดั ทาํ งบการเงนิ
13. ขอ้ ใดไม่มลี กั ษณะเป็นบญั ชีทแ่ี ทจ้ รงิ ง. การจดรายละเอยี ดคา่ ใชจ้ ่าย
ก. บญั ชีรายไดบ้ ริการ
ข. บัญชีเครอ่ื งตกแต่ง 18. ในวันสนิ้ งวดรายการใดท่ีบันทึกและผ่าน
ค. บัญชีเจา้ หนี้ รายการแลว้ ยงั ไมถ่ กู ต้อง ควรจะทาอยา่ งไร
ง. บญั ชเี งินสด
ตอ่ ไป
14. งบทดลองหลงั ปิดบัญชจี ะแสดงเฉพาะ ก. บันทึกรายการใหม่
ก. สนิ ทรพั ย์ ข. เปลี่ยนแปลงชอื่ บญั ชี
ข. หนส้ี ินและทุน ค. ปรับปรงุ รายการ
ค. รายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ย ง. ผดิ ทุกข้อ
ง. ถูกทั้งขอ้ ก. และข้อ ข.
15. Accounting Cycle คือขอ้ ใด 19. ข้อใดคืองบการเงิน
ก. กระแสการเงิน
ก. การปิดบญั ชี ข. งบกําไรขาดทนุ
ข. การเปิดบัญชี ค. งบดลุ
ค. วงจรบญั ชี ง. ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.
ง. การบันทกึ บัญชี
20. การจดั ทาํ งบทดลองหลังการปดิ บญั ชี ถ้างบ
ถกู ตอ้ งจะแสดงรายการอย่างไร
ก. ยอดเดบติ มากกวา่
ข. ยอดเครดิตมากกว่า
ค. ยอดเดบติ กบั เครดิตเท่ากัน
ง. ผดิ ทุกขอ้

แผนการจดั การเรียนรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 11
รวม 8 ชั่วโมง
ช่ือหนว่ ย รายการปรบั ปรุงบญั ชี
สอนคร้งั ที่ 15-16
เรื่อง รายการปรบั ปรุงบัญชี จาํ นวน 8 ช่ัวโมง

1. สาระสาคญั

การปรับปรุงบัญชีเป็นการปรับปรุงจํานวนเงินที่บันทึกไว้ในบัญชีให้ถูกต้องก่อนการจัดทํางบการเงิน ซ่ึงต้อง
บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปท่ีเก่ียวข้อง โดยจะต้องทําในวันส้ินงวดบัญชี เน่ืองจาก
จะมีผลทําให้งบการเงินแสดงใหเ้ หน็ วา่ กิจการมีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ ณ วันสิ้นงวดจํานวนเท่าใด และทํา
ให้ทราบว่ากิจการมีผลการดําเนินงานอย่างไรบ้าง รายการปรับปรุงที่จําเป็น ได้แก่ รายได้รับล่วงหน้า รายได้ค้างรับ
ค่าใชจ้ ่ายลว่ งหน้า ค่าใช้จา่ ยคา้ งจ่าย หนี้สงสยั จะสญู วสั ดุสํานกั งาน และค่าเสอื่ มราคา

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

เขา้ ใจหลกั การปรบั ปรงุ บัญชี

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรียนร้)ู

3.1 ด้านความรู้
3.1.1 อธิบายเกณฑก์ ารบนั ทึกบัญชไี ด้
3.1.2 อธบิ ายความหมายและบอกประเภทของรายการ ปรบั ปรุงบญั ชไี ด้
3.1.3 คาํ นวณและบันทึกบัญชีรายได้รบั ลว่ งหน้าได้
3.1.4 คาํ นวณและบนั ทึกบัญชีรายไดค้ ้างรบั ได้
3.1.5 คาํ นวณและบนั ทึกบัญชีค่าใช้จา่ ยล่วงหนา้ ได้
3.1.6 คํานวณและบนั ทกึ บญั ชีค่าใชจ้ ่ายคา้ งจ่ายได้
3.1.7 คํานวณและบันทึกบัญชีหนีส้ งสัยจะสญู ได้
3.1.8 คํานวณและบันทึกบัญชวี ัสดสุ าํ นกั งานได้
3.1.9 คาํ นวณและบันทกึ บัญชคี า่ เสือ่ มราคาได้

3.2 ดา้ นทกั ษะ
3.2.1 เข้าใจหลักการปรบั ปรงุ บัญชี

3.3 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
3.3.1 นกั ศกึ ษาเห็นความสําคัญและเขา้ ใจถงึ เหตุผลของการทาํ บญั ชี
3.3.2 นักศกึ ษามคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าที่

แผนการจดั การเรยี นรู้ม่งุ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 11
รวม 8 ชัว่ โมง
ชอ่ื หนว่ ย รายการปรบั ปรุงบัญชี สอนครัง้ ที่ 15-16
จํานวน 8 ชั่วโมง
เร่อื ง รายการปรับปรงุ บัญชี
รายได้
3.4 การประยุกต์ 3D และน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คา้ งรับ
3.4.1 ผู้เรยี นมีการทําเป็นขัน้ ตอน การทาํ ตามลาํ ดบั ข้ัน
3.4.2 ผู้เรียนมีวนิ ยั มคี วามประหยดั
3.4.3 ผสู้ อนสอดแทรกปรชั ญาเกย่ี วกับความประหยดั อดออม

4. เนอ้ื หาสาระการเรียนรู้

4.1 เกณฑ์การบันทึกบญั ชี

4.2 ความหมายและประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชี
4.3 รายไดร้ บั ลว่ งหนา้
4.4 รายได้คา้ งรบั
4.5 ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า

เกณฑก์ าร ความหมายและประเภท รายไดร้ บั
บนั ทึกบญั ชี ของรายการปรับปรงุ บญั ชี ลว่ งหนา้

รายการปรบั ปรงุ บญั ชี

ค่าใชจ้ า่ ยค้างจ่าย หนส้ี งสยั จะสูญ วสั ดสุ าํ นักงาน ค่าเสอื่ มราคา

5 กิจกรรมการเรยี นการสอน

5.1 ข้นั นําเขา้ สูบ่ ทเรียน(M)
นาํ เข้าส่บู ทเรยี นโดยกลา่ วถึงการปรบั ปรงุ บญั ชี

5.2 ขน้ั การจดั เรียนร้(ู I)
5.2.1 ทําแบบประเมินผลก่อนการเรยี น
5.2.2 ผ้สู อนและผเู้ รียนร่วมกันอภิปรายเรื่องเก่ียวกับการปรับปรุงบัญชี
5.2.3 ผู้เรียนศึกษาใบความรู้

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 11
รวม 8 ช่วั โมง
ชือ่ หนว่ ย รายการปรบั ปรงุ บญั ชี
สอนครงั้ ที่ 15-16

เรื่อง รายการปรับปรงุ บัญชี จาํ นวน 8 ชั่วโมง

5.3 ขนั้ สรุป(A)
5.3.1 แบ่งกลุม่ ผู้เรียนมารายงานหน้าชั้นเรยี น

5.4 การวัดผลและประเมนิ ผล(P)
5.4.1 การสงั เกต
 ความตง้ั ใจและสนใจของผู้เรยี น
 ความร่วมมอื ในการอภิปราย
 การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตุผล
5.4.2 การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
 กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 แบบทดสอบเพือ่ ประเมนิ ผลหลังการเรียนรู้
5.4.3 การทดสอบดว้ ยวาจาและขอ้ เขยี น
 ตรวจแบบทดสอบ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60
 ต้ังคาํ ถามใหต้ อบและอธิบาย ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80

6. สอื่ การการเรียนร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้

6.1 สอ่ื สิง่ พมิ พ์
หนงั สอื เรยี นวชิ าหลักการบัญชีเบ้ืองต้น 1 : สาํ นกั พิมพ์เอมพนั ธ์
หนงั สือเรยี นวิชา การบัญชี 1 อาํ นวย ศรีสุโข บริษทั บญุ ศิริการพมิ พ์ กรุงเทพฯ 2551

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)

7.1 ใบความรู้
7.2 ใบทดสอบ
7.3 ใบส่ังงาน

8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วิชาอ่นื

8.1 วชิ าภาษาไทย เกยี่ วกับการใชภ้ าษาด้านการพดู การอ่าน และการเขียน
8.2 วิชาคณิตศาสตร์ เกย่ี วกับการคํานวณ
8.3 วชิ าภาษาองั กฤษ ดา้ นคําศพั ท์ทางบญั ชี

แผนการจัดการเรียนรูม้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 11

ชือ่ หน่วย รายการปรบั ปรุงบญั ชี รวม 8 ช่วั โมง
สอนครงั้ ท่ี 15-16

เร่อื ง รายการปรบั ปรุงบัญชี จํานวน 8 ชัว่ โมง

9. การวดั ผลและประเมินผล

9.1 วิธกี าร ดําเนนิ การวัดผลในช่วงเวลา

(1) ก่อนเรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรียน

(2) ระหวา่ งเรียน โดยการถามตอบและการสังเกตการณป์ ฏบิ ัตงิ าน

(3) หลงั เสรจ็ สน้ิ การเรียน โดยทาํ แบบทดสอบ

9.2 เกณฑก์ ารประเมนิ

(1) ผเู้ รียนมีเวลาเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

(2) ผเู้ รียนมคี ะแนนจากแบบทดสอบหลังเรยี นรอ้ ยละ 80

(3) ผู้เรียนบนั ทกึ บัญชกี ารซือ้ ขายสินคา้ สมบรู ณแ์ ละถกู ตอ้ งทกุ ครั้ง

10. บนั ทึกหลังการเรยี นรู้

10.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้

1. เนอ้ื หาสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

2. สามารถนาํ ไปใชป้ ฏิบตั กิ ารสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรยี นการสอน

3. ส่อื การสอนเหมาะสมดี

10.2 ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

1. นักศกึ ษาสว่ นใหญ่มีความสนใจใฝร่ ู้ เขา้ ใจในบทเรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย ตอบคําถาม

ในกลมุ่ และร่วมกันแสดงความคดิ เห็น

2. นักศึกษากระตอื รือรน้ และรับผดิ ชอบในการทํางานกลุ่มเพอ่ื ใหง้ านสําเร็จทันเวลา

ทกี่ ําหนด

10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้

1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลกั สตู ร

2. แผนการสอนและวิธกี ารสอนครอบคลมุ เน้อื หาการสอนทําใหผ้ ูส้ อนสอนได้อย่างม่ันใจ

3. สอนไดท้ นั ตามเวลาทีก่ าํ หนด

………………………………………………
ผบู้ นั ทกึ การสอน

เบญจมาศ อภิสทิ ธ์ิภญิ โญ หลกั การบัญชี ซีเอด็ ยเู คช่นั กรุงเทพฯ 2556
มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เอกสารการสอนชุดวชิ าการบญั ชขี ั้นตน้ สานักพมิ พ์
มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช กรงุ เทพฯ 2552
สพุ าดา สริ ิกุตตา. การบัญชี 1. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2543
อานวย ศรสี ุโข การบัญชี 1 บรษิ ทั บุญศิริการพิมพ์ กรุงเทพฯ 2551

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นท่ี 1/18 171
ช่อื วิชา : การบัญชเี บ้ืองต้น รหัสวิชา 30200 – 0001

งาน : รายการปรับปรงุ บญั ชี

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. อธบิ ายเกณฑก์ ารบนั ทกึ บัญชไี ด้
2. อธิบายความหมายและบอกประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชไี ด้
3. คํานวณและบนั ทกึ บญั ชีรายได้รับลว่ งหนา้ ได้
4. คาํ นวณและบนั ทึกบัญชรี ายไดค้ า้ งรับได้
5. คาํ นวณและบันทกึ บญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายลว่ งหนา้ ได้
6. คํานวณและบันทึกบัญชคี า่ ใชจ้ ่ายคา้ งจ่ายได้
7. คํานวณและบันทกึ บญั ชีหน้สี งสัยจะสูญได้
8. คาํ นวณและบนั ทกึ บัญชีวสั ดสุ ํานักงานได้
9. คาํ นวณและบนั ทึกบัญชคี า่ เสือ่ มราคาได้

เนอื้ หาสาระ
เกณฑก์ ารบนั ทึกบญั ชี

เกณฑ์การบันทึกบัญชี โดยการบนั ทกึ บัญชีทจ่ี ะนาํ มาใช้ในรายการปรับปรงุ นี้ ได้แก่
1) เกณฑ์เงินสด (Cash basis) คือ วิธีการบันทึกรายได้และค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับเงินสด หรือจ่ายเงินสด

ไปจริง โดยไม่คาํ นึงถงึ งวดเวลาท่ีเกี่ยวข้องของเงินที่ได้รับมาหรอื จ่ายไป
2) เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) หรือเกณฑส์ ิทธิ คือ วิธีการบัญชีท่ีใช้เป็นหลักในการพิจารณาเพ่ือบันทึก

รายได้และค่าใช้จ่ายให้อยู่ในงวดเวลาต่างๆ โดยคํานึงถึงรายได้ที่พึงรับและค่าใช้จ่ายที่พึงจ่าย เพื่อให้แสดงผลการ
ดําเนนิ งานของแตล่ ะงวดนน้ั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยไมค่ ํานึงถึงรายรบั และรายจา่ ยท่ีเป็นเงินสดว่าได้เงินมาแล้วหรือจ่ายเงิน
ไปแลว้ หรอื ไมต่ ามเกณฑ์เงินสด

การวดั ผลการดาํ เนนิ งานโดยใชเ้ กณฑ์เงินสด จะไมม่ กี ารปรับปรุงรายการในบัญชีตอนสน้ิ งวดเลย
เพราะรายได้และคา่ ใชจ้ ่ายจะยึดถอื จาํ นวนเงนิ สดที่ไดร้ ับและจ่ายไปเปน็ เกณฑ์ โดยรายไดจ้ ะถือตาม
รายการทีไ่ ดร้ บั ในงวดบัญชนี นั้ ทีไ่ ดร้ ับมาเปน็ เงนิ สดทง้ั หมด เช่นเดยี วกับค่าใชจ้ า่ ยที่ถือตามรายการทีไ่ ด้จ่าย
ไปเปน็ เงนิ สด โดยไมค่ าํ นงึ ถึงรายได้รบั ลว่ งหน้า รายไดค้ ้างรบั คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหนา้ คา่ ใช้จา่ ยคา้ งจ่าย
ตลอดจนรายการคา้ อื่นๆ ท่เี กย่ี วข้องเปน็ รายการรายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายของงวดน้ันเพยี งแต่ยงั ไมไ่ ดร้ ับหรอื
จ่ายเงินสดเทา่ น้ัน ซงึ่ ตามเกณฑเ์ งนิ สดน้จี ะใหผ้ ลกาไรขาดทนุ ท่ไี มถ่ ูกต้องตามความเปน็ จริงเหมอื นเกณฑ์
คงค้าง รายได้ตามเกณฑ์คงค้างเปน็ รายไดท้ ่ีเปน็ ผลจากการขายสินค้าหรอื บริการทไ่ี ด้ใหแ้ ก่ลกู ค้าในงวดนั้น
และคา่ ใชจ้ า่ ยกเ็ ป็นสนิ คา้ หรอื บรกิ ารท่ีไดใ้ ชป้ ระโยชน์หมดสิ้น เพือ่ กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ในงวดนนั้ ดงั นั้น กาํ ไร
ขาดทนุ ตามเกณฑ์นี้จงึ เป็นผลการดาํ เนนิ งานท่แี ท้จริงประจํางวดบัญชนี ั้น

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นท่ี 2/18 172
ช่ือวชิ า : การบญั ชเี บ้ืองตน้ รหสั วิชา 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรุงบัญชี

ด้วยเหตุนี้กิจการโดยทัว่ ไปจงึ นยิ มใช้เกณฑค์ งค้างในการวดั ผลการดาํ เนินงาน เพราะใหผ้ ลกาํ ไร
ขาดทุนท่ีใกล้เคยี งความเป็นจริงมากกวา่

การวดั ผลการดําเนนิ งานตามเกณฑค์ งค้างจะต้องทําการปรบั ปรงุ รายการ (Adjusting Entries)
ต่างๆ ในวันสน้ิ งวดบญั ชี เพอ่ื ให้ไดร้ ายได้และคา่ ใชจ้ ่ายที่ควรจะเป็นจริงอยา่ งทสี่ ดุ สาหรบั นาํ ไป
เปรียบเทียบเพ่อื หากําไรหรอื ขาดทนุ ประจํางวดตอ่ ไป การคํานวณรายได้จะต้องคาํ นึงถึงรายได้รบั ลว่ งหนา้
และรายไดค้ า้ งรบั สว่ นการคาํ นวณคา่ ใชจ้ ่ายจะต้องคํานึงถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหนา้ ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจา่ ย วัสดุ
สิ้นเปลืองใชไ้ ป ค่าเสอื่ มราคา และหนส้ี งสยั จะสูญ

กล่าวโดยสรปุ การปรบั ปรุงรายการมีสาเหตุทสี่ าํ คญั 2 ประการ คือ
1. รายการค้าทเี่ กดิ ขึน้ และไดจ้ ดบันทึกในบญั ชีระหว่างงวดแล้ว แต่รายการเหลา่ นนั้ ยังมีประโยชน์
ทางเศรษฐกิจในงวดตอ่ ไป
2. รายการคา้ ทเี่ กดิ ขนึ้ แล้ว แต่กจิ การยังไม่ได้บนั ทึกรายการในบัญชีเลย
วธิ ีการปรับปรงุ บัญชี

วิธกี ารพิจารณารายการทต่ี ้องปรบั ปรุงตอนสนิ้ งวด จึงแยกเปน็ 2 กลุ่ม และมีวธิ ีการปรบั ปรุงบัญชี ดงั น้ีคอื
กลมุ่ ท่ี 1 การปรับปรงุ รายการทไ่ี ด้บนั ทึกไว้ในบัญชเี รียบร้อยแลว้ ในระหว่างงวด มวี ธิ ีปรับปรุง ดงั น้ี

1.1 ปรบั ปรุงโดยการเปลีย่ นแปลงรายการจากบญั ชปี ระเภทสินทรพั ยเ์ ป็นบัญชีประเภทคา่ ใช้จา่ ย
หมายถึง รายการท่บี ันทึกไว้ในบัญชีสนิ ทรพั ย์ ณ วันเกิดรายการ และหลังจากนั้นสนิ ทรัพยเ์ หลา่ นน้ั บางส่วนได้ถกู นําไปใช้
ประโยชนใ์ นการดําเนนิ งาน เมือ่ ถึงวนั ส้นิ งวดจงึ ตอ้ งทําการปรบั ปรงุ รายการให้ถูกตอ้ งเท่าจํานวนท่ีคาดว่าจะได้รับคืน โดย
การโอนจํานวนสินทรพั ย์สว่ นทไี่ ด้ใหป้ ระโยชนแ์ ลว้ เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยประจาํ งวดนน้ั ไดแ้ ก่ รายการค่าใช้จา่ ยล่วงหน้า คา่ เสอื่ ม
ราคาสนิ ทรพั ย์ วัสดุสนิ้ เปลืองใชไ้ ป และหนีส้ งสัยจะสูญ

1.2 ปรบั ปรงุ โดยการเปลย่ี นแปลงรายการจากบัญชปี ระเภทหนส้ี นิ เปน็ บัญชปี ระเภทรายได้
หมายถึง รายการทบ่ี ันทึกไวเ้ ป็นบัญชหี น้ีสนิ ณ วันเกิดรายการ และหลังจากน้ันกิจการได้ให้บรกิ ารแก่ลกู ค้าบางสว่ นหรือ
ทัง้ หมด เมือ่ ถึงวันสิน้ งวดจงึ ต้องทาํ การปรับปรุงโดยการโอนหน้สี ินสว่ นทีไ่ ด้ให้บริการแลว้ เปน็ รายไดป้ ระจํางวด ไดแ้ ก่
รายการประเภทรายได้รับล่วงหน้า เช่น คา่ เชา่ รับล่วงหนา้ เมือ่ ถงึ วนั สนิ้ งวดต้องโอนค่าเชา่ รบั ลว่ งหน้าสว่ นทใ่ี ห้บรกิ ารแลว้
เป็นรายได้ค่าเช่า เป็นตน้

กลมุ่ ท่ี 2 การปรบั ปรุงรายการที่ยงั มไิ ด้เคยบันทึกไว้ในบัญชรี ะหว่างงวดเลย แตร่ ายการเหล่านน้ั ไดเ้ กดิ ขึน้ แล้ว
จึงตอ้ งปรับปรุงโดยสรา้ งรายการข้ึน ณ วันส้นิ งวด ซึ่งมวี ิธปี รับปรงุ ดงั น้ี

2.1 ปรบั ปรงุ โดยตั้งรายการรายได้คา้ งรบั เปน็ รายไดป้ ระจางวด หมายถึง รายการทก่ี ิจการได้
ให้บรกิ ารแลว้ แต่ยงั ไมป่ รากฏรายการรายได้ในบัญชี เชน่ ดอกเบ้ียค้างรับ ค่าบริการคา้ งรับ เป็นต้น

2.2 ปรับปรุงโดยตัง้ รายการค่าใช้จ่ายค้างจา่ ยเปน็ ค่าใชจ้ ่ายประจางวด หมายถงึ รายการทก่ี ิจการ
ไดร้ บั บรกิ ารแล้วแตย่ งั ไม่ได้ตั้งเป็นคา่ ใชจ้ ่ายประจางวด เช่น ค่านา้ ค่าไฟ คา่ โทรศพั ท์ ซงึ่ โดยปกตจิ ะชาระเงินในเดือน
ถัดไป เปน็ ต้น

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 3/18 173
ชอ่ื วชิ า : การบัญชีเบื้องตน้ รหสั วิชา 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรุงบัญชี

ประเภทของรายการท่ีต้องปรบั ปรงุ

การบนั ทึกรายการปรบั ปรงุ บญั ชตี อนสิน้ งวดเพ่ือแกไ้ ขปรับปรงุ รายได้และค่าใช้จา่ ยของกิจการให้มีความถูกต้อง
ตามเกณฑค์ งค้าง ซงึ่ การปรบั ปรงุ รายการนีน้ อกจากจะทําใหก้ จิ การมรี ายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ยทถี่ กู ต้องเพอื่ ไปจัดทาํ งบกําไร
ขาดทนุ แลว้ ยังจะส่งผลตอ่ ความถูกตอ้ งของรายการสินทรัพย์และหน้สี นิ ของกิจการในงบดุลด้วย ดังนั้นรายการบัญชีที่
ต้องปรับปรงุ จึงจาํ แนกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี

1. การปรบั ปรงุ บญั ชีประเภทรายได้ ไดแ้ ก่
1.1 รายไดร้ ับลว่ งหน้า (Unearned/Deferred Revenue) หมายถึง รายไดท้ ีก่ ิจการไดร้ บั ไมว่ ่าจะเป็นเงินสด

หรือเงินฝากธนาคารหรือเงินมดั จําค่าบริการ โดยทจี่ ํานวนเงนิ ทไี่ ดร้ ับนั้น มีภาระผูกพนั กับกจิ การทีจ่ ะต้องใหบ้ รกิ ารหรือ
ผลประโยชนก์ ับบคุ คลอนื่ ในงวดบัญชถี ดั ไป ในสว่ นทเี่ ป็นภาระผูกพนั กับกจิ การในงวดบญั ชตี า่ ง ๆ ไปนั้น กค็ อื รายได้ที่
กิจการได้รับล่วงหน้า ดงั น้นั รายไดร้ ับล่วงหน้า จงึ จัดเปน็ หนี้สินหมุนเวยี นชนดิ หนงึ่ ของกิจการ เชน่ คา่ เชา่ รบั ลว่ งหนา้
ค่านายหน้ารับลว่ งหนา้ รายได้คา่ ธรรมเนียมทนายความรบั ลว่ งหนา้ เป็นต้น

1.2 รายไดค้ า้ งรับ (Accrued Revenue) หมายถึง รายได้ท่เี กดิ ขนึ้ แล้วในรอบระยะเวลาบัญชปี ีปัจจบุ ัน แต่
กิจการยังไม่ไดร้ บั เงนิ จึงยงั ไม่ได้บันทกึ บญั ชี ดงั นนั้ ในวนั สน้ิ งวดกิจการจะต้องบนั ทกึ รายการปรับปรุงเพอื่ บนั ทกึ รายได้ที่
เกิดขึน้ ในงวดนน้ั ใหค้ รบถว้ น และต้งั รายได้ท่ียงั ไมไ่ ด้รบั เปน็ สนิ ทรัพย์ เรยี กวา่ รายได้ค้างรบั

2. การปรบั ปรงุ บญั ชปี ระเภทค่าใช้จ่าย ได้แก่
2.1 คา่ ใช้จ่ายลว่ งหนา้ (Prepaid Expense) หมายถึง คา่ ใชจ้ า่ ยที่กจิ การจ่ายเงนิ ไปแลว้ และบันทึกบญั ชใี น

รอบระยะเวลาบัญชปี ปี จั จบุ นั แตก่ ิจการจะได้รบั ประโยชนห์ รอื บรกิ ารจากการจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีหน้าหรืออาจจะ
มีบางสว่ นไดร้ ับประโยชน์หรือบริการในปที ่ีจ่ายเงนิ

2.2 ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจ่าย (Accrued Expense) หมายถึง ค่าสง่ิ ของหรอื คา่ บรกิ ารทก่ี ิจการไดใ้ ชป้ ระโยชน์
ไปแลว้ ในงวดปัจจุบันแตย่ งั ไมไ่ ด้จ่ายเงนิ และยังไมไ่ ด้บันทึกบัญชไี วจ้ งึ ต้องบนั ทกึ รายการปรับปรุงเพอ่ื บันทึกคา่ ใช้จา่ ย
ทีเ่ กิดขึน้ แล้วให้ครบถว้ นของรอบระยะเวลาบญั ชีนัน้ และตั้งคา่ ใชจ้ ่ายเงินเปน็ หน้สี ิน เรียกวา่ “คา่ ใช้จ่ายค้างจ่าย”

2.3 วสั ดสุ ้ินเปลืองใชไ้ ป (Supplies Used Expense) วสั ดุสน้ิ เปลอื งจะมลี ักษณะเปน็ สินทรพั ยห์ มนุ เวียน
เป็นสินทรัพย์ท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไป เช่น กระดาษ ดนิ สอ หมกึ เปน็ ตน้ ส่วนของวสั ดทุ ่ีถกู ใช้แล้วหมดไปก็จะเปลีย่ นสภาพ
เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยเรียกวา่ วสั ดุส้นิ เปลอื งใชไ้ ป การปรบั ปรงุ วัสดสุ น้ิ เปลืองใชไ้ ปจะเกยี่ วขอ้ งกบั บัญชีประเภทสนิ ทรัพยแ์ ละ
ค่าใชจ้ า่ ย

3. การปรบั ปรุงบญั ชปี ระเภทปรับมูลคา่ สนิ ทรัพย์ เป็นการปรับปรุงค่าใชจ้ า่ ยท่ีเกดิ จากการประมาณการไดแ้ ก่
3.1 ค่าเส่ือมราคา (Depreciation) เปน็ วิธีการบัญชีทใ่ี ชใ้ นการปันสว่ นมลู ค่าของสินทรัพยถ์ าวรท่ีมีตวั ตน

ไปเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในงวดบัญชีต่าง ๆ หรอื เป็นมูลค่าของสินทรัพยถ์ าวรท่ีมตี ัวตนที่ตดั เป็นค่าใช้จา่ ยในงวดบญั ชตี ่าง ๆ ตาม
หลักการบัญชี

3.2 หนส้ี งสัยจะสูญ (Doubtful Account) เป็นการประมาณลกู หน้ที ี่คาดว่าจะเกบ็ เงนิ ไมไ่ ด้ เพอื่ ตง้ั เปน็
คา่ ใชจ้ า่ ย การปรบั ปรุงรายการน้ีเกยี่ วขอ้ งกบั สินทรพั ย์และคา่ ใชจ้ ่าย

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 4/18 174
ชือ่ วิชา : การบญั ชีเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรงุ บญั ชี

รายการปรับปรงุ ประเภทบัญชีทปี่ รับปรุง ตัวอย่างบญั ชที เี่ กีย่ วข้องในงบการเงิน

งบกาํ ไรขาดทนุ งบดุล

1. รายไดร้ ับล่วงหนา้ หน้ีสนิ /รายได้ ค่าเชา่ รับดอกเบีย้ รบั ค่าเช่ารับล่วงหน้า

ดอกเบยี้ รับล่วงหนา้

2. รายได้คา้ งรับ สนิ ทรพั ย์/รายได้ ค่าเชา่ รับ ค่าเช่าคา้ งรับ

ดอกเบย้ี รบั ดอกเบ้ียค้างรบั

3. คา่ ใช้จา่ ยลว่ งหนา้ สนิ ทรัพย์/ค่าใช้จา่ ย คา่ เช่าจา่ ย ค่าเชา่ จา่ ยลว่ งหนา้

ค่าเบ้ียประกันจา่ ย ค่าเบย้ี ประกนั จา่ ยล่วงหน้า

4. คา่ ใช้จ่ายคา้ งจ่าย หนส้ี ิน/ค่าใช้จ่าย คา่ สาธารณปู โภค ค่าสาธารณปู โภคคา้ งจ่าย

ค่านายหน้า ค่านายหน้าคา้ งจา่ ย

5. วัสดสุ ิ้นเปลือง สนิ ทรัพย์/คา่ ใช้จ่าย วัสดสุ นิ้ เปลอื งใชไ้ ป วสั ดุส้นิ เปลือง

6. ค่าเส่ือมราคา สินทรพั ย์/ค่าใช้จา่ ย ค่าเสื่อมราคา คา่ เสื่อมราคาสะสม

7. หนส้ี งสยั จะสูญ สนิ ทรัพย์/คา่ ใชจ้ า่ ย หนส้ี งสัยจะสญู คา่ เผ่ือหนสี้ งสัยจะสญู

ขั้นตอนการปรับปรงุ รายการบัญชีในวนั สนิ้ งวด

ในวันสิ้นงวด กจิ การจะทาํ การวิเคราะห์รายการคา้ ตา่ งๆ ทจี่ ะต้องปรับปรุง เพื่อให้เปน็ ไปตามเกณฑค์ งคา้ ง

หลังจากน้นั จะทาํ การปรบั ปรงุ รายการตามข้นั ตอนดังนี้

1. ทําการบนั ทึกรายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวันทว่ั ไป

2. ผ่านรายการปรับปรงุ ท่ีบนั ทกึ ในสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบญั ชปี ระเภททเี่ ก่ยี วขอ้ ง เมอ่ื ผา่ นรายการแล้ว

ให้หายอดคงเหลือของบัญชตี า่ งๆ ในสมุดบญั ชีแยกประเภท เพื่อนาํ ยอดคงเหลอื นนั้ ไปทางบทดลองทเี่ รยี กวา่ “งบทดลอง

หลังปรบั ปรงุ ”

การปรับปรุงบญั ชปี ระเภทรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่าย

การปรับปรุงรายไดร้ ับล่วงหน้า

รายได้รับลว่ งหน้า (Unearned Revenue) หมายถงึ รายได้ทก่ี ิจการไดร้ บั จากลูกค้าล่วงหน้า โดยท่ียงั ไมไ่ ด้

สง่ มอบสนิ ค้าหรอื ใหบ้ ริการแก่ลูกค้า ซ่ึงกิจการมภี าระต้องใหบ้ ริการในอนาคต ดงั นัน้ จํานวนเงินทไี่ ด้รับมาจึงไม่ถอื ว่า

เปน็ รายไดข้ องกิจการแตจ่ ะถอื เป็นหน้สี ินหมนุ เวียน เม่ือกจิ การได้ให้บริการเสรจ็ เรียบรอ้ ยเป็นบางส่วนหรอื ทั้งหมดแล้ว

จึงจะเปลย่ี นจากหน้สี ินเปน็ รายไดต้ ามส่วนทีใ่ หบ้ ริการแก่ลกู คา้ แลว้ บริการทไี่ ด้ให้แก่ลกู คา้ ในงวดนั้นจะถือว่ารายได้

เกดิ ข้นึ ในงวดนนั้ สว่ นจํานวนเงนิ ทก่ี จิ การได้รบั ไวแ้ ตย่ ังไม่ไดใ้ หบ้ ริการในงวดนั้นจึงยงั มสี ภาพเป็นหน้ีสนิ ยกไปงวดหนา้

ตัวอย่างรายได้รับล่วงหน้า เชน่ คา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ เปน็ ตน้ วธิ กี ารบันทึกบญั ชรี ายได้รบั ลว่ งหน้ามี 2 วธิ ี คือ

วธิ ที ่ี 1 บนั ทกึ เปน็ บัญชหี นี้สิน เมอ่ื มีรายการเกิดขน้ึ จะบันทึกในบัญชรี ายไดร้ ับลว่ งหนา้ เมือ่ สน้ิ งวดจึงจะโอน

ส่วนทไี่ ด้ให้บริการแลว้ ไปเปน็ บญั ชีรายได้ สว่ นทีเ่ หลอื ซ่งึ ยังไมไ่ ด้รับใหบ้ รกิ ารก็ยงั คงเปน็ หน้ีสนิ ซ่งึ แสดงในบัญชีรายได้รบั

ล่วงหน้า รอไปปรับปรงุ ในงวดทีจ่ ะให้บรกิ ารตอ่ ไป

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 5/18 175
ชื่อวิชา : การบญั ชเี บ้อื งตน้ รหสั วชิ า 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรงุ บัญชี

วธิ ที ่ี 2 บนั ทึกเปน็ บัญชีรายได้ จานวนเงินทไี่ ดร้ ับมาจะถูกบนั ทึกเปน็ รายไดท้ ้งั หมดทนั ที เม่ือสิน้ งวดจงึ โอนส่วนท่ี
เปน็ รายได้ของงวดตอ่ ไปซึง่ กจิ การยังไม่ได้ใหบ้ รกิ ารไปเปดิ บัญชีเป็นรายได้รบั ล่วงหนา้ ซึ่งเป็นบญั ชีหนส้ี นิ
วธิ กี ารปรับปรงุ รายไดร้ บั ลว่ งหนา้ ตอนส้นิ งวดจึงข้ึนอย่กู บั วิธกี ารบันทึกบัญชี ณ วนั ท่ีเกิดรายการนน้ั วา่ บนั ทึกเป็นหน้ีสนิ
หรอื เปน็ รายได้

ตวั อยา่ งที่ 1 เม่อื วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2552 หอพักสบายใจไดร้ ับคา่ เช่าหอพักล่วงหน้า จํานวนเงนิ 6,000 บาท
จากนางสาวดลฤดี สัญญาเชา่ 1 ปี การปรบั ปรุงรายการเมือ่ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2552 ซ่ึงเป็นวนั สน้ิ งวดจะเปน็ ดงั นี้

วธิ ที ่ี 1 เมื่อกจิ การได้รายได้รับลว่ งหนา้ มาได้บนั ทึกไว้ในบัญชีคา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ ซึ่งเป็นบัญชปี ระเภทหนส้ี ิน

สมดุ รายวนั ท่ัวไป หนา้ 1

พ.ศ. 2552 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดือน วนั ท่ี
บัญชี บาท สต. บาท สต.

พ.ค. 1 เงินสด 101 6,000 –
คา่ เช่ารับลว่ งหน้า 201 6,000 –

รบั ค่าเช่าล่วงหนา้ สาหรบั 1 ปี เร่ิม

1 พฤษภาคม 2552

ถา้ กิจการปิดบญั ชวี นั ที่ 31 ธันวาคม 2552 จาํ นวนเงินคา่ เชา่ 6,000 บาท จะเปน็ รายไดต้ ่อเนอ่ื งคาบเกีย่ วไปถึงปี
ตอ่ ไป ดังน้ี

รายได้ของปี 2552 ต้งั แต่ 1 พ.ค. – 31 ธ.ค. 2552 เป็นเงนิ = 4,000 บาท

รายได้ของปี 2553 ตง้ั แต่ 1 ม.ค. – 31 เม.ย. 2553 เปน็ เงิน = 2,000 บาท

ดว้ ยเหตุนจี้ งึ ต้องปรบั ปรงุ รายการในวนั สน้ิ งวด เพื่อแสดงวา่ กิจการมีรายไดป้ ระจางวดปี 2552 เกิดข้นึ เป็น

จํานวน 4,000 บาท และลดคา่ เชา่ รับลว่ งหนา้ ใหเ้ หลอื 2,000 บาท ดังน้ี

สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา้ 2

พ.ศ. 2552 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั ที่
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 คา่ เชา่ รับลว่ งหน้า 201 4,000 –

คา่ เช่ารับ 401 4,000 –
ปรบั ปรุงค่าเชา่ รบั ล่วงหน้าสว่ นหนงึ่
ซง่ึ เปน็ รายได้ของปี 2552

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 6/18 176
ชอ่ื วิชา : การบญั ชีเบื้องตน้ รหัสวชิ า 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรุงบญั ชี

บัญชีคา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ หนา้ 201

พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เครดิต
เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต. เดอื น วนั ที่ บัญชี บาท สต.

ธ.ค. 31 คา่ เชา่ รบั ร.ว.2 4,000 – พ.ค. 1 เงนิ สด รว.1 6,000 –

บัญชีค่าเชา่ รบั หน้า 401

พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ.2552 รายการ หน้า เครดิต
เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. เดอื น วนั ท่ี บัญชี บาท สต.

ธ.ค. 1 คา่ เชา่ รับล่วงหนา้ รว.2 4,000 –

วธิ ที ่ี 2 เมอ่ื ไดร้ ับรายไดร้ บั ล่วงหนา้ มาไดบ้ นั ทกึ ไวใ้ นบัญชคี า่ เชา่ รบั ซงึ่ เป็นบัญชปี ระเภทรายได้

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2552 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วันท่ี
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 เงินสด 201 6,000 –

คา่ เชา่ รบั 401 6,000 –

รบั คา่ เชา่ สําหรับ 1 ปี เร่ิม 1 พ.ค. 2552

ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2552 กจิ การมรี ายไดค้ า่ เช่าที่เกดิ ขึ้นจรงิ ระหว่าง 1 พฤษภาคมถงึ 31 ธนั วาคม 2552
เป็นเงิน 4,000 บาทเท่านน้ั ส่วนท่ีเหลอื เปน็ การรับล่วงหนา้ สาหรับปีตอ่ ไป จึงตอ้ งปรับปรงุ บญั ชคี ่าเชา่ รับใหม้ ียอดท่ี

ถกู ตอ้ ง ดังนี้

สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 2

พ.ศ. 2552 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั ที่
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 ค่าเชา่ รบั 401 2,000 –
ค่าเชา่ รับลว่ งหนา้ 201 2,000 –

ปรบั ปรุงค่าเช่ารบั บางส่วนของปี 2552
ใหเ้ ป็นคา่ เชา่ รบั ลว่ งหนา้

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 7/18 177
ชื่อวชิ า : การบัญชีเบ้ืองตน้ รหสั วิชา 30200 – 0001
เลขท่ี 401
งาน : รายการปรับปรงุ บญั ชี หนา้ เครดิต
บัญชี บาท สต.
บญั ชีคา่ เช่ารับ รว.1 6,000 –

พ.ศ.2552 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ.2552 รายการ เลขที่ 201
เดอื น วันที่ บัญชี บาท สต. เดอื น วนั ท่ี หน้า เครดติ
บญั ชี บาท สต.
ธ.ค. 31 คา่ เชา่ รบั ลว่ งหน้า รว.2 2,000 – พ.ค. 1 เงนิ สด รว.2 2,000 –

บัญชีคา่ เช่ารับล่วงหนา้

พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ.2552 รายการ
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. เดอื น วันที่

ธ.ค. 31 คา่ เช่ารับ

จากตัวอย่างขา้ งต้นจะเหน็ ว่าไมว่ า่ กิจการจะบนั ทึกรายการคา่ เชา่ รบั ลว่ งหนา้ ดว้ ยวธิ ีใดกต็ าม การปรับปรงุ
รายการในวนั สิน้ งวดโดยการโอนสว่ นของคา่ เช่ารบั ลว่ งหน้าไปเป็นรายไดป้ ระจํางวดตามวธิ ที ี่ 1 หรือการโอนสว่ นของค่า
เช่ารบั บางส่วนไปเปน็ ค่าเช่ารบั ลว่ งหนา้ ตามวธิ ที ่ี 2 จะปรากฏผลลพั ธ์เทา่ กนั ทัง้ 2 วธิ ี โดยในที่สดุ บัญชีค่าเช่ารับจะแสดง
ยอดรายได้ประจํางวด 4,000 บาท และบญั ชคี ่าเชา่ รับล่วงหนา้ จะแสดงยอด 2,000 บาท เหมือนกัน บัญชีคา่ เชา่ รบั เปน็
บญั ชีประเภทรายได้จะปรากฏอยู่ในงบกาํ ไรขาดทนุ สว่ นบญั ชีค่าเชา่ รบั ลว่ งหนา้ เป็นบัญชปี ระเภทหนสี้ ินจะปรากฏอย่ใู น
งบดุล
การปรับปรงุ รายไดค้ ้างรบั

รายได้ค้างรับ (Accrued Revenue) หมายถงึ รายได้ท่เี กิดข้ึนแลว้ ในงวดปัจจุบัน แต่กจิ การยังไมไ่ ด้รับชาํ ระ
เงินสดจนกวา่ จะถงึ งวดบญั ชีต่อไปและไม่มีการบันทกึ รายการเลยในระหวา่ งงวดทเ่ี กิดรายได้ ไดแ้ ก่ รายไดบ้ างชนิด
ทก่ี จิ การจะไดร้ บั ตดิ ตอ่ กันสมํา่ เสมอ เชน่ ดอกเบี้ยทีไ่ ดร้ บั จากการใหก้ ยู้ มื ผลตอบแทนเงินลงทนุ ในรปู ของเงินปันผล
ดอกเบ้ยี พนั ธบตั รรฐั บาล เปน็ รายได้ท่เี กิดข้ึนตามระยะเวลาทีใ่ หก้ ู้หรอื ลงทุน กิจการจะได้รบั เม่อื ถงึ วนั ทีก่ ําหนดไว้ ซงึ่
อาจจะไม่ตรงกับวันท่ีกจิ การปดิ บัญชีหาผลการดําเนินงาน ดังนัน้ เพอื่ ให้การเปรยี บเทียบรายได้และค่าใชจ้ ่ายใกล้เคียง
ความจริง จึงตอ้ งทาํ การปรบั ปรงุ รายการโดยต้ังเป็นรายได้ค้างรบั ไว้ ซึง่ สามารถแยกพจิ ารณาได้ 2 กรณี ดงั น้ี

1. ถา้ เปน็ รายไดท้ เ่ี กิดจากการดาํ เนินงานตามปกติของกิจการ รายไดท้ ่คี วรจะไดใ้ นงวดบัญชนี นั้ แต่ยงั ไมไ่ ด้
รบั ให้ตั้งเปน็ บัญชีลกู หนี้การค้า

2. ถ้าเป็นรายไดอ้ ืน่ ๆ ค้างรับ ซ่งึ ไม่ได้เกิดขึน้ ตามการคา้ ปกติของกจิ การใหต้ ้งั บัญชีรายได้ชนิดนั้นเปน็ รายได้
คา้ งรับ ซึง่ จดั เป็นสินทรัพย์เชน่ เดียวกบั ลูกหนี้การค้า

[NEW] การบัญชีเบื้องต้น (รวม)-Flip eBook Pages 251 – 300 | งบ กํา ไร ขาดทุน แบบ รายงาน – NATAVIGUIDES

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
ชื่อวชิ า : การบัญชีเบอ้ื งตน้ รหัสวชิ า 30200-0001งาน แผ่นท่ี 1/16 148
: งบการเงนิ

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของงบการเงนิ ได้
2. บอกจุดมงุ่ หมายของงบการเงนิ ได้
3. อธิบายงบการเงินฉบบั สมบรู ณ์ได้
4. อธิบายการกาํ หนดรายการย่อที่ตอ้ งมใี นงบการเงินได้
5. จดั ทํางบกาํ ไรขาดทนุ ได้
6. จัดทาํ งบแสดงฐานะการเงนิ ได้

เนือ้ หาสาระ

1. ความหมายของงบการเงิน (Financial Statement)

หมายถึง รายงานท่ีแสดงขอ้ มลู อนั เป็นผลจากการประกอบธรุ กจิ ของกจิ การซ่งึ ประกอบด้วยงบดุล งบกาํ ไร
ขาดทุน งบแสดงการเปลย่ี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ งบกระแสเงนิ สด หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน งบยอ่ ย และ
คาํ อธิบายอนื่ ซ่งึ ระบวุ า่ เป็นสว่ นหนึง่ ของงบการเงิน

การจดั ทํางบการเงนิ ปกติจะจัดทาํ ในวนั สน้ิ งวดบญั ชี (Accounting Period) ตามประกาศสภาวชิ าชพี บญั ชี ที่
14/2560 เรอ่ื ง มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ท่ี 1(ปรบั ปรงุ 2560) เรอ่ื งการนาํ เสนองบการเงิน

คาํ นยิ ามที่ใช้ในมาตรฐานการบญั ชฉี บบั นมี้ คี วามหมายโดยเฉพาะ ดังนี้
งบการเงนิ ทีจ่ ัดทาข้นึ เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป (ในทนี่ หี้ มายถงึ งบการเงิน) หมายถึง งบการเงนิ ท่จี ดั ทําขึน้ เพ่ือ
สนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ บการเงินซงึ่ ไมอ่ ยใู่ นฐานะทจี่ ะเรยี กร้องใหก้ จิ การจดั ทารายงานท่ีมีการดัดแปลงตามความ
ตอ้ งการข้อมลู ท่ีเฉพาะเจาะจง
2. จดุ ม่งุ หมายของงบการเงิน
งบการเงนิ เป็นการนาํ เสนอฐานะการเงินและผลการดําเนนิ งานทางการเงินของกจิ การอย่างมแี บบแผน
โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาํ เนินงานและกระแสเงินสดของกิจการ ซ่ึงเป็นประโยชน์
ตอ่ การตัดสนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ กลมุ่ ตา่ งๆ นอกจากนง้ี บการเงินยังแสดงถงึ ผลการบริหารงานของฝ่าย
บรหิ ารซึง่ ได้ รับมอบหมายให้ดูแลทรัพยากรของกจิ การ เพอื่ ทีจ่ ะบรรลวุ ตั ถุประสงคด์ ังกลา่ ว งบการเงินให้ข้อมูลทกุ ข้อ
ดงั ตอ่ ไปน้ีเกย่ี วกับกิจการ
2.1 สนิ ทรพั ย์
2.2 หน้สี ิน
2.3 ส่วนของเจา้ ของ
2.4 รายได้และค่าใช้จ่าย รวมถงึ ผลกําไรและขาดทุน
2.5 เงนิ ทนุ ทีไ่ ด้รบั จากผูเ้ ป็นเจา้ ของและการจัดสรรสว่ นทุนให้ผู้เป็นเจา้ ของในฐานะที่เป็นเจ้าของ และ
2.6 กระแสเงนิ สด
ข้อมลู เหลา่ นแ้ี ละขอ้ มูลอนื่ ทีเ่ ปิดเผยในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ชว่ ยผู้ใชง้ บการเงิน ในการคาดการณ์
เกยี่ วกับจังหวะเวลาและความแนน่ อนที่กิจการจะกอ่ ให้เกิดกระแสเงนิ สดในอนาคตของกจิ การ

สาขาวิชา : การบญั ชี รหัสวิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ท่ี 2/16 149
ช่ือวชิ า : การบญั ชีเบอื้ งตน้

: งบการเงิน

3. งบการเงินฉบบั สมบรู ณ์ (The complete financial statement)
งบการเงนิ ฉบบั สมบูรณป์ ระกอบด้วย
3.1 งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันส้นิ งวด (Statement of the financial position)
3.2 งบกําไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ อื่นสาํ หรับงวด (Statement of comprehensive income)
3.3 งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสว่ นของเจ้าของสําหรบั งวด (Statement of changes in shareholders’ equity)
3.4 งบกระแสเงนิ สดสําหรบั งวด (Cash flow statement)
3.5 หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to financial statement) ซึ่งประกอบด้วยนโยบายการบัญชี

ทีส่ าํ คัญและข้อมูลทใ่ี หค้ ําอธบิ ายอ่ืน
3.5.1 ข้อมูลเปรียบเทียบของงวดกอ่ นตามที่ระบไุ วใ้ นย่อหนา้ ท่ี 38 และ 38ก และ

3.6 งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ตน้ งวดของงวดก่อน เม่ือกจิ การได้นํานโยบายการบญั ชีใหม่ มาถือปฏิบตั ิ
ย้อนหลัง หรอื การปรับยอ้ นหลงั รายการในงบการเงนิ หรือเมื่อกิจการมีการจดั ประเภทรายการใหม่ในงบการเงินตามยอ่
หน้าที่ 40ก ถงึ 40ง

กิจการอาจจะใชช้ ือ่ อื่นสําหรบั งบการเงนิ นอกเหนือจากท่ีระบุในมาตรฐานการบัญชฉี บับนี้ ตัวอย่างเชน่ กจิ การ
อาจจะใชช้ ือ่ “งบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ ” แทน “งบกาํ ไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อื่น”

กจิ การอาจแสดงงบเดยี วทร่ี วมงบกาํ ไรขาดทุนและกาํ ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อ่ืน หรอื แสดงกําไรหรอื ขาดทุนและ
กําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อ่ืนแยกออกเปน็ สองสว่ น โดยตอ้ งนําเสนอส่วนของกําไรหรอื ขาดทนุ ก่อนและตามดว้ ยส่วนของกําไร
ขาดทุนเบ็ดเสร็จอนื่ กิจการอาจแสดงสว่ นของกําไรหรือขาดทุนไวใ้ นงบกาํ ไรขาดทุนท่แี สดงแยกต่างหาก โดยหากเป็น
เชน่ นนั้ งบกําไรขาดทนุ ท่แี สดงแยกตา่ งหากตอ้ งแสดงทนั ทกี อ่ นงบท่ีนาํ เสนอกําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ ซ่ึงต้องตง้ั ต้นด้วยกําไร
หรอื ขาดทุน

หมายเหตุ
1. งบการเงินที่นามาศึกษาในหน่วยการเรียนนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจการเจ้าของคนเดียว ประเภทธุรกิจบริการ
เท่านนั้ แบ่งออกเปน็ งบกาไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ
2. กรมพัฒนาธรุ กิจการค้า ไม่ได้กาหนดรายการย่อทตี่ ้องมีในงบการเงินสาหรบั กจิ การเจา้ ของ คนเดยี ว ดังน้นั
จงึ นางบการเงนิ ของหา้ งหุ้นส่วนจดทะเบยี น (ตามแบบที่ 1) มาประยกุ ต์ใช้กบั หน่วยการเรยี นนี้ เพ่ือใหส้ ามารถเรียนรู้และ
ฝกึ ทกั ษะการจัดทางบการเงินสาหรับกิจการเจา้ ของคนเดียวประเภทการให้บริการได้

สาขาวชิ า : การบัญชี รหัสวิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นที่ 3/16 150
ชือ่ วิชา : การบญั ชีเบือ้ งตน้

: งบการเงนิ

กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้ากาํ หนดใหง้ บการเงินของผู้มีหน้าที่จัดทาํ บัญชีตอ้ งมีรายการยอ่ ดงั นี้
 หา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบียน ตอ้ งมรี ายการย่อตามแบบ 1
 บริษัทจํากดั ต้องมีรายการย่อตามแบบ 2
 บรษิ ทั มหาชนจํากัด ตอ้ งมรี ายการย่อตามแบบ 3
 นิตบิ คุ คลทต่ี งั้ ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามแบบ 4
 กจิ การร่วมคา้ ตามประมวลรัษฎากร ต้องมรี ายการยอ่ ตามแบบ 5
เพอื่ ให้ผู้มหี น้าทจ่ี ัดทําบัญชเี ขา้ ใจถงึ แนวคิดในการกําหนดรปู แบบและความหมายของรายการย่อที่ต้องมีใน

งบการเงิน รวมทงั้ เพือ่ ใหก้ ารจัดทาํ งบการเงินมีมาตรฐานเดยี วกนั กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้าจึงขอช้ีแจงดังน้ี
1) การกาหนดความหมายและรปู แบบของรายการยอ่ ทีต่ ้องมใี นงบการเงิน

1.1 ความหมายของศัพท์ที่มีความหมายเฉพาะ กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-

Publicly Accountable Entities: NPAEs) หมายถงึ กจิ การที่ไมเ่ ขา้ ลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหน้ีของกิจการ ซึ่งมีการซอื้ ขายต่อประชาชน ไม่ว่าจะเป็น

ตลาดหลักทรพั ยใ์ นประเทศหรอื ตา่ งประเทศ หรอื การซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter) รวมทั้งตลาดใน

ท้องถิ่นและในภูมิภาค หรือกิจการท่ีนําส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนําส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สํานักงาน
คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือหน่วยงานกํากับดูแลอื่น เพ่ือวัตถุประสงค์ในการออกขาย

หลกั ทรัพยใ์ ดๆ ตอ่ ประชาชน

(2) กิจการที่ดําเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น
สถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์กองทุนรวม ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่ง

ประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการน้นั เป็นต้น

(3) บรษิ ทั มหาชนจํากดั ตามกฎหมายวา่ ด้วยบริษัทมหาชนจํากัด
(4) กจิ การอน่ื ที่สภาวิชาชีพบญั ชีจะกาํ หนดเพม่ิ เตมิ

1.2 การกําหนดรปู แบบรายการยอ่ ทต่ี ้องมีในงบการเงิน

(1) รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของบริษัทมหาชนจํากัด (แบบ 3) กําหนดข้ึนโดย
อ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกําหนดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ระหวา่ งประเทศ (International Financial Report Standard: IFRS)

(2) รูปแบบรายการย่อท่ีต้องมีในงบการเงินของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (แบบ 1) บริษัทจํากัด
(แบบ 2) นิติบุคคลท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (แบบ 4) และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร (แบบ 5) กําหนด

ขึ้นโดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Non-

Publicly Accountable Entities: TFRS for NPAEs) ที่สภาวชิ าชพี บญั ชีประกาศกาํ หนด
1.3 การกําหนดความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน ความหมายของรายการย่อท่ี

ต้องมีในงบการเงินจะอธิบายเฉพาะคํานิยามของแต่ละรายการเท่านั้น สําหรับการรับรู้รายการ และการวัดมูลค่า ให้

กจิ การถอื ปฏบิ ัติตามมาตรฐานรายงานทางการเงนิ ท่ีเก่ียวขอ้ ง

สาขาวชิ า : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 4/16 151
ชือ่ วิชา : การบัญชีเบือ้ งตน้

: งบการเงิน

2) การจดั ทางบการเงนิ
2.1 ผมู้ ีหน้าท่ีจัดทาํ บัญชีตอ้ งจัดทาํ งบการเงนิ ตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไดแ้ ก่
(1) ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีท่ีต้องจัดทํางบการเงิน และต้องนําส่งต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

ตามมาตรา 11 แหง่ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด
นิติบุคคลทีต่ ัง้ ขนึ้ ตามกฎหมายต่างประเทศ และกจิ การร่วมค้าตามประมวลรษั ฎากร

(2) นิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศ คือนิติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในประเทศ
ไทยและเขา้ มาประกอบธรุ กิจในประเทศไทยทกุ กรณี ไม่ว่าจะได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคน
ต่างด้าวหรือไม่ก็ตาม โดยครอบคลุมถึงสํานักงานผู้แทนของนิติบุคคลต่างประเทศในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและ
สาํ นกั งานภูมภิ าคของบริษัทข้ามชาตดิ ้วย

(3) การกําหนดรายการย่อของงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็นการ
กําหนดรายการย่อของงบการเงินสําหรับธุรกิจท่ัวไปเท่านั้น ธุรกิจที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะ เช่น สถาบันการเงิน
บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทบริหารสินทรัพย์ บริษัทโฮลดิ้งท่ีเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ให้ใช้
รายการย่อตามทก่ี าํ หนดในกฎหมายเฉพาะนนั้

2.2 หลกั การจัดทาํ งบการเงิน
(1) ผู้มีหน้าทจี่ ัดทําบัญชแี ต่ละประเภทตอ้ งจัดทํางบการเงนิ ดังนี้

(2) ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีที่เป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจํากัด นิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตาม
กฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ที่เข้าเง่ือนไขเป็นกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะหรือเข้า
เง่ือนไขเป็นกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะแต่มีความประสงค์จะจัดทําบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่
สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกําหนดโดยอ้างอิงมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) ให้ผู้มีหน้าท่ีจัดทํา
บัญชีดังกล่าวจัดทํางบการเงินโดยนํารูปแบบรายการยอ่ ท่ีต้องมีในงบการเงินของบริษัทมหาชนจํากัด (แบบ 3) มาใช้โดย
ปรับปรุงรายการที่เก่ียวข้องกับส่วนของเจ้าของให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงตามกฎหมายและข้อกําหนดของมาตรฐานการ
รายงานทางการเงนิ

สาขาวชิ า : การบัญชี รหสั วิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 5/16 152
ชอ่ื วิชา : การบญั ชเี บือ้ งตน้

: งบการเงิน

(3) เมือ่ ผมู้ หี นา้ ที่จดั ทาํ บัญชเี ลอื กแสดงงบกําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ แบบใดแบบหนึ่ง หรือเลือก
แสดงงบกําไรขาดทุนแบบใดแบบหนง่ึ ของกรมธุรกิจกาค้า ผมู้ หี นา้ ท่ีจัดทาํ บัญชีควรถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งสม่ําเสมอเพอื่

ประโยชน์ในการเปรียบเทียบ อย่างไรก็ตาม หากผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงแบบท่ีเลือกไว้ให้
กจิ การปฏบิ ัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ที่เกีย่ วข้อง และใหเ้ ปิดเผยไว้ในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินด้วย

(4) ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีท่ีเป็นนิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศ ตามข้อ 2.1 (2) เมื่อ
จัดทํารายการยอ่ ท่ีต้องมีในงบการเงินตามแบบ 4 ในรายการทุนขั้นต่ําตามกฎหมายแยกตามประเภทธุรกิจ ให้แยกทุนข้ัน
ต่ําตามกฎหมายที่ได้รับจากสํานักงานใหญ่ตามประเภทธุรกิจน้ัน โดยอาจแสดงรายละเอียดแต่ละประเภทในงบการเงิน
หรอื อาจแสดงยอดรวมไวใ้ นงบการเงินแล้วเปิดเผยรายละเอียดแยกตามประเภทธุรกิจไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินก็
ได้

(5) ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีท่ีมีฐานะเป็นคนต่างด้าวและได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตาม
กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวให้เปิดเผยข้อมูลเพ่ิมเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินเกี่ยวกับ
รายการดังต่อไปน้ดี ้วย

(6) กรณีท่ีผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีจัดทํางบการเงินตามแบบ 3 และได้นํานโยบายการบัญชีใหม่มา
ถอื ปฏิบตั ิย้อนหลัง หรือการปรับงบการเงินยอ้ นหลัง หรือเมื่อกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ ผู้มีหน้าท่ี
จัดทําบญั ชีต้องนาํ เสนองบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันต้นงวดของงวดท่ีนํามาเปรยี บเทยี บทใี่ กลท้ สี่ ดุ ดว้ ย

(7) สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่จัดทํางบการเงิน หรือกรณีท่ีมีการแปรสภาพกิจการ
ระหว่างปีงบการเงินของรอบระยะเวลาบัญชีก่อนที่นํามาเปรียบเทียบอาจมีการจัดประเภทรายการหรือมีรูปแบบที่
แตกตา่ งจากประกาศฉบับนี้ ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีควรจัดประเภทรายการหรือรูปแบบท่ีจะนํามาเปรียบเทียบให้สอดคล้อง
กบั ประกาศฉบับน้ีด้วย เวน้ แต่ในทางปฏบิ ตั ไิ มส่ ามารถทาํ ได้

(8) การจัดประเภทรายการในงบการเงนิ ให้พจิ ารณา ดังน้ี
ให้พิจารณาลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ี

เก่ยี วข้องกบั เร่ืองนนั้ ๆ รวมท้งั คาํ นงึ ถงึ นโยบายการกาํ กบั ดูแลของหน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
ใหพ้ ิจารณาเนอื้ หาเชงิ เศรษฐกจิ มากกวา่ รูปแบบทางกฎหมาย เช่น หุ้นบุริมสิทธิซง่ึ ให้สิทธิ

ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีท่ีออกหุน้ ในการบังคับไถ่ถอนด้วยจํานวนเงินที่แน่นอนหรือที่สามารถทราบได้ ณ วันที่กําหนดไว้หรือ
วันท่ีทราบได้ หรือหุ้นบุริมสิทธิซ่ึงให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการเรียกร้องให้ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีไถ่ถอนหุ้นในหรือหลังวันท่ีที่
กาํ หนดไว้ด้วยจํานวนเงินท่ีแน่นอนหรือที่ทราบได้หุน้ บุริมสิทธินั้นต้องจัดประเภทเป็นหน้ีสินในงบแสดงฐานะการเงิน เป็น
ต้น ท้ังนี้ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีต้องเปิดเผยข้อมูลให้สอดคล้องตามข้อเท็จจริงและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่
เกย่ี วขอ้ ง

(9) รูปแบบรายการย่อเป็นเพียงแนวทางท่ีกําหนดให้แสดงรายการแยกเป็นแต่ละบรรทัดพร้อม
จํานวนเงิน หากผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีไม่มีรายการตามที่แบบรายการย่อกําหนดไว้ก็ไม่ต้องแสดงรายการดังกล่าวไว้ในงบ
การเงนิ เชน่

สาขาวิชา : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ท่ี 6/16 153
ชือ่ วิชา : การบญั ชเี บอ้ื งตน้

: งบการเงิน

– งบกําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ หากผมู้ ีหน้าที่จัดทาํ บัญชีไม่มีรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่ืน ก็
ไม่ต้องแสดงรายการดังกล่าว โดยให้แสดงรายการกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปีต่อจากรายการกําไร (ขาดทุน)
สาํ หรบั ปี

– งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุน้ ถ้าในระหว่างปีมีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะกําไร
(ขาดทุน) สาํ หรับปเี ทา่ นัน้ ไมม่ ีการเปลี่ยนแปลงในรายการอ่นื กใ็ หแ้ สดงเฉพาะการเปลีย่ นแปลงในกาํ ไร (ขาดทุน) สําหรับ
ปเี ทา่ นน้ั

(10) กรณีท่ีผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีมีรายการนอกเหนือจากที่รูปแบบรายการย่อกําหนดไว้ให้แสดง
รายการน้นั ไดต้ ามความจําเป็นและเหมาะสมแก่กรณีเช่น แบบรายการย่อกําหนดให้แสดงรายการย่อไว้เพียงรายการเดียว
ผู้มีหน้าท่ีจัดทําบัญชีจะแสดงรายละเอียดภายใต้รายการนั้นก็ได้ แต่ต้องแสดงรายการให้ถูกต้องตามประเภทและลักษณะ
ของสินทรัพย์หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้หรือค่าใช้จ่าย เป็นต้น ส่วนกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเ งิน
กําหนดให้มีรายการยอ่ นอกเหนือจากรายการท่ีกําหนดในประกาศฉบับน้ีใหแ้ สดงรายการนั้นเพ่ิมเติมตามที่มาตรฐานการ
รายงานทางการเงนิ กําหนด

(11) การแสดงรายการส่วนเกิน (ตํ่ากว่า) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิหรือส่วนเกิน (ตํ่ากว่า) มูลค่าหุ้น
สามัญ หากมีทง้ั ส่วนเกินและสว่ นต่าํ ของหุ้นทนุ ประเภทเดียวกนั และมีเนื้อหาเศรษฐกจิ เดยี วกันสามารถนํามาหักกลบ และ
แสดงเปน็ มลู คา่ สุทธไิ ด้ เชน่ ส่วนต่ํากว่ามลู ค่าหุ้นสามัญสามารถหกั กลบกับส่วนเกินมลู คา่ หุ้นสามัญได้แต่ไม่ให้หกั กลบส่วน
ตาํ่ กวา่ มลู ค่าหุ้นสามัญกับสว่ นเกินมูลคา่ หนุ้ บรุ ิมสิทธิเน่ืองจากเป็นหุ้นทุนคนละประเภทและมีสิทธิตามกฎหมายที่แตกต่าง
กัน ท้ังนี้การหักกลบดังกล่าวเป็นเพียงการนําเสนอข้อมูลในงบการเงินเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในการบันทึกรายการบัญชี
จะต้องแยกบันทึกรายการส่วนเกินมูลค่าหุ้น และส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้นของทั้งหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญเป็นแต่ละบัญชี
แยกจากกัน รายการส่วนเกินมูลค่าหุ้น ต้องเป็นเงินหรือสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นส่วนที่สูงกว่ามูลค่าท่ีตราไว้
ตามที่จดทะเบยี นหรอื ทีไ่ ด้มาจากการลดทุนจดทะเบียนในส่วนท่ีได้มีการชําระเงินจากผู้ถือห้นุ แล้วและมิได้คืนกลับให้ผู้ถือ
หนุ้

(12) การกําหนดหน่วยจํานวนเงินบาท อาจแสดงเป็นหน่วยของหลักพัน หลักหม่ืน หลักแสน
หลักล้านได้ตามความเหมาะสม แตต่ ้องระบุหน่วยของหลกั ทีใ่ ชไ้ ว้ในงบการเงิน

(13) หมายเลขกํากับรายการที่ปรากฏในงบการเงินมีไว้เพ่ือความสะดวกในการอ้างอิงเท่านั้น ใน
การจดั ทาํ งบการเงนิ ไมต่ ้องแสดงหมายเลขดังกล่าว

(14) รายการยอ่ ของงบการเงินตามที่กําหนดไว้ในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กําหนด
รายกายอ่ ทต่ี ้องมีในงบการเงนิ จะไดก้ ลา่ วต่อไป
4. งบกาไรขาดทนุ (Income Statement or profit and loss statement)

หมายถึง งบท่ีแสดงผลการดาํ เนนิ งานของกิจการในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่งึ ว่ามรี ายได้ ค่าใชจ้ า่ ย และกาํ ไร
หรือขาดทุนสุทธิเท่าใด ซง่ึ อาจจะจัดทาํ งบกําไรขาดทุนสําหรบั ระยะเวลา 3 เดือน 6 เดอื น หรือ 12 เดอื น

งบกาํ ไรขาดทุนแบบรายงาน สามารถแสดงได้ 2 รปู แบบ คอื
1) งบกําไรขาดทุน จาํ แนกค่าใชจ้ า่ ยตามลักษณะของค่าใชจ้ า่ ย

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 7/16 154
ชื่อวชิ า : การบัญชเี บ้อื งตน้

: งบการเงิน

2) งบกําไรขาดทนุ จําแนกค่าใชจ้ ่ายตามหนา้ ท่ี แบ่งออกได้ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

2.1 จําแนกค่าใชจ้ า่ ยตามหน้าท่ี-แบบขั้นเดยี ว (Single step)

2.2 จาํ แนกค่าใชจ้ ่ายตามหนา้ ท่ี-แบบหลายขัน้ (Multiple step)

อย่างไรกต็ าม การจดั ทํางบกาํ ไรขาดทุนไมว่ ่ารปู แบบใด หากพิจารณาแล้วจะมีบัญชีหลักๆ อยู่ 3 กลุ่มด้วยกัน

ได้แก่ รายได้ ค่าใช้จ่าย (รวมต้นทุน) และกําไร (ขาดทุน) สุทธิ ซึ่งสําหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธุรกิจบริการได้

นําเอางบกําไรขาดทุนของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (ตามแบบที่ 1) มาประยุกต์ใช้โดยเน้นสาระสาคัญของเน้ือหาของ

กิจการเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ าร มากกวา่ รปู แบบ

การจัดทํางบกําไรขาดทุนอย่างงา่ ยๆ ได้ดงั นี้

1) เขียนหวั งบกําไรขาดทุน

2) นําบัญชีหมวดรายได้ที่เป็นยอดสุทธิมาใส่ในงบกําไรขาดทุนแล้วรวมยอดท้ังส้ิน ถ้ารายการใดท่ีต้องหา

รายได้สุทธใิ ห้แสดงไวใ้ นหมายเหตปุ ระกอบฯ แยกต่างหาก นําเฉพาะรายไดส้ ทุ ธมิ าใสเ่ ท่านั้น

3) นําบัญชีหมวดค่าใช้จ่าย ท่ีเป็นยอดรวมแต่ละประเภทมาแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ถ้ารายการใดมี

มากกวา่ 1 รายการ ใหแ้ สดงไวใ้ นหมายเหตุประกอบ ฯ แยกไว้ต่างหาก แลว้ นําเฉพาะยอดรวมมาใส่เท่าน้นั

4) หาผลตา่ งระหว่างยอดรวมของรายไดแ้ ละยอดรวมของคา่ ใช้จ่าย

4.1 ถา้ ยอดรวมของรายได้มากกว่ายอดรวมของค่าใช้จา่ ย ผลตา่ งคือ “กําไรสทุ ธ”ิ

4.2 ถ้ายอดรวมของค่าใช้จ่ายมากกวา่ ยอดรวมของรายได้ ผลต่างคอื “ขาดทนุ สุทธิ”

 งบกาไรขาดทุน จาแนกคา่ ใช้จา่ ยตามลกั ษณะของค่าใชจ้ ่าย

หนว่ ย : บาท

หมายเหตุ 25XX

1. รายได้

1.1 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร XX

1.2 รายไดอ้ น่ื XX

รวมรายได้ (1.1 + 1.2) XX

2. ค่าใช้จา่ ย

2.1 งานทก่ี จิ การทําและถอื เป็นรายจา่ ยฝ่ายทนุ XX

2.2 ค่าใชจ้ า่ ยพนักงาน XX

2.3 ขาดทุนจากการด้อยคา่ ของสนิ ทรัพย์ XX

2.4 คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื XX

รวมค่าใชจ้ า่ ย (2.1+2.2+2.3+2.4) XX

3. กําไร (ขาดทุน) กอ่ นตน้ ทนุ ทางการเงิน (1-2) XX

4. ตน้ ทุนทางการเงิน XX

5. กําไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ (3-4) XX

สาขาวิชา : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 8/16 155
ชอ่ื วิชา : การบัญชเี บอ้ื งตน้

: งบการเงนิ

 งบกาไรขาดทนุ จาแนกคา่ ใช้จ่ายตามหน้าที่

2.1 งบกาไรขาดทุน จาแนกค่าใช้จา่ ยตามหน้าท่ี – แบบข้นั เดยี ว

หน่วย : บาท

หมายเหตุ 25XX

1. รายได้

1.1 รายได้จากการให้บรกิ าร XX

1.2 รายไดอ้ ่ืน XX
XX
รวมรายได้ (1.1 + 1.2)
XX
2. ค่าใชจ้ า่ ย XX
XX
2.1 ต้นทุนการใหบ้ รกิ าร XX
XX
2.2 ค่าใชจ้ ่ายในการใหบ้ รกิ าร XX XX
XX
2.3 คา่ ใชจ้ า่ ยในการบริหาร XX
XX
2.4 คา่ ใชจ้ ่ายอนื่ XX XX

รวมค่าใช้จ่าย (2.1+2.2+2.3+2.4)

3. กาํ ไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ (1-2) XX

4. ตน้ ทุนทางการเงิน

5. กาํ ไร (ขาดทุน) สุทธิ

2.2 งบกาไรขาดทุน จาแนกคา่ ใชจ้ า่ ยตามหน้าที่ – แบบหลายขน้ั

หนว่ ย : บาท

หมายเหตุ 25XX

1. รายไดจ้ ากการใหบ้ ริการ XX

2. ตน้ ทนุ การใหบ้ ริการ

3. กําไร (ขาดทนุ ) ข้ันต้น (1-2) XX

4. รายไดอ้ ่นื

5. กําไร (ขาดทุน) กอ่ นคา่ ใชจ้ ่าย (3+4) XX

6. ค่าใช้จา่ ยในการใหบ้ รกิ าร

7. ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร XX

8. ค่าใชจ้ า่ ยอน่ื XX

9. รวมค่าใชจ้ า่ ย (6+7+8) XX

10. กําไร (ขาดทนุ ) ก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ (5-9) XX

11. ตน้ ทุนทางการเงนิ

12. กําไร (ขาดทนุ ) สุทธิ (10-11)

สาขาวชิ า : การบัญชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นท่ี 9/16 156
ชื่อวิชา : การบัญชีเบ้ืองตน้

: งบการเงนิ

ตวั อยา่ งท่ี  กระดาษทาํ การของรา้ นเนเจอร์ซาลอน ซง่ึ มีนายเนมเปน็ เจ้าของมีข้อมลู ดงั น้ี

รา้ นเนเจอร์ซาลอน

กระดาษทาการ

สาหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สนิ้ สุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X8

ชือ่ บญั ชี เลขที่ งบทดลอง งบกาํ ไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงนิ
บัญชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบิต เครดิต

เงนิ สด 101 100,000 100,000

เงินฝากธนาคาร 102 60,000 60,000

ลูกหน้กี ารคา้ 103 35,000 35,000

อุปกรณ์ 104 50,000 50,000

เครื่องตกแต่ง 105 40,000 40,000

อาคาร 105 270,000 270,000

เจ้าหนกี้ ารคา้ 201 38,000 38,000

เงนิ กูร้ ะยะยาว 6% 202 60,000 60,000

ทนุ -นายเนม 301 400,000 400,000

ถอนใชส้ ว่ นตัว-นายเนม 302 12,000 12,000

รายไดค้ า่ บริการ 401 320,000 320,000

รายได้อืน่ ๆ 402 80,000 80,000

คา่ พาหนะ 501 12,000 12,000

ค่าโฆษณา 502 110,000 110,000

คา่ รับรองลูกคา้ 503 30,000 30,000

คา่ สาธารณูปโภค 504 40,000 40,000

คา่ เสยี หายจากนา้ํ ท่วม 505 14,000 14,000

ค่าใชจ้ า่ ยอื่นๆ 506 15,000 15,000

ดอกเบี้ยจ่าย 507 32,000 32,000

เงนิ เดือน 508 78,000 78,000

898,000 898,000 331,000 400,000 567,000 498,000

กําไรสทุ ธิ 69,000 69,000

400,000 400,000 567,000 567,000

สาขาวิชา : การบญั ชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 10/16 157
ชื่อวชิ า : การบญั ชีเบือ้ งตน้

: งบการเงิน

งบกาไรขาดทุน จาแนกค่าใช้จ่ายตามลักษณะของคา่ ใชจ้ ่าย

ร้านเนเจอร์ซาลอน

งบกําไรขาดทุน

สําหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธนั วาคม 25X8

หมายเหตุ หนว่ ย: บาท

รายได้ 320,000
80,000
รายไดจ้ ากการให้บรกิ าร 400,000

รายไดอ้ ืน่ ๆ 118,000
152,000
รวมรายได้ 29,000

ค่าใช้จา่ ย 101,000
32,000
งานทกี่ ิจการทําและถือเป็นรายจา่ ยฝา่ ยทนุ  69,000

ค่าใชจ้ า่ ยในการให้บริการและบริหาร  หน่วย: บาท

คา่ ใช้จา่ ยอนื่ ๆ  320,000
80,000
รวมคา่ ใชจ้ ่าย 400,000

299,000 118,000

กาํ ไรก่อนตน้ ทุนทางการเงิน

หกั ต้นทนุ ทางการเงิน

กาํ ไรสุทธิ

งบกาไรขาดทนุ จาแนกตามหน้าท่ี-แบบขั้นเดยี ว

ร้านเนเจอร์ซาลอน

งบกาํ ไรขาดทนุ

สําหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 25X8

หมายเหตุ

รายได้

รายได้จากการให้บรกิ าร

รายได้อ่ืนๆ

รวมรายได้

ค่าใชจ้ ่าย

ต้นทนุ การให้บริการ 

สาขาวชิ า : การบัญชี รหัสวชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ที่ 11/16 158
ช่อื วิชา : การบญั ชีเบอ้ื งตน้

: งบการเงิน

ค่าใช้จา่ ยในการให้บริการและบริหาร  152,000
คา่ ใช้จา่ ยอืน่ ๆ  29,000
รวมคา่ ใช้จา่ ย 299,000
กําไรก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ 101,000
หกั ต้นทุนทางการเงนิ 32,000
กําไรสทุ ธิ 69,000

งบกาไรขาดทนุ จาแนกตามหน้าที่-แบบหลายข้นั

รา้ นเนเจอรซ์ าลอน

งบกาํ ไรขาดทนุ

สําหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สนิ้ สุดวันท่ี 31 ธันวาคม 25X8

หมายเหตุ หนว่ ย: บาท
320,000
รายไดจ้ ากการให้บรกิ าร 118,000
202,000
หกั ต้นทนุ การให้บริการ  80,000
282,000
กาํ ไรขนั้ ต้น 152,000
29,000
บวก รายได้อื่น
101,000
กําไรกอ่ นคา่ ใช้จา่ ย 32,000
69,000
คา่ ใชจ้ ่ายในการให้บรกิ ารและบริหาร 

คา่ ใช้จา่ ยอ่นื 

รวมคา่ ใช้จา่ ย

181,000

กําไรกอ่ นตน้ ทุนทางการเงิน

หกั ต้นทนุ ทางการเงนิ

กาํ ไรสทุ ธิ

สาขาวิชา : การบัญชี รหสั วิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 12/16 159
ช่ือวชิ า : การบัญชีเบ้ืองตน้

: งบการเงนิ

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ

หมายเหตุฯ  งานท่กี ิจการทาและถือเป็นรายจา่ ยฝ่ายทนุ (และตน้ ทุนการให้บรกิ าร)

คา่ สาธารณปู โภค 40,000 บาท

เงินเดือน 78,000 บาท

รวม 118,000 บาท

หมายเหตฯุ  คา่ ใชจ้ ่ายในการให้บริการและบริหาร

ค่าพาหนะ 12,000 บาท

ค่าโฆษณา 110,000 บาท

ค่ารับรองลูกค้า 30,000 บาท

รวม 152,000 บาท

หมายเหตุฯ  คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ๆ

คา่ เสยี หายจากนํา้ ทว่ ม 14,000 บาท

ค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ 15,000 บาท

รวม 29,000 บาท

5. งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of the financial position) หมายถงึ งบทแี่ สดงถงึ ฐานะทางการเงนิ ของกจิ การ
ณ วันใดวนั หนึง่ บญั ชีทแี่ สดงใน ได้แก่ บัญชีประเภทสนิ ทรัพย์ หนี้สนิ และทนุ หรอื สว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) การจัดทาํ งบ
แสดงฐานะการเงนิ ตามกรมพัฒนาธุรกจิ การจะมีรปู แบบเดยี วคอื แบบรายงาน ซึง่ จะแบ่งรายการออกเปน็ 2 ส่วน คือ

สว่ นทห่ี น่ึง จะแสดงรายการเกยี่ วกบั สนิ ทรพั ย์ทง้ั หมดเรียงกันลงมาตามลําดับแล้วทาํ การรวมยอดเงนิ ของ
สนิ ทรพั ย์ทัง้ หมด

สว่ นทสี่ อง จะแสดงรายการหน้สี ินและส่วนของเจา้ ของเรยี งกันลงมาเช่นเดียวกัน แลว้ ทาํ การรวมยอดหนสี้ ิน
และทนุ ซึง่ ยอดรวมทัง้ สองสว่ นคือ ด้านสินทรัพย์ หนสี้ นิ และส่วนของเจ้าของจะต้องเท่ากนั ดังน้ี

1) เขียนหวั กลางกระดาษ โดยจะประกอบด้วย 3 บรรทดั คอื
 บรรทดั แรก เขยี นชอ่ื กจิ การ
 บรรทัดที่ 2 เขียนคําวา่ “งบแสดงฐานะการเงิน”
 บรรทดั ท่ี 3 เขยี นวนั ทีท่ จี่ ัดทาํ งบแสดงฐานะการเงิน

2) เขยี นคําวา่ “สินทรพั ย”์ ไว้กลางกระดาษ แล้วนําบัญชีสนิ ทรพั ย์มาใส่และรวมยอดสนิ ทรพั ย์ทั้งหมด
3) เขียนคําวา่ “หนี้สินและส่วนของเจ้าของ” ไว้กลางกระดาษ แล้วใหน้ ําบัญชีหมวดหนี้สินมาใส่และรวมยอด
หนี้สินท้ังหมด ต่อจากนั้นให้นําบัญชีหมวดส่วนของเจ้าของ มาใส่และนํายอดรวมของส่วนของเจ้าของ รวมกับยอดรวม
หน้สี ินท้งั หมด ซงึ่ จะตอ้ งเท่ากับยอดรวมของสินทรัพย์
รูปแบบงบแสดงฐานะการเงินของกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธุรกิจบริการที่ประยุกต์จากรูปแบบของห้าง
หุ้นสว่ นจดทะเบยี น (แบบ 1) ตามประกาศของกรมพัฒนาธรุ กิจการค้า มีดังน้ี

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นที่ 13/16 160
ช่ือวชิ า : การบัญชีเบอื้ งตน้

: งบการเงนิ

รายการยอ่ ตามแบบที่ 1

งบแสดงฐานะการเงนิ
————————————

สนิ ทรพั ย์

หมายเหตุ หนว่ ย : บาท
25XX

1. สินทรัพย์หมุนเวียน
1.1 เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด
1.2 เงนิ ลงทนุ ชวั่ คราว
1.3 ลกู หน้กี ารคา้ – สุทธิ
1.4 เงนิ ใหก้ ยู้ ืมระยะส้นั แกบ่ คุ คลหรอื กจิ การที่เก่ยี วข้องกนั
1.5 เงนิ ให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรอื กจิ การอื่น
1.6 สินค้าคงเหลือ
1.7 สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียนอืน่
รวมสนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี น

2. สินทรพั ย์ไมห่ มุนเวียน
2.1 เงนิ ลงทนุ ระยะยาวอืน่
2.2 เงินใหก้ ้ยู มื ระยะยาวแก่บคุ คลหรือกิจการทเ่ี กยี่ วข้องกัน
2.3 เงินใหก้ ้ยู ืมระยะยาวแก่บคุ คลหรอื กจิ การอ่ืน
2.4 ที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ์ – สุทธิ
2.5 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน – สทุ ธิ
2.6 สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี นอนื่
รวมสินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียน

รวมสนิ ทรพั ย์

สาขาวิชา : การบญั ชี รหัสวิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นที่ 14/16 161
ช่อื วิชา : การบัญชีเบื้องตน้

: งบการเงิน

หนส้ี นิ และสว่ นของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น
3. หนส้ี นิ หมนุ เวยี น

3.1 เงินเบิกเกินบัญชแี ละเงนิ กู้ยมื ระยะส้นั จากสถาบันการเงนิ
3.2 เจา้ หนกี้ ารคา้
3.3 เงนิ ก้ยู มื ระยะยาวทถ่ี ึงกาํ หนดชําระภายในหนง่ึ ปี
3.4 เงินก้ยู ืมระยะสน้ั จากบคุ คลหรอื กิจการทีเ่ ก่ียวขอ้ งกนั
3.5 เงินกู้ยืมระยะส้นั จากบุคคลหรอื กจิ การอน่ื
3.6 ประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้
3.7 หนส้ี ินหมุนเวียนอื่น

รวมหนสี้ ินหมนุ เวยี น
4. หนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวยี น

4.1 เงนิ กยู้ ืมระยะยาวจากบคุ คลหรือกจิ การท่เี กยี่ วข้องกัน
4.2 เงนิ กยู้ ืมระยะยาวจากบคุ คลหรอื กิจการอ่นื
4.3 ประมาณการหน้สี นิ ระยะยาว
4.4 หนส้ี นิ ไม่หมุนเวียนอน่ื

รวมหนี้สินไมห่ มุนเวียน
รวมหนสี้ ิน
5. ส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน
5.1 ทนุ ของผู้เป็นหนุ้ สว่ นแตล่ ะคน
5.2 ผลกาํ ไร (ขาดทนุ ) ที่ยังไม่เกดิ ขึ้นจรงิ
5.3 กาํ ไร (ขาดทนุ ) สะสมยังไม่ได้แบง่

รวมส่วนของผูเ้ ป็นหนุ้ ส่วน
รวมหนส้ี นิ และส่วนของผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน
เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การทาํ ความเขา้ ใจ จงึ มีการปรบั ปรุงรายการบางสว่ นในการนํางบแสดงฐานะการเงนิ ไป
ประยกุ ต์ใช้ในหน่วยการเรียนรู้ ดงั ต่อไปน้ี

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหสั วชิ า 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 15/16 162
ช่อื วิชา : การบญั ชีเบอ้ื งตน้

: งบการเงิน

รูปแบบงบดลุ แบบรายงาน 

ร้าน…………..
งบแสดงฐานะการเงนิ

วนั ท่ี ……เดือน…………พ.ศ. ……..
สนิ ทรัพย์

สินทรพั ย์หมุนเวียน XX XX
เงนิ สด
XX + +
สินทรพั ย์ไมห่ มุนเวียน XX
รถยนต์ XX
อุปกรณ์สํานักงาน XX
เคร่ืองตกแต่ง
หนส้ี นิ และสว่ นของเจา้ ของ
รวมสนิ ทรัพย์
XX
หนส้ี นิ หมนุ เวยี น
เจา้ หนี้ XX +
XX
หนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวียน ยอดรวม
เงนิ กู้ระยะยาว
รวมหน้สี นิ เท่ากัน

ส่วนของเจา้ ของ XX + +
ทนุ (เจ้าของกิจการ) XX
บวก กาํ ไรสทุ ธิ
XX XX
หกั ถอนใชส้ ว่ นตัว XX – XX
รวมหนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ

สาขาวชิ า : การบญั ชี รหสั วิชา 30200-0001งาน ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 16/16 163
ช่ือวชิ า : การบัญชเี บอ้ื งตน้

: งบการเงนิ

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ โดยตามมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ที่ 1 กล่าวถงึ หมายเหตุประกอบงบการเงนิ

ประกอบด้วย ขอ้ มูลทแี่ สดงเพมิ่ เตมิ จากข้อมูลทแี่ สดงในงบแสดงฐานะการเงิน งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบเฉพาะกาํ ไร

ขาดทนุ (ถา้ มกี ารนาํ เสนอ) งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสว่ นของเจ้าของ และงบกระแสเงินสด หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ

เปน็ การอธบิ ายหรอื การแยกแสดงของรายการทีน่ าํ เสนอในงบการเงินดังกล่าวและข้อมลู เก่ียวกับรายการท่ีมีคุณสมบตั ิไม่

เพยี งพอทจ่ี ะรบั รู้ในงบการเงินที่นําเสนอ

ตัวอย่างหมายเหตุประกอบงบการเงิน

หมายเหตฯุ  เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด

หน่วย: บาท

เงนิ สด XX

เงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์ XX

ตวั๋ เงนิ ทม่ี อี ายุคงเหลอื ไม่เกินกวา่ 3 เดือน XX

หกั เงินฝากเพื่อลกู ค้า (XX)

รวมเงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด XX

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบทดสอบ หนา้ ท่ี
ชอ่ื วชิ า : การบญั ชีเบอื้ งตน้ รหสั วิชา 30200-0001งาน แผน่ ที่ 1/1 164
: งบการเงิน

คาช้แี จง ใหน้ ักศึกษาอ่านคําถามแลว้ เขียนวงกลมล้อมรอบคาํ ตอบทีถ่ ูกตอ้ งท่ีสดุ

1. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ ว่ นประกอบงบการเงนิ 2. งบดุล หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. งบดลุ ก. งบที่แสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงนิ ของกจิ การ

ข. งบกาํ ไรขาดทุน ข. งบที่แสดงผลการดําเนนิ งานของกจิ การ

ค. งบแสดงการเปลย่ี นแปลงฐานะการเงนิ ค. งบทีแ่ สดงฐานะการเงินของกิจการ

ง. กําไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ ง. งบท่แี สดงการเปลย่ี นแปลงเงินสดทไี่ ดม้ าและใช้ไปของกจิ การ

3. ขอ้ ใดไมใ่ ช่รายการในโครงสรา้ งงบดุล 4. “งบท่ีแสดงผลการดาเนนิ งานสาหรบั งวดเวลาหน่ึง” หมายถึงงบใด

ก. ลกู หนี้การคา้ ก. งบดลุ

ข. กําไรสะสม ข. งบกาํ ไรขาดทุน

ค. ต้นทนุ สินค้าขาย ค. งบกระแสเงินสด

ง. ต๋ัวเงินจ่าย ง. งบกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็

5. การลดลงของสินทรพั ยส์ ุทธิของกจิ การเนือ่ ง 6. สว่ นหัวงบกาไรขาดทนุ แสดงรายการอยา่ งไร
ก. ชอ่ื กิจการ งบกาไรขาดทนุ วนั ที่
จากการซื้อสินค้าหรอื บริการจากผูข้ ายหมายถงึ ข้อใด ข. ชื่อกจิ การ งบกาไรขาดทนุ สาหรบั งวดบญั ชี ส้นิ สุดวนั ท่ี
ค. ชอ่ื กิจการ วันท่ี งบกาไรขาดทนุ
ก. คา่ ใชจ้ า่ ย ง. ชอ่ื กิจการ งบดุล วนั ที่
ข. เงนิ ลงทุนระยะยาว
ค. สว่ นของเจา้ ของ 8. งบใดเปน็ งบท่แี สดงให้เหน็ ถึงการเพิ่มขน้ึ หรอื ลดลงของสว่ นของเจ้าของในระหว่างงวด
ง. หน้สี ิน ก. งบกาไรขาดทุน
ข. งบกระแสเงนิ สด
7. งบกาไรขาดทนุ แบบบัญชี แสดงรายการอยา่ งไร ค. งบแสดงการเปลย่ี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ
ก. ดา้ นเดบิตแสดงสนิ ทรพั ย์ ง. งบแสดงการเปลยี่ นแปลงฐานะทางการเงนิ
ข. ด้านเดบิตแสดงรายได้ 10. งบดลุ แบบรายงาน เรยี งลาดับอยา่ งไร
ค. ด้านเครดติ แสดงรายได้ ก. สนิ ทรพั ย์ หนสี้ ิน สว่ นของเจ้าของ
ง. ด้านเดบิตแสดงหนี้สนิ ข. รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย กาไร (ขาดทุนสทุ ธ)ิ
ค. สินทรพั ย์ หนีส้ นิ คา่ ใชจ้ า่ ย
9. ส่วนหวั งบดุลแสดงรายการอยา่ งไร ง. รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย สว่ นของเจา้ ของ
ก. ช่ือกิจการ งบกาไรขาดทนุ วนั ท่ี
ข. ชือ่ กจิ การ งบดุล ณ วันที่
ค. ชอ่ื กิจการ งบดลุ สาหรบั งวดบัญชี สนิ้ สุดวนั ท่ี
ง. ช่อื กิจการ วนั ท่ี งบกาไรขาดทุน

สาขาวิชา : การบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
165
ช่ือวชิ า : การบญั ชเี บ้อื งตน้ รหสั วชิ า 30200-0001 แผ่นที่ 1/1

งาน : งบการเงนิ

1. ขอ้ ใดไม่ใช่ส่วนประกอบงบการเงิน
คําตอบ : ค. งบแสดงการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงิน

2. งบดลุ หมายถึงขอ้ ใด
คําตอบ : ค. งบท่แี สดงฐานะการเงนิ ของกจิ การ

3. ขอ้ ใดไม่ใช่รายการในโครงสรา้ งงบดุล
คําตอบ : ค. ต้นทนุ สินคา้ ขาย

4. “งบท่แี สดงผลการดาเนินงานสาหรับงวดเวลาหนึ่ง” หมายถึงงบใด
คําตอบ : ข. งบกําไรขาดทนุ

5. การลดลงของสินทรัพยส์ ุทธขิ องกิจการเน่อื งจากการซื้อสินคา้ หรือบริการจากผขู้ ายหมายถึง ข้อใด
คาํ ตอบ : ก. ค่าใชจ้ ่าย

6. สว่ นหัวงบกาไรขาดทนุ แสดงรายการอยา่ งไร
คาํ ตอบ : ข. ชอ่ื กิจการ งบกาไรขาดทุน สาหรบั งวดบัญชี ส้ินสุดวันท่ี

7. งบกาไรขาดทนุ แบบบญั ชี แสดงรายการอยา่ งไร
คําตอบ : ค. ดา้ นเครดติ แสดงรายได้

8. งบใดเปน็ งบท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึงการเพ่ิมขนึ้ หรอื ลดลงของสว่ นของเจ้าของในระหว่างงวด
คําตอบ : ค. งบแสดงการเปล่ยี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ

9. สว่ นหัวงบดลุ แสดงรายการอยา่ งไร
คาํ ตอบ : ข. ช่อื กจิ การ งบดุล ณ วนั ท่ี

10. งบดุลแบบรายงาน เรียงลาดับอยา่ งไร
คาํ ตอบ : ก. สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจา้ ของ

สาขาวิชา : การบัญชี ใบมอบหมายงาน หนา้ ที่
แผ่นที่ 1/1 166
ช่อื วชิ า : การบัญชีเบื้องตน้ รหสั วชิ า 30200-0001

งาน : งบการเงนิ

จุดประสงค์การมอบงาน
1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นรู้จักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์
2. เพื่อใหผ้ เู้ รียนได้ค้นคว้าหาความรู้เพม่ิ เตมิ
3. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง

แนวทางการปฏิบตั งิ าน

ครมู อบหมายงาน นักเรยี นค้นคว้า นักเรียนนาํ เสนอ นักเรยี นส่งผลงาน
เป็นการบา้ น งานตนเอง ครใู หค้ ะแนน

แหลง่ ค้นควา้
หนงั สือเรียน ตาํ ราเรียน

คาถาม/ปญั หา
1. ในการคน้ ควา้ งานนักเรียนพบปัญหาอะไรบา้ ง
2. นกั เรยี นแกป้ ญั หาอยา่ งไร
3. นกั เรยี นไดอ้ ะไรจากการไปคน้ ควา้ งาน

กาหนดเวลาสง่ งาน
กอ่ นครูสอนคาบต่อไป

หนังสืออา้ งองิ
บรษิ ทั สาํ นกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จํากัด
http://www.aimphan.co.th

แบบที่ 1

6. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้

แบบที่ 2

6. กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ กจิ กรรมผ้เู รียน
กจิ กรรมผู้สอน

ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกบั การบญั ชี
1. Accounting คือขอ้ ใด

ก. การบญั ชี
ข. การทาบญั ชี
ค. ผูท้ าบัญชี
ง. หน้าท่ขี องผูท้ าบัญชี
2. ขอ้ ใดคือความหมายทส่ี าคญั ของการบัญชี
ก. การทาํ บัญชี
ข. ช่วยใหม้ รี ะบบควบคมุ ภายในทดี่ ี
ค. การใหข้ ้อมูลทางการเงนิ
ง. ถกู ทั้ง ก. และข้อ ข.
3. ขอ้ ใดคือขน้ั ตอนในการทาบัญชี
ก. Collecting
ข. Recording
ค. Classifying
ง. ถูกทุกข้อ
4. Classifying คือขอ้ ใด
ก. การรวบรวม
ข. การบนั ทกึ
ค. การจําแนก
ง. การสรปุ ข้อมูล
5. การรวบรวม คือขอ้ ใด
ก. Collecting
ข. Recording
ค. Classifying
ง. Summarizing
6. การจาแนกหมวดหมู่ของบัญชีประเภทตา่ ง ๆ จดั อย่ใู นข้นั ตอนใดในการทาบญั ชี
ก. Collecting
ข. Recording
ค. Classifying
ง. Summarizing
7. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ในการใหข้ ้อมลู ทางการเงิน
ก. ใช้ในการวเิ คราะห์ดา้ นการเงนิ
ข. จัดทาํ งบประมาณ
ค. เรียกเก็บชําระหนไ้ี ดง้ า่ ย
ง. การปรับปรุงระบบบญั ชี

8. ขอ้ มูลทางการเงนิ ใหป้ ระโยชน์แกบ่ ุคคลใดในขอ้ ต่อไปนี้
ก. ผู้ใหก้ ู้
ข. รัฐบาล
ค. นกั ลงทนุ
ง. ถูกทุกข้อ

9. จุดประสงคห์ ลกั ของการบัญชคี อื ข้อใด
ก. ควบคุมรักษาสินทรพั ยข์ องกจิ าร
ข. ทราบผลการดาํ เนนิ งานของกิจการ
ค. ให้ขอ้ มูลในการวางแผนการดําเนนิ งาน
ง. ถูกทุกข้อ

10. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของข้อมูลการบญั ชี
ก. ช่วยในการวางแผนและตดั สนิ ใจของธรุ กจิ
ข. เพื่อใช้ในการเลย่ี งภาษี
ค. เป็นเคร่อื งมอื ในการหาแหล่งเงนิ ทนุ
ง. ช่วยในการวางแผนกาํ ไร

11 .ขอ้ ใดเปน็ การเขียนตวั เลขทีใ่ สเ่ คร่อื งหมายถูกต้อง
ก. 4,400
ข. 8,350.-
ค. “4,300”
ง. 3,800.25.-

Accounting Framework หมายถงึ ข้อใด
ก. มาตรฐานการบัญชีระหวา่ งประเทศ
ข. แมบ่ ทการบญั ชี
ค. ลกั ษณะของงบการเงิน
ง. หลักฐานการบญั ชี

13. งบการเงนิ จดั ทาขึน้ เพอื่ วตั ถุประสงคใ์ ด
ก. ใหข้ ้อมลู การเก่ยี วกบั ฐานะการเงิน
ข. เพือ่ ใหท้ ราบผลการดาํ เนนิ งาน
ค. ทราบถึงการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงนิ
ง. ถูกทุกข้อ

14. หลกั เกณฑใ์ นการปรับปรงุ มาตรฐานการบัญชไี ด้แก่ข้อใด
ก. แม่บทการบัญชี
ข. งบการเงิน
ค. ทราบถงึ การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน
ง. ถูกทุกข้อ

15. ข้อสมมตติ ามแมบ่ ทการบัญชไี ด้แก่ขอ้ ใด
ก. Accrual Basis
ข. Going Concern
ค. Accounting
ง. ถูกทั้งขอ้ ก. และขอ้ ข.

16. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะเชงิ คุณภาพของงบการเงนิ
ก. ความเข้าใจได้
ข. ความเช่ือถอื ได้
ค. นักบัญชตี ้องมีความรอบคอบ
ง. การเปรยี บเทียบกนั ได้

17. ข้อใดไม่ใชอ่ งค์ประกอบทเี ก่ียวขอ้ งในการวดั ฐานะการเงนิ ในงบแสดงฐานะการเงนิ
ก. สินทรัพย์
ข. รายได้
ค. หน้สี นิ
ง. ส่วนของเจ้าของ

18. ขอ้ ใดคือองคป์ ระกอบที่เก่ียวข้องกบั การวัดผลการดาเนนิ งานในงบกาไรขาดทนุ
ก. สินทรัพย์
ข. รายได้
ค. หนสี้ ิน
ง. สว่ นของเจ้าของ

19 การวัดมลู คา่ ขององคป์ ระกอบของงบการเงินไดแ้ ก่ข้อใด
ก. ราคาทุนเดิม
ข. คา่ เงนิ บาท
ค. ราคาทุนปัจจุบนั
ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ก. และข้อ ข.

20. ข้อมลู การบัญชเี ปน็ เครอื่ งมือชว่ ยในการหาแหล่งเงนิ ทนุ ได้แกข่ ้อใด
ก. สร้างความเชอื่ ม่ันใหเ้ จา้ หนแ้ี ละสถาบนั การเงิน
ข. ช่วยตัดสินใจในการกาํ หนดราคา
ค. ควบคมุ ต้นทุนการผลติ
ง. ผิดทุกข้อ

2 สินทรัพย์ หนสี้ ินและส่วนของเจา้ ของ (ทนุ ) 6. นางสาวเจนมสี ินทรัพย์ หนส้ี นิ ซึง่ เป็นของ
1. Assets คอื ขอ้ ใด สว่ นตวั ดังน้ี เงนิ สด 20,000 บาท เงินฝากธนาคาร
ก. สินทรัพย์ 15,000 บาท รถยนต์ 350,000 บาท ท่ีดิน
ข. หนส้ี ิน 150,000 บาท กูเ้ งนิ จากธนาคารมา 80,000 บาท
ค. ส่วนของเจ้าของ อยากทราบวา่ นางสาวเจนมีสนิ ทรัพยท์ ั้งส้ินจํานวน
ง. รายได้ เทา่ ใด
ก. 80,000 บาท
2. ขอ้ ใดคือสนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน ข. 455,000 บาท
ก. ลูกหนี้ ค. 535,000 บาท
ข. อาคาร ง. 615,000 บาท
ค. เงินลงทนุ ระยะยาว 7. จากข้อ 6 อยากทราบวา่ นางสาวเจนมหี นส้ี ิน
ง. รถยนต์ ท้ังสิ้นจาํ นวนเท่าใด
ก. 80,000 บาท
3. Liabilities คือขอ้ ใด ข. 455,000 บาท
ก. เงนิ สด ค. 535,000 บาท
ข. ลขิ สิทธ์ิ ง. 615,000 บาท
ค. สัมปทาน 8. จากข้อ 6 อยากทราบวา่ นางสาวเจนมสี ่วนของ
ง. ตว๋ั เงินจ่าย เจ้าของทง้ั สิน้ เท่าใด
ก. 80,000 บาท
4. ข้อใดคอื หน้สี นิ ไม่หมุนเวียน ข. 455,000 บาท
ก. เงินลงทนุ ระยะยาว ค. 535,000 บาท
ข. เงนิ เบิกเกนิ บัญชีธนาคาร ง. 615,000 บาท
ค. เงนิ กยู้ ืมระยะยาว
ง. ตว๋ั เงนิ จา่ ย 9. สมการบญั ชี คือขอ้ ใด
ก. Accounting Equation
5. สว่ นของเจา้ ของคอื ขอ้ ใด ข. Accounts Payable
ก. Cash ค. Accounting Form
ข. Owner’s Equity ง. Account receivables
ค. Liabilities
ง. Assets 10. ข้อใดคอื สมการบญั ชีตามการแสดง
ความสมั พันธร์ ะหว่างสินทรัพย์ หนสี้ นิ และสว่ นของ
เจ้าของ
ก. OE = A + L
ข. L = A + OE
ค. OE = A – L
ง. A = L – OE

โจทย์ประกอบ ใชต้ อบคาํ ถามข้อ 11-15 ต่อไปนเี้ ปน็ สนิ ทรพั ยข์ องนายนพเดช ซง่ึ เป็นบุคคลธรรมดา ดงั น้ี

เงนิ สด 35,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท เครือ่ งตกแตง่ บ้าน 22,000 บาท รถยนต์ 250,000

บาท บา้ น 450,000 บาท เงนิ กู้ 100,000 บาท

11. นายนพเดช มสี ินทรพั ย์ จาํ นวนเทา่ ใด 16. งบแสดงฐานะการเงินคือขอ้ ใด

ก. 877,000 บาท ก. Balance Sheet

ข. 777,000 บาท ข. Balance Form

ค. 677,000 บาท ค. Accounting Equation

ง. 100,000 บาท ง. Statement of financial position

12. นายนพเดช มีหนี้สินจาํ นวนเทา่ ใด 17. งบดุลรูปแบบใดใชแ้ บบฟอร์มคลา้ ยกับบญั ชีแยก
ก. 877,000 บาท ประเภท
ข. 777,000 บาท ก. แบบบัญชี
ค. 677,000 บาท ข. แบบรายงาน
ง. 100,000 บาท ค. แบบแนวตัง้
ง. แบบตารางคู่

13. จากโจทยส์ ามารถเขยี นสมการบัญชไี ดต้ ามข้อ 18. จากโจทยใ์ ห้แทนคา่ สมการบัญชีทถี่ กู ตอ้ ง

ใด

ก. A = L + OE ก. สินทรัพย์ = 55,000

ข. A = OE ข. สินทรัพย์ = 55,000 + ส่วนของเจา้ ของ

ค. L = A – OE ค. 55,000 = สินทรพั ย์ + สว่ นของเจา้ ของ

ง. OE = A – L ง. ส่วนของเจา้ ของ = สินทรพั ย์ + 50,000

14. จากโจทย์ใหแ้ ทนค่าสมการบัญชที ถ่ี กู ต้อง 19. จากโจทยอ์ ยากทราบวา่ นายปลวิ มสี ินทรพั ย์

ก. 777,000 = ส่วนของเจา้ ของ ทง้ั สิน้ จํานวนเท่าใด

ข. ส่วนของเจา้ ของ = 777,000 – ก. 610,000 บาท

100,000 ข. 665,000 บาท

ค. 100,000 = 777,000 – ส่วนของ ค. 680,000 บาท

เจา้ ของ ง. 735,000 บาท

ง. 777,000 = 100,000 – ส่วนของเจ้าของ

15. จากข้อ 14 สว่ นของเจา้ ของมีค่าเท่ากบั เทา่ ใด 20. จากโจทยอ์ ยากทราบว่ามีทุนนายปลวิ เปน็ สว่ น

ก. 877,000 บาท ของเจา้ ของจาํ นวนทั้งส้ินเท่าใด

ข. 777,000 บาท ก. 735,000 บาท

ค. 677,000 บาท ข. 680,000 บาท

ง. 100,000 บาท ค. 665,000 บาท

ง. 610,000 บาท

3. การวิเคราะหร์ ายการคา้

1. กจิ การรปู แบบใดทีด่ าํ เนนิ งานโดยมีจาํ นวนเงินทุน 6. ขอ้ ใดมผี ลทําใหส้ ินทรพั ย์เพมิ่ และส่วนของเจา้ ของ

จาํ กัด และขยายกิจการได้ยาก เพม่ิ

ก. ห้างหนุ้ ส่วนจาํ กดั ก. นําเงินสดมาลงทุนในกจิ การ

ข. บริษทั จาํ กัด ข. ถอนเงินของกิจการใชส้ ว่ นตัว

ค. บรษิ ัทมหาชนจํากดั ค. ซอ้ื เคร่อื งตกแต่งเปน็ เงนิ สด

ง. กจิ การเจา้ ของคนเดียว ง. รับชําระหน้ีจากลกู ค้า

2. Business Transaction คอื ข้อใด 7. รายการ “จ่ายค่าเช่ารา้ น” มผี ลตอ่ การ
ก. การวเิ คราะหร์ ายการค้า เปลีย่ นแปลงอย่างไรบ้าง
ข. รายการทไี่ มใ่ ชร่ ายการค้า ก. สินทรัพย์ลด สว่ นของเจ้าของเพิม่
ค. รายการคา้ ข. สนิ ทรพั ยเ์ พมิ่ สว่ นของเจ้าของเพมิ่
ง. การวิเคราะหก์ ารเงิน ค. สินทรพั ย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
ง. สินทรัพยเ์ พม่ิ ส่วนของเจา้ ของลด
3. ขอ้ ใดเป็นรายการค้า
ก. ซ้อื เครอื่ งมือเป็นเงนิ สด 8. รายการ “รบั บิลคา่ ไฟฟา้ เดือนนี้จากการไฟฟา้
ข. การส่งสนิ ค้าใหล้ ูกค้า นครหลวง” มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร
ค. การชาํ ระหนใ้ี หเ้ จ้าหนี้ ก. สินทรพั ย์ลด หนสี้ นิ ลด
ง. ถูกทกุ ขอ้ ข. หนส้ี ินเพิม่ ส่วนของเจ้าของลด
ค สินทรพั ย์ลด หน้สี นิ เพ่มิ
ง. หนส้ี ินเพิ่ม ส่วนของเจา้ ของเพิ่ม

4. ข้อใดไม่ใชร่ ายการค้าภายนอก 9. รายการซื้อรถยนตเ์ ป็นเงินเชอ่ื มีผลตอ่ การ
ก. ถอนเงนิ สดไปใช้สว่ นตวั เปล่ยี นแปลงตามข้อใด
ข. ซอ้ื สินค้า ก. สนิ ทรพั ยล์ ด หนส้ี นิ เพม่ิ
ค. การรบั ชาํ ระหน้ี ข. สินทรัพยเ์ พมิ่ หนสี้ นิ เพมิ่
ง. การกู้ยืมเงนิ ค. สินทรัพยล์ ด สว่ นของเจ้าของลด
ง. หน้ีสินเพ่มิ สว่ นของเจ้าของเพม่ิ

5. Non-Business Transaction คือขอ้ ใด 10. ตามหลกั การบัญชีค่ถู ้าสินทรพั ย์เพิ่มข้ึน ควร
ก. การรบั ชาํ ระหนจี้ ากลกู หน้ี บนั ทึกบญั ชีด้านใด
ข. การขายสนิ ค้าให้แกล่ ูกคา้ ก. ดา้ นเดบติ (Dr.)
ค. การก้ยู ืมเงนิ จากธนาคาร ข. ดา้ นเครดติ (Cr.)
ง. การเชิญชวนลกู คา้ ไปชมสนิ คา้ ค. บันทกึ ท้งั สองดา้ น
ง. ถกู ทุกขอ้

11. รายการ “จา่ ยเงินเดือนให้พนกั งาน” มีผลตอ่ 16. นายวชิ ัยนาเงินสดมาลงทนุ 15,000 บาท สรุป
บัญชีใด การวิเคราะหอ์ ย่างไร
ก. เงินสดลด ทนุ ลด ก. เดบิตเงินสด 15,000 บาท เครดติ ทนุ -นายวชิ ัย
ข. เงนิ สดลด 15,000 บาท
ค. เงนิ เดือน ทนุ ลด ข. เดบิตทุน-นายวิชยั 15,000 บาท เครดติ เงนิ สด
ง. เงินสดลด หน้สี ินลด 15,000 บาท
ค. เดบติ เงนิ สด 15,000 บาท เครดิตรายได้
15,000 บาท
ง. เดบิตถอนใชส้ ว่ นตวั 15,000 บาท เครดิตเงินสด
15,000 บาท

12. เมือ่ นารายการมาวเิ คราะห์ในรปู งบดลุ แล้วจะ 17. ซอ้ื เครอ่ื งตกแตง่ เป็นเงนิ เช่ือจากร้านปลานอ้ ย
ทาใหเ้ งินสดมจี านวนท้งั ส้ินเท่าใด 5,000 บาท สรปุ การวเิ คราะห์อย่างไร
ก. 143,000 บาท ก. เดบิตเครอื่ งตกแตง่ 5,000 บาท เครดิตเงินสด
ข. 150,000 บาท 5,000 บาท
ค. 223,000 บาท ข. เดบติ เครอ่ื งตกแตง่ 5,000 บาท เครดติ เจา้ หนี้-
ง. 230,000 บาท รา้ นปลาน้อย 5,000 บาท
ค. เดบติ เงินสด 5,000 บาท เครดิตเครื่องตกแตง่
5,000 บาท
ง. เดบิตเจ้าหน้ี-ร้านปลาน้อย 5,000 บาท เครดิต
เครื่องตกแตง่ 5,000 บาท

13. รายการ “ถอนเงนิ ” ดังกล่าว มีผลทาใหส้ ่วน 18. ปลาทองนาเงินของกจิ การไปใช้ส่วนตัว 7,000
ของเจา้ ของเปล่ยี นแปลงอย่างไร บาท สรุปการวเิ คราะหอ์ ยา่ งไร
ก. เดบติ ถอนใชส้ ว่ นตวั 7,000 บาท เครดิตเจ้าหนี้
ก. ทุน-นกน้อยคงที่ไม่เปลยี่ นแปลง 7,000 บาท
ข. ทุน-นกนอ้ ยลดลง 7,000 บาท ข. เดบติ ถอนใชส้ ่วนตัว 7,000 บาท เครดิตเงินสด
ค. ทุน-นกนอ้ ยเพ่ิมขนึ้ 7,000 บาท 7,000 บาท
ง. ทุน-นกนอ้ ยลดลง 143,000 บาท ค. เดบติ ถอนใชส้ ่วนตวั 7,000 บาท เครดติ ทุน-ปลา
ทอง 7,000 บาท
ง. เดบิตเงินสด 7,000 บาท เครดติ ทนุ -ปลาทอง
7,000 บาท

14. ยอดรวมท้ังสนิ้ ของงบแสดงฐานะการเงนิ ทั้ง 19. โจทย์ประกอบ ใช้ตอบคาถามขอ้ 19-20 19.

สองดา้ นมจี านวนท้งั สิ้นเทา่ ใด รายการวันท่ี 20 มีนาคม 2556 สรปุ การวเิ คราะห์

ก. 143,000 บาท อยา่ งไร

ข. 150,000 บาท ก. เดบิตเงนิ สด 12,000 บาท เครดติ ลูกหน้ี

ค. 223,000 บาท 12,000 บาท

ง. 230,000 บาท ข. เดบติ เงินสด 4,000 บาท เครดิต

ลูกหนี้ 4,000 บาท

ค. เดบติ เงินฝากธนาคาร 12,000 บาท เครดิต

ลูกหนี้ 12,000 บาท

ง. เดบติ เงินฝากธนาคาร 4,000 บาท เครดิต

ลกู หนี้ 4,000 บาท

15. จากโจทยส์ รุปไดว้ า่ รายการดังกลา่ วมี 20. รายการขา้ งตน้ ลกู หนย้ี งั คา้ งชาระหนเ้ี ป็น

ผลกระทบตอ่ สินทรัพย์ หน้สี ิน และส่วนของเจา้ ของ จานวนเทา่ ใด

อย่างไร ก. ไมม่ คี ้างชาระ

ก. สินทรัพยเ์ พม่ิ ส่วนของเจา้ ของเพิม่ ข. 4,000 บาท

ข. สนิ ทรพั ยล์ ด สว่ นของเจา้ ของเพิ่ม ค. 8,000 บาท

ค. สินทรัพยเ์ พิ่ม ส่วนของเจ้าของลด ง. ผิดทกุ ขอ้

ง. สนิ ทรพั ยล์ ด สว่ นของเจา้ ของลด

4 การบันทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไปของธุรกิจบรกิ ารเจา้ ของคนเดียว

1. สมุดรายวันขัน้ ต้นเลม่ ใดท่ใี ช้จดบนั ทกึ รายการคา้ 6. การเพิม่ ข้นึ ของสนิ ทรพั ย์ จะบนั ทกึ บญั ชดี า้ นใด

ต่าง ๆ ท่เี กิดขน้ึ เปน็ ครง้ั แรก ก. ดา้ นเดบติ

ก. สมดุ รายวันขัน้ ตน้ ข. ด้านเครดติ

ข. สมุดรายวันเฉพาะ ค. ทงั้ สองด้าน

ค. สมุดแยกประเภทท่ัวไป ง. ไม่ตอ้ งบันทึก

ง. ถูกทุกข้อ

2. ขอ้ ใดหมายถึง Special Journal 7. การเพิ่มขึ้นของสินทรพั ย์ จะบนั ทึกบญั ชดี า้ นใด

ก. สมุดรายวนั ทั่วไป ก. ดา้ นเดบิต

ข. สมุดรายวันเฉพาะ ข. ดา้ นเครดติ

ค. สมุดรายวันขนั้ ต้น ค. ทัง้ สองดา้ น

ง. สมดุ แยกประเภททวั่ ไป ง. ไม่ต้องบนั ทกึ

3. Sales Journal คอื ขอ้ ใด 8. รายการเปิดบัญชไี ด้แก่

ก. สมุดรายวนั รับเงิน ก. สม้ จีนจ่ายเงนิ เดือนคนงาน

ข. สมดุ รายวนั ขายสินคา้ ข. สม้ เปรยี้ วถอนใช้สว่ นตวั

ค. สมุดรายวนั ซ้อื สนิ คา้ ค. มดดํานาํ เงินสดมาลงทนุ

ง. สมุดรายวนั จา่ ยเงิน ง. องนุ่ รบั เงินคา่ บริการเสริมสวย

4. General Journal คอื ข้อใด 9. นายนิดนาํ เงนิ สดมาลงทนุ ในกจิ การ 35,000 บาท

ก. สมดุ รายวนั สง่ คนื สามารถบันทกึ บัญชโี ดย

ข. สมุดรายวนั รับคืน ก. เดบิตเงนิ สด 35,000 บาท เครดิตทุน-นายนดิ

ค. สมดุ รายวันเฉพาะ 35,000 บาท

ง. สมดุ รายวนั ทวั่ ไป ข. เดบติ ทนุ -นายนิด 35,000 บาท เครดติ เงนิ สด

35,000 บาท

ค. เดบติ เงนิ สด 35,000 บาท เครดิตรายได้

35,000 บาท

ง. เดบติ ถอนใชส้ ว่ นตัว 35,000 บาท เครดิตเงนิ สด

35,000 บาท

5. หลักการบนั ทึกรายการอย่างไรทีไ่ ม่เป็นท่ีนยิ มใช้ 10. นางเจนจริ านําเงินสด 20,000 บาท เงินฝาก

ก. บัญชีต้นทุนๆ ธนาคาร 35,000 บาท เคร่ืองตกแตง่ 18,000 บาท

ข. บญั ชขี ายสินคา้ เจ้าหน้กี ารค้า 5,500 บาท และเงนิ กู้ 9,000 บาท มา

ค. บัญชีเดี่ยว ลงทุน อยากทราบว่ามสี นิ ทรพั ยท์ ้ังสนิ้ เท่าใด

ง. บญั ชีคู่ ก. 73,000 บาท

ข. 58,500 บาท

ค. 55,000 บาท

ง. 14,500 บาท

11. จากข้อ 10 มีหนีส้ นิ ทง้ั สน้ิ จานวนเท่าใด 16. นายโชคดนี าเงนิ สด 30,000 บาท อปุ กรณ์
ก. 5,500 บาท สานักงาน 12,000 บาท เงินกู้ 8,000 บาท เจ้าหนี้
ข. 9,000 บาท 5,000 บาท มาลงทุน ทุนของนายโชคดีคือข้อใด
ค. 14,500 บาท ก. 55,000 บาท
ง. 73,000 บาท ข. 42,000 บาท
ค. 29,000 บาท
ง. 13,000 บาท

12. จากข้อ 10 อยากทราบว่านางเจนจริ ามที นุ 17. จากข้อ 16 หน้ีสนิ ภายนอกคอื ขอ้ ใด
จานวนเท่าใด ก. 5,000 บาท
ก. 14,500 บาท ข. 8,000 บาท
ข. 55,500 บาท ค. 12,000 บาท
ค. 58,500 บาท ง. 30,000 บาท
ง. 73,000 บาท

13. สง่ บลิ เรียกเก็บเงินจากลูกค้าคา่ บริการท่คี ้าง 18. หนี้สนิ ภายในคอื ข้อใด
ชาระ สามารถบันทึกบญั ชีโดย ก. 5,000 บาท
ก. เดบิตเจ้าหน้ี เครดิตเงนิ สด ข. 8,000 บาท
ข. เดบิตเงนิ สด เครดิตเจ้าหนี้ ค. 12,000 บาท
ค. เดบติ ลกู หน้ี เครดติ เงินสด ง. 30,000 บาท
ง. เดบติ ลกู หน้ี เครดติ รายไดค้ า่ บรกิ าร

14. จา่ ยค่าไฟฟ้า สามารถบนั ทึกบัญชโี ดย 19. Single-entry book-keeping คือขอ้ ใด
ก. เดบิตลูกหนี้ เครดติ รายได้
ข. เดบิตค่าไฟฟา้ เครดติ เจา้ หน้ี ก. หลักการบญั ชีเดย่ี ว
ค. เดบติ คา่ ไฟฟ้า เครดติ เงินสด ข. หลกั การบัญชคี ู่
ง. เดบติ เจา้ หนี้ เครดติ เงินสด ค. รายการเปดิ บญั ชี
ง. รายการปกติของกจิ การ

15. นางสมใจถอนเงนิ จากบญั ชสี ว่ นตัวของตนเอง 20. Journal Entry คอื ขอ้ ใด
ไปใช้ส่วนตัว สามารถบนั ทึกบัญชโี ดย ก. หลักการบัญชเี ดี่ยว
ข. หลกั การบัญชีคู่
ก. เดบิตถอนใชส้ ว่ นตัว เครดติ เงินสด ค. รายการเปิดบัญชี
ข. เดบิตเงินสด เครดติ ถอนใช้ส่วนตัว ง. รายการปกตขิ องกจิ การ
ค. เดบิตทุน-นางสมใจ เครดติ ถอนใช้ส่วนตวั
ง. ไมบ่ ันทึกรายการ

5 ไมม่ ขี อ้ มลู 6.Credit Balance คือขอ้ ใด
6. งบทดลอง ก. เครดิตมากกวา่ เดบิต
1.งบทดลองประกอบดว้ ย ข. เดบติ มากกว่าเครดติ
ค. รายการที่มียอดรวมดา้ นเดยี ว
ก. สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ ง. เดบติ เทา่ กบั เครดิต
ข. สนิ ทรัพย์ หนสี้ นิ และทนุ
ค. สนิ ทรพั ย์ หน้ีสนิ ทุนและรายได้
ง. สินทรพั ย์หน้สี ินทนุ รายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ย

2.บญั ชีถอนใชส้ ว่ นตวั จดั อยูใ่ นบญั ชหี มวดใด 7.ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของงบทดลอง
ก. หมวด 1 ก. แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดไดท้ นั ท่วงที
ข. หมวด 2 ข. ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการทาํ งบการเงนิ
ค. หมวด 3 ค. แสดงฐานะการเงินของกิจการ
ง. หมวด 4 ง. พสิ ูจนค์ วามถกู ต้องของการบันทึกบญั ชี

3.บญั ชีเงนิ กู้ มยี อดคงเหลืออยดู่ ้านใด 8.งบทดลองคือข้อใด
ก. เดบิต
ข. เครดิต ก. Balance Sheet
ค. ด้านใดกไ็ ด้ ข. Trial Balance
ง. ทําใหห้ นี้เพม่ิ ค. Trial Balance Form
ง. Trial Balance Sheet

4.ขอ้ ใดคอื งบทดลอง 9.บัญชคี า่ แรงงานปรากฏในหมวดใด
ก. แสดงฐานะการเงิน ก. สินทรพั ย์
ข. แสดงผลการดําเนินงาน ข. หน้สี ิน
ค. พสิ ูจน์ความถกู ต้องของข้อมูลทางบญั ชี ค. ทุน
ง. ถูกทุกข้อ ง. คา่ ใชจ้ ่าย

5.บัญชคี า่ พาหนะ มียอดคงเหลือปรากฏอย่ดู า้ นใด 10.บญั ชีลูกหนี้ จดั อยู่หมวดใด
ก. เดบิต ก. สนิ ทรัพย์
ข. เครดติ ข. รายได้
ค. เดบิตหรอื เครดติ กไ็ ด้ ค. หนสี้ นิ
ง. ทุนลด ง. คา่ ใช้จา่ ย

11.ถา้ ยอดรวมเดบติ มากกว่ายอดรวมเครดติ ในสมดุ 16.บัญชีเงนิ กู้เบกิ เกินบัญชี จะปรากฏในงบทดลอง
แยกประเภทท่ัวไป เรียกวา่ อะไร ดา้ นใด
ก. Credit Balance ก. เดบิต
ข. Debit Balance ข. เครดิต
ค. Pencil Footing ค. ทั้งสองดา้ น
ง. Trial Balance ง. ถูกทุกข้อ

12.งบทดลองประกอบดว้ ยบัญชีกีห่ มวด 17.จากข้อ 16 จดั อยู่ในหมวดบัญชใี ด
ก. 5 หมวด ก. สนิ ทรพั ย์
ข. 4 หมวด ข. หนส้ี ิน
ค. 3 หมวด ค. ส่วนของเจ้าของ
ง. 2 หมวด ง. คา่ ใชจ้ า่ ย

13.ข้อใดคอื การหายอดรวมด้วย Pencil Footing 18.บัญชีรายไดค้ า่ บริการ จัดเปน็ บัญชีหมวดใด
ก. เขยี นด้วยดินสอบรรทัดบน ก. สินทรพั ย์
ข. เขยี นด้วยดินสอบรรทดั ถดั ไป ข. รายได้
ค. เขยี นด้วยดินสอชิดเส้นด้านเดบิตและเครดิต ค. คา่ ใชจ้ า่ ย
ง. เขียนด้วยดินสอชดิ เสน้ บรรทดั ง. สว่ นของเจ้าของ

14.Trial Balance Form คอื ขอ้ ใด 19.ถ้าบัญชีแยกประเภทมีรายการเดียว หรือดา้ นเดียว
ก. งบทดลอง ให้รวมยอดตามขอ้ ใด
ข. รูปแบบของงบทดลอง ก. หาผลตา่ งระหว่างด้านเดบิตและเครดิต
ค. ลกั ษณะของงบทดลอง ข. รวมยอดทั้งสองด้านเท่ากัน
ง. ยอดคงเหลอื บญั ชแี ยกประเภท ค. ให้ถือเป็นยอดคงเหลอื ไมต่ ้องรวมดว้ ยดินสอ
ง. ถูกทุกข้อ

15.บัญชหี มวดหนี้สนิ จะอยู่ในงบทดลอง 20.ข้อใดคอื วัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดทาํ งบทดลอง
ก. เดบิต ก. พสิ จู นค์ วามถูกตอ้ งของข้อมูลทางบญั ชี
ข. เครดิต ข. เพอื่ หาผลดาํ เนนิ งาน
ค. ทง้ั สองด้าน ค. เพื่อทราบหนี้สิน หนส้ี นิ และสว่ นของเจ้าของ
ง. ถูกทุกข้อ ง. ถูกทุกข้อ

7.กระดาษทาํ การ 6 ชอ่ ง 6.บญั ชีหมวดหนี้สนิ จะนําไปใส่ในชอ่ งใดของกระดาษ
1.Work Sheet หมายถงึ ข้อใด ทําการ 6 ช่อง
ก. กระดาษทาํ การ ก. งบดลุ ดา้ นเดบติ
ข. งบดลุ ข. งบดลุ ด้านเครดิต
ค. งบกําไรขาดทุน ค. งบกาํ ไรขาดทุน ดา้ นเดบิต
ง. งบการเงนิ ง. งบกําไรขาดทุน ดา้ นเครดติ

2.ข้อใดคือความหมายของกระดาษทําการ 7.บญั ชีหมวดสว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) จะนําไปใส่ในชอ่ ง
ใดของกระดาษทาํ การ 6 ชอ่ ง
ก. แสดงผลการดําเนนิ งาน ก. งบดลุ ดา้ นเดบิต
ข. เปน็ เคร่ืองมอื ช่วยในการจดั ทาํ งบการเงนิ ข. งบดลุ ด้านเครดิต
ค. พสิ ูจน์ความถกู ต้องของงบการเงนิ ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ดา้ นเดบติ
ง. แสดงฐานะการเงนิ ง. งบกําไรขาดทุน ด้านเครดติ
3.ข้อใดคือประโยชน์ของกระดาษทําการ
ก. ประหยดั เวลา 8.บญั ชดี อกเบย้ี จ่าย แสดงยอดในกระดาษทาํ การตาม
ข. ป้องกนั ข้อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึ้นได้ ขอ้ ใด
ค. ทราบผลการดาํ เนนิ งานและฐานะการเงนิ เร็วขึน้ ก. ดา้ นเดบติ ของงบดลุ
ง. ถูกทุกข้อ ข. ด้านเครดติ ของงบดุล
ค. ดา้ นเดบิตของงบกําไรขาดทนุ
4.กระดาษทาํ การประกอบด้วย ง. ด้านเครดติ ของงบกาํ ไรขาดทนุ

ก. งบดุล 9.บญั ชีหมวดสว่ นของเจ้าของ (ถอนใชส้ ่วนตวั ) จะ
ข. งบทดลอง นําไปใสใ่ นชอ่ งใดของกระดาษทาํ การ
ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ก. งบดุล ด้านเดบิต
ง. ถูกทุกข้อ ข. งบดุล ด้านเครดติ
5.บญั ชหี มวดสนิ ทรพั ยจ์ ะนําไปใส่ในช่องใดของ ค. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต
กระดาษทาํ การ 6 ช่อง ง. งบกาํ ไรขาดทนุ ดา้ นเครดิต
ก. งบดลุ ดา้ นเดบติ
ข. งบดลุ ด้านเครดติ 10.บัญชีหมวดรายได้ จะนาํ ไปใส่ในชอ่ งใดของ
ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ด้านเดบิต กระดาษทาํ การ
ง. งบกาํ ไรขาดทนุ ด้านเครดิต ก. งบดุล ด้านเดบติ
ข. งบดุล ดา้ นเครดติ
ค. งบกาํ ไรขาดทุน ด้านเดบติ
ง. งบกาํ ไรขาดทุน ดา้ นเครดติ

11.บญั ชหี มวดคา่ ใชจ้ า่ ย จะนําไปใส่ในชอ่ งใดของ 16.ถา้ ยอดเดบิตมีจํานวนเงินมากกวา่ ดา้ นเครดติ ใน
กระดาษทาํ การ งบกําไรขาดทุนจะมีผลทําให้
ก. งบดลุ ด้านเดบติ ก. กําไรสทุ ธิ
ข. งบดลุ ด้านเครดิต ข. ค่าใชจ้ า่ ย
ค. งบกาํ ไรขาดทนุ ดา้ นเดบติ ค. ยอดคงเหลอื
ง. งบกาํ ไรขาดทุน ด้านเครดิต ง. ถูกทุกข้อ

12.กาํ ไรสทุ ธิจะแสดงยอดด้านใดของกระดาษทํา 17.บัญชีเงินเบิกเกนิ บัญชี แสดงยอดดา้ นใดของ
การ กระดาษทําการ
ก. งบดุล ด้านเดบติ ก. งบดลุ ด้านเครดิต
ข. งบดุล ดา้ นเครดติ ข. งบกําไรขาดทนุ ด้านเดบิต
ค. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต เครดิตงบดุล ค. งบดุลด้านเดบติ
ง. งบกาํ ไรขาดทนุ ด้านเครดิต ง. งบกําไรขาดทุนดา้ นเครดติ

13.ขาดทุนสทุ ธิ หมายถึง 18.บัญชรี ายได้ค่าซักรดี จะนาํ ไปใส่ในช่องใดของ
ก. รายไดม้ ากกว่ารายจ่าย กระดาษทาํ การ
ข. รายได้นอ้ ยกว่ารายจา่ ย ก. งบดุล ดา้ นเดบติ
ค. สนิ ทรัพยม์ ากกวา่ หนส้ี ิน ข. งบดลุ ดา้ นเครดติ
ง. ทุนมากกวา่ สนิ ทรัพย์ ค. งบกาํ ไรขาดทุน ดา้ นเดบิต
ง. งบกาํ ไรขาดทุน ด้านเครดิต
14.เงินกู้ กาํ หนดจา่ ย 2 ปี จัดเปน็ บัญชีประเภท
ก. สนิ ทรพั ย์ 19.บัญชีค่าแรงงาน จะแสดงอยู่ในงบใดของ
ข. หนส้ี ิน กระดาษทําการ
ค. รายได้ ก. งบดุล ด้านเดบติ
ง. คา่ ใชจ้ า่ ย ข. งบดลุ ด้านเครดติ
ค. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต
15.บัญชีดอกเบ้ยี รบั จะแสดงในกระดาษทาํ การ ง. งบกําไรขาดทนุ ดา้ นเครดิต
ตามขอ้ ใด
ก. สนิ ทรัพย์ 20.ถ้าค่าใชจ้ ่ายมียอดรวมมากกว่ารายไดจ้ ะทาํ ให้มี
ข. หนส้ี นิ ผลตา่ งตามขอ้ ใด
ค. รายได้ ก. กาํ ไรสุทธิ
ง. คา่ ใชจ้ ่าย ข. ขาดทุนสทุ ธิ
ค. สว่ นของเจา้ ของเพ่มิ ข้ึน
ง. สว่ นของเจ้าของลดลง

8. การปรบั ปรงุ บัญชี

1.ข้อใดคือรายการท่ีเกดิ ขนึ้ แล้วแต่กิจการยงั ไม่ได้ 6.ขอ้ ใดคอื รายการท่ีกจิ การไดใ้ ห้บริการแก่

บนั ทกึ บัญชี บคุ คลภายนอกไปแล้ว แต่ยังไม่ได้รับชําระเงิน และ

ก. รายไดร้ ับลว่ งหนา้ ยังไม่ไดบ้ ันทึกบัญชี

ข. คา่ ใช้จา่ ยจา่ ยล่วงหนา้ ก. รายได้ค้างรับ

ค. ค่าใชจ้ ่ายค้างจา่ ย ข. รายไดร้ ับลว่ งหน้า

ง. ถกู ทกุ ขอ้ ค. คา่ ใช้จ่ายจ่ายล่วงหนา้

ง. รายได้จ่ายค้างจ่าย

2. ขอ้ ใดคอื ค่าใช้จา่ ย 7.ข้อใดคอื จํานวนเงนิ ทีก่ จิ การจา่ ยไปแลว้ สาํ หรับ

ก. วัสดุสิ้นเปลืองใชไ้ ป สนิ ทรพั ยท์ จี่ ะไดร้ บั ประโยชน์ในอนาคต และจะใช้

ข. ค่าใช้จา่ ยจ่ายลว่ งหนา้ หมดไปในระยะเวลาสั้น

ค. คา่ ใช้จ่ายคา้ งจา่ ย ก. รายไดค้ ้างรบั

ง. รายได้ค้างรบั ข. รายไดร้ ับลว่ งหนา้

ค. คา่ ใช้จ่ายจ่ายล่วงหนา้

ง. รายไดจ้ ่ายคา้ งจ่าย

3.ข้อใดคือการคํานวณหาวสั ดสุ น้ิ เปลอื งใช้ไป 8. ข้อใดเปน็ หนีส้ ินหมนุ เวียน

ก. ตน้ งวด+ซอ้ื เพม่ิ –ปลายงวด ข ก. รายไดค้ า้ งรับ

ข. ตน้ งวด+ซ้ือเพม่ิ +ปลายงวด ข. รายไดร้ บั ลว่ งหน้า

ค. ซื้อเพิม่ +ปลายงวด ง. ค. ค่าใช้จา่ ยจา่ ยล่วงหน้า

ง. ตน้ งวด+ปลายงวด ง. ค่าเผือ่ หน้ีสงสัยจะสญู

4.ขอ้ ใดเปน็ บญั ชีหน้ีสินหมุนเวียน 9.ข้อใดคือรายการท่ีกจิ การรบั เงินมาล่วงหนา้ แล้ว

ก. วัสดสุ น้ิ เปลืองใชไ้ ป แตย่ ังมไิ ดใ้ หบ้ ริการตอบแทนต่อลูกคา้

ข. คา่ ใชจ้ ่ายจา่ ยลว่ งหนา้ ก. รายไดค้ า้ งรับ

ค. ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ข. รายได้รับลว่ งหน้า

ง. รายไดค้ า้ งรับ ค. คา่ ใช้จ่ายจ่ายลว่ งหน้า

ง. รายไดจ้ ่ายคา้ งจ่าย

5.ขอ้ ใดเป็นบัญชีทกี่ จิ การใชป้ ระโยชน์ไปแล้ว 10.ข้อใดบันทกึ บัญชีเปน็ รายได้ทงั้ จาํ นวนและ

ระหว่างงวดบญั ชี แต่ยงั ไมไ่ ดจ้ ่ายเงนิ และมิได้บนั ทึก บันทกึ เปน็ หนี้สินทง้ั จํานวน ณ วันทีก่ จิ การไดร้ ับเงิน

บัญชี ก. รายได้คา้ งรบั

ก. คา่ ใชจ้ ่ายจา่ ยลว่ งหนา้ ข. รายไดร้ บั ล่วงหนา้

ข. คา่ ใชจ้ า่ ยค้างาจา่ ย ค. ค่าใช้จ่ายจา่ ยลว่ งหน้า

ค. รายไดค้ า้ งรบั ง. รายได้จ่ายคา้ งจ่าย

ง. รายได้รบั ล่วงหน้า

11.ขอ้ ใดเปน็ บัญชปี รับมลู ค่าท่ีมยี อดดลุ ทางดา้ น 16. ข้อใดตอ่ ไปน้ตี อ้ งบันทึกรายการกลับบัญชี

เครดติ ก. ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า

ก. หน้สี งสัย ข. รายไดร้ ับลว่ งหนา้

ข. คา่ เผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ ค. ค่าใช้จ่ายคา้ งจา่ ยและรายไดค้ า้ งรับ

ค. หนส้ี ูญ ง. ถูกทุกข้อ

ง. ลกู หนี้

12.กิจการแหง่ หนึ่งมียอดขายเชอ่ื 100,000 บาท 17.ขอ้ ใดเปน็ บญั ชชี ั่วคราว ( Temporary

รับคืน 2,000 บาท และส่วนลดจ่าย 1,000 บาท ให้ account )

ตง้ั หนส้ี งสัย ก. บัญชสี ินทรพั ย์

ก. 470 บาท ข. 970 บาท ข. บญั ชรี ายได้และคา่ ใช้จา่ ย

ค. 1,000 บาท ง. 1,470 บาท ค. บญั ชีหน้ีสนิ

ง. บัญชีทนุ

13.กจิ การแห่งหน่ึงมยี อดลกู หน้ีจากการขายเชือ่ 18. ขอ้ ใดเปน็ บญั ชีแท้ ( Real account )

200,00 บาท รับคืน 2,000 บาท ส่วนลดจา่ ย ก. บญั ชสี นิ ทรพั ย์และหนส้ี นิ

1,000 บาท ให้ตง้ั หนี้สงสัยจะสญู 5% ของยอด ข. บญั ชีรายได้

ลูกหนปี้ ลายงวด (ลูกหนี้ยกมา 50,000 บาท ค่าเผือ่ ค. บญั ชคี ่าใชจ้ ่าย

หนีส้ งสยั จะสญู ยกมา 3,000 บาท) ต้งั หนสี้ งสัยจะ ง. ถูกทุกข้อ

สญู จํานวนเทา่ ใด

ก. 10,000 บาท ข. 9,400 บาท

ค. 6,900 บาท ง. 6,850 บาท

14.กจิ การซ้อื เครือ่ งจักรราคาทุน 300,000 บาท 19. Prepaid expenses คอื ขอ้ ใด

ประมาณว่าจะมอี ายุการใชง้ านได้ 10 ปี และขาย ก. คา่ ใช้จ่ายคา้ งจา่ ย

เป็นเศษซากได้ 10,000 บาท คิดค่าเส่ือมราคาต่อปี ข. รายไดค้ ้างรับ

จาํ นวนเทา่ ใด ค. ค่าใชจ้ ่ายจา่ ยล่วงหนา้

ก. 10,000 บาท ข. 29,000 บาท ง. ถูกทุกข้อ

ค. 30,000 บาท ง. 31,000 บาท

15.ข้อใดตอ่ ไปนี้ไม่ต้องบันทึกรายการกลับบัญชี 20. Doubtful Account คือข้อใด

ก. รายได้คา้ งรบั ข. รายไดร้ บั ก. วัสดสุ นิ้ เปลืองใช้ไป

ล่วงหน้า ข. ค่าเสอ่ื มราคา

ค. ค่าเส่ือมราคา ง. ค่าใช้จา่ ย ค. หนีส้ งสยั จะสูญ

ล่วงหนา้ ง. รายได้รับล่วงหน้า

9การปิดบัญชี

1. การเปดิ บญั ชีคอื ขอ้ ใด 6. ข้อใดเป็นบัญชที ี่โอนเขา้ บัญชที ุน

ก. Closing Entries ก. อาคาร

ข. Closing ข. รถยนต์

ค. Opening Entries ค. เงนิ เดือน

ง. Adjusting Entries ง. เงินถอนใช้ส่วนตัว

2. ขอ้ ใดคือการทําให้ยอดรวมของด้านเดบิตเท่ากับ 7. การปดิ บญั ชีค่าใช้จ่าย ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

ยอดรวมของด้านเครดิตของแตล่ ะหมวดบญั ชี ก. เดบิตทุน เครดติ ค่าใชจ้ า่ ย

ก. วงจรบัญชี ข. เดบติ ค่าใชจ้ า่ ย เครดิตทุน

ข. การบันทกึ บัญชี ค. เดบิตกําไรขาดทุน เครดิตคา่ ใชจ้ า่ ย

ค. การปดิ บญั ชี ง. เดบิตค่าใช้จ่าย เครดิตกําไรขาดทุน

ง. การทาํ งบการเงิน

3. ข้อใดคอื บัญชีกาํ ไรขาดทุน 8. บญั ชีกาํ ไรขาดทุน เรียกชอื่ อีกอย่างหนึง่ ว่า

ก. Profit Account อย่างไร

ข. Loss Account ก. กาํ ไรขาดทนุ

ค. Profit and Loss Account ข. ขาดทุนสทุ ธิ

ง. Profit sheet ค. สรปุ ผลกําไรขาดทุน

ง. สรปุ ยอดคงเหลอื

4. ขน้ั ตอนในการปิดบญั ชีมีทงั้ ส้ินก่ีขัน้ ตอน 9. ผลตา่ งดา้ นเดบิตกับเครดิต ในบัญชกี ําไรขาดทนุ

ก. 3 ขั้นตอน จะโอนปดิ อยา่ งไร ถา้ ดา้ นเครดติ สงู กวา่ เดบิต

ข. 4 ขนั้ ตอน ก. เดบิตกําไรขาดทนุ เครดติ ทุน

ค. 5 ขั้นตอน ข. เดบติ ทุน เครดิตกําไรขาดทนุ

ง. 6 ข้นั ตอน ค. เดบติ รายได้ เครดิตกําไรขาดทุน

ง. เดบติ ค่าใชจ้ ่าย เครดติ กาํ ไรขาดทนุ

5. บญั ชรี ายได้จะบันทกึ ปิดเขา้ บัญชีใด 10. ถา้ มผี ลขาดทุนสุทธิเกดิ ข้นึ จะโอนปดิ บัญชี
ก. กําไรขาดทนุ อยา่ งไร
ข. ทนุ
ค. เงนิ ถอนใชส้ ว่ นตัว ก. เดบิตทุน เครดิตขาดทุนสทุ ธิ
ง. คา่ ใช้จา่ ย ข. เดบติ ขาดทนุ สทุ ธิ เครดติ กําไรขาดทนุ
ค. เดบิตทุน เครดติ กาํ ไรขาดทนุ
ง. เดบติ ขาดทุนสุทธิ เครดิตทุน

11. ปกติบญั ชรี ายไดจ้ ะมียอดดุลทางดา้ นใด 16. ขนั้ ตอนใดในการทําบญั ชที ีส่ ําคญั มาก
ก. เดบติ ก. การวเิ คราะห์รายการ
ข. เครดิต ข. การบันทกึ รายการ
ค. ยอดเทา่ กันทั้งสองดา้ น ค. การผา่ นรายการ .
ง. ถกู ทั้งข้อ ก. และขอ้ ข. ง. การปดิ บญั ชี

12. Nominal Account คอื ขอ้ ใด 17. Jourmalizing Original Entries คือขอ้ ใด
ก. บัญชที นุ ก. การบนั ทกึ รายการลงในสมุดบัญชี
ข. บญั ชีสนิ ทรัพย์
ค. บญั ชีเจา้ หนี้ ขนั้ ตอน
ง. บญั ชถี อนใชส้ ่วนตวั ข. การปรับปรงุ บญั ชีวันสน้ิ งวด
ค. การจดั ทาํ งบการเงนิ
13. ขอ้ ใดไม่มลี กั ษณะเป็นบญั ชีทแ่ี ทจ้ รงิ ง. การจดรายละเอยี ดคา่ ใชจ้ ่าย
ก. บญั ชีรายไดบ้ ริการ
ข. บัญชีเครอ่ื งตกแต่ง 18. ในวันสนิ้ งวดรายการใดท่ีบันทึกและผ่าน
ค. บัญชีเจา้ หนี้ รายการแลว้ ยงั ไมถ่ กู ต้อง ควรจะทาอยา่ งไร
ง. บญั ชเี งินสด
ตอ่ ไป
14. งบทดลองหลงั ปิดบัญชจี ะแสดงเฉพาะ ก. บันทึกรายการใหม่
ก. สนิ ทรพั ย์ ข. เปลี่ยนแปลงชอื่ บญั ชี
ข. หนส้ี ินและทุน ค. ปรับปรงุ รายการ
ค. รายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ย ง. ผดิ ทุกข้อ
ง. ถูกทั้งขอ้ ก. และข้อ ข.
15. Accounting Cycle คือขอ้ ใด 19. ข้อใดคืองบการเงิน
ก. กระแสการเงิน
ก. การปิดบญั ชี ข. งบกําไรขาดทนุ
ข. การเปิดบัญชี ค. งบดลุ
ค. วงจรบญั ชี ง. ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.
ง. การบันทกึ บัญชี
20. การจดั ทาํ งบทดลองหลังการปดิ บญั ชี ถ้างบ
ถกู ตอ้ งจะแสดงรายการอย่างไร
ก. ยอดเดบติ มากกวา่
ข. ยอดเครดิตมากกว่า
ค. ยอดเดบติ กบั เครดิตเท่ากัน
ง. ผดิ ทุกขอ้

แผนการจดั การเรียนรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 11
รวม 8 ชั่วโมง
ช่ือหนว่ ย รายการปรบั ปรุงบญั ชี
สอนคร้งั ที่ 15-16
เรื่อง รายการปรบั ปรุงบัญชี จาํ นวน 8 ช่ัวโมง

1. สาระสาคญั

การปรับปรุงบัญชีเป็นการปรับปรุงจํานวนเงินที่บันทึกไว้ในบัญชีให้ถูกต้องก่อนการจัดทํางบการเงิน ซ่ึงต้อง
บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปท่ีเก่ียวข้อง โดยจะต้องทําในวันส้ินงวดบัญชี เน่ืองจาก
จะมีผลทําให้งบการเงินแสดงใหเ้ หน็ วา่ กิจการมีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ ณ วันสิ้นงวดจํานวนเท่าใด และทํา
ให้ทราบว่ากิจการมีผลการดําเนินงานอย่างไรบ้าง รายการปรับปรุงที่จําเป็น ได้แก่ รายได้รับล่วงหน้า รายได้ค้างรับ
ค่าใชจ้ ่ายลว่ งหน้า ค่าใช้จา่ ยคา้ งจ่าย หนี้สงสยั จะสญู วสั ดุสํานกั งาน และค่าเสอื่ มราคา

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

เขา้ ใจหลกั การปรบั ปรงุ บัญชี

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรียนร้)ู

3.1 ด้านความรู้
3.1.1 อธิบายเกณฑก์ ารบนั ทึกบัญชไี ด้
3.1.2 อธบิ ายความหมายและบอกประเภทของรายการ ปรบั ปรุงบญั ชไี ด้
3.1.3 คาํ นวณและบันทึกบัญชีรายได้รบั ลว่ งหน้าได้
3.1.4 คาํ นวณและบนั ทึกบัญชีรายไดค้ ้างรบั ได้
3.1.5 คาํ นวณและบนั ทึกบัญชีค่าใช้จา่ ยล่วงหนา้ ได้
3.1.6 คํานวณและบนั ทกึ บญั ชีค่าใชจ้ ่ายคา้ งจ่ายได้
3.1.7 คํานวณและบันทึกบัญชีหนีส้ งสัยจะสญู ได้
3.1.8 คํานวณและบันทึกบัญชวี ัสดสุ าํ นกั งานได้
3.1.9 คาํ นวณและบันทกึ บัญชคี า่ เสือ่ มราคาได้

3.2 ดา้ นทกั ษะ
3.2.1 เข้าใจหลักการปรบั ปรงุ บัญชี

3.3 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
3.3.1 นกั ศกึ ษาเห็นความสําคัญและเขา้ ใจถงึ เหตุผลของการทาํ บญั ชี
3.3.2 นักศกึ ษามคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าที่

แผนการจดั การเรยี นรู้ม่งุ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 11
รวม 8 ชัว่ โมง
ชอ่ื หนว่ ย รายการปรบั ปรุงบัญชี สอนครัง้ ที่ 15-16
จํานวน 8 ชั่วโมง
เร่อื ง รายการปรับปรงุ บัญชี
รายได้
3.4 การประยุกต์ 3D และน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คา้ งรับ
3.4.1 ผู้เรยี นมีการทําเป็นขัน้ ตอน การทาํ ตามลาํ ดบั ข้ัน
3.4.2 ผู้เรียนมีวนิ ยั มคี วามประหยดั
3.4.3 ผสู้ อนสอดแทรกปรชั ญาเกย่ี วกับความประหยดั อดออม

4. เนอ้ื หาสาระการเรียนรู้

4.1 เกณฑ์การบันทึกบญั ชี

4.2 ความหมายและประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชี
4.3 รายไดร้ บั ลว่ งหนา้
4.4 รายได้คา้ งรบั
4.5 ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า

เกณฑก์ าร ความหมายและประเภท รายไดร้ บั
บนั ทึกบญั ชี ของรายการปรับปรงุ บญั ชี ลว่ งหนา้

รายการปรบั ปรงุ บญั ชี

ค่าใชจ้ า่ ยค้างจ่าย หนส้ี งสยั จะสูญ วสั ดสุ าํ นักงาน ค่าเสอื่ มราคา

5 กิจกรรมการเรยี นการสอน

5.1 ข้นั นําเขา้ สูบ่ ทเรียน(M)
นาํ เข้าส่บู ทเรยี นโดยกลา่ วถึงการปรบั ปรงุ บญั ชี

5.2 ขน้ั การจดั เรียนร้(ู I)
5.2.1 ทําแบบประเมินผลก่อนการเรยี น
5.2.2 ผ้สู อนและผเู้ รียนร่วมกันอภิปรายเรื่องเก่ียวกับการปรับปรุงบัญชี
5.2.3 ผู้เรียนศึกษาใบความรู้

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุง่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 11
รวม 8 ช่วั โมง
ชือ่ หนว่ ย รายการปรบั ปรงุ บญั ชี
สอนครงั้ ที่ 15-16

เรื่อง รายการปรับปรงุ บัญชี จาํ นวน 8 ชั่วโมง

5.3 ขนั้ สรุป(A)
5.3.1 แบ่งกลุม่ ผู้เรียนมารายงานหน้าชั้นเรยี น

5.4 การวัดผลและประเมนิ ผล(P)
5.4.1 การสงั เกต
 ความตง้ั ใจและสนใจของผู้เรยี น
 ความร่วมมอื ในการอภิปราย
 การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตุผล
5.4.2 การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
 กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 แบบทดสอบเพือ่ ประเมนิ ผลหลังการเรียนรู้
5.4.3 การทดสอบดว้ ยวาจาและขอ้ เขยี น
 ตรวจแบบทดสอบ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60
 ต้ังคาํ ถามใหต้ อบและอธิบาย ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80

6. สอื่ การการเรียนร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้

6.1 สอ่ื สิง่ พมิ พ์
หนงั สอื เรยี นวชิ าหลักการบัญชีเบ้ืองต้น 1 : สาํ นกั พิมพ์เอมพนั ธ์
หนงั สือเรยี นวิชา การบัญชี 1 อาํ นวย ศรีสุโข บริษทั บญุ ศิริการพมิ พ์ กรุงเทพฯ 2551

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)

7.1 ใบความรู้
7.2 ใบทดสอบ
7.3 ใบส่ังงาน

8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วิชาอ่นื

8.1 วชิ าภาษาไทย เกยี่ วกับการใชภ้ าษาด้านการพดู การอ่าน และการเขียน
8.2 วิชาคณิตศาสตร์ เกย่ี วกับการคํานวณ
8.3 วชิ าภาษาองั กฤษ ดา้ นคําศพั ท์ทางบญั ชี

แผนการจัดการเรียนรูม้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 11

ชือ่ หน่วย รายการปรบั ปรุงบญั ชี รวม 8 ช่วั โมง
สอนครงั้ ท่ี 15-16

เร่อื ง รายการปรบั ปรุงบัญชี จํานวน 8 ชัว่ โมง

9. การวดั ผลและประเมินผล

9.1 วิธกี าร ดําเนนิ การวัดผลในช่วงเวลา

(1) ก่อนเรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรียน

(2) ระหวา่ งเรียน โดยการถามตอบและการสังเกตการณป์ ฏบิ ัตงิ าน

(3) หลงั เสรจ็ สน้ิ การเรียน โดยทาํ แบบทดสอบ

9.2 เกณฑก์ ารประเมนิ

(1) ผเู้ รียนมีเวลาเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

(2) ผเู้ รียนมคี ะแนนจากแบบทดสอบหลังเรยี นรอ้ ยละ 80

(3) ผู้เรียนบนั ทกึ บัญชกี ารซือ้ ขายสินคา้ สมบรู ณแ์ ละถกู ตอ้ งทกุ ครั้ง

10. บนั ทึกหลังการเรยี นรู้

10.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้

1. เนอ้ื หาสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

2. สามารถนาํ ไปใชป้ ฏิบตั กิ ารสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรยี นการสอน

3. ส่อื การสอนเหมาะสมดี

10.2 ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

1. นักศกึ ษาสว่ นใหญ่มีความสนใจใฝร่ ู้ เขา้ ใจในบทเรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย ตอบคําถาม

ในกลมุ่ และร่วมกันแสดงความคดิ เห็น

2. นักศึกษากระตอื รือรน้ และรับผดิ ชอบในการทํางานกลุ่มเพอ่ื ใหง้ านสําเร็จทันเวลา

ทกี่ ําหนด

10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้

1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลกั สตู ร

2. แผนการสอนและวิธกี ารสอนครอบคลมุ เน้อื หาการสอนทําใหผ้ ูส้ อนสอนได้อย่างม่ันใจ

3. สอนไดท้ นั ตามเวลาทีก่ าํ หนด

………………………………………………
ผบู้ นั ทกึ การสอน

เบญจมาศ อภิสทิ ธ์ิภญิ โญ หลกั การบัญชี ซีเอด็ ยเู คช่นั กรุงเทพฯ 2556
มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เอกสารการสอนชุดวชิ าการบญั ชขี ั้นตน้ สานักพมิ พ์
มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช กรงุ เทพฯ 2552
สพุ าดา สริ ิกุตตา. การบัญชี 1. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2543
อานวย ศรสี ุโข การบัญชี 1 บรษิ ทั บุญศิริการพิมพ์ กรุงเทพฯ 2551

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นท่ี 1/18 171
ช่อื วิชา : การบัญชเี บ้ืองต้น รหัสวิชา 30200 – 0001

งาน : รายการปรับปรงุ บญั ชี

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. อธบิ ายเกณฑก์ ารบนั ทกึ บัญชไี ด้
2. อธิบายความหมายและบอกประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชไี ด้
3. คํานวณและบนั ทกึ บญั ชีรายได้รับลว่ งหนา้ ได้
4. คาํ นวณและบนั ทึกบัญชรี ายไดค้ า้ งรับได้
5. คาํ นวณและบันทกึ บญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายลว่ งหนา้ ได้
6. คํานวณและบันทึกบัญชคี า่ ใชจ้ ่ายคา้ งจ่ายได้
7. คํานวณและบันทกึ บญั ชีหน้สี งสัยจะสูญได้
8. คาํ นวณและบนั ทกึ บัญชีวสั ดสุ ํานักงานได้
9. คาํ นวณและบนั ทึกบัญชคี า่ เสือ่ มราคาได้

เนอื้ หาสาระ
เกณฑก์ ารบนั ทึกบญั ชี

เกณฑ์การบันทึกบัญชี โดยการบนั ทกึ บัญชีทจ่ี ะนาํ มาใช้ในรายการปรับปรงุ นี้ ได้แก่
1) เกณฑ์เงินสด (Cash basis) คือ วิธีการบันทึกรายได้และค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับเงินสด หรือจ่ายเงินสด

ไปจริง โดยไม่คาํ นึงถงึ งวดเวลาท่ีเกี่ยวข้องของเงินที่ได้รับมาหรอื จ่ายไป
2) เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) หรือเกณฑส์ ิทธิ คือ วิธีการบัญชีท่ีใช้เป็นหลักในการพิจารณาเพ่ือบันทึก

รายได้และค่าใช้จ่ายให้อยู่ในงวดเวลาต่างๆ โดยคํานึงถึงรายได้ที่พึงรับและค่าใช้จ่ายที่พึงจ่าย เพื่อให้แสดงผลการ
ดําเนนิ งานของแตล่ ะงวดนน้ั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยไมค่ ํานึงถึงรายรบั และรายจา่ ยท่ีเป็นเงินสดว่าได้เงินมาแล้วหรือจ่ายเงิน
ไปแลว้ หรอื ไมต่ ามเกณฑ์เงินสด

การวดั ผลการดาํ เนนิ งานโดยใชเ้ กณฑ์เงินสด จะไมม่ กี ารปรับปรุงรายการในบัญชีตอนสน้ิ งวดเลย
เพราะรายได้และคา่ ใชจ้ ่ายจะยึดถอื จาํ นวนเงนิ สดที่ไดร้ ับและจ่ายไปเปน็ เกณฑ์ โดยรายไดจ้ ะถือตาม
รายการทีไ่ ดร้ บั ในงวดบัญชนี นั้ ทีไ่ ดร้ ับมาเปน็ เงนิ สดทง้ั หมด เช่นเดยี วกับค่าใชจ้ า่ ยที่ถือตามรายการทีไ่ ด้จ่าย
ไปเปน็ เงนิ สด โดยไมค่ าํ นงึ ถึงรายได้รบั ลว่ งหน้า รายไดค้ ้างรบั คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหนา้ คา่ ใช้จา่ ยคา้ งจ่าย
ตลอดจนรายการคา้ อื่นๆ ท่เี กย่ี วข้องเปน็ รายการรายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายของงวดน้ันเพยี งแต่ยงั ไมไ่ ดร้ ับหรอื
จ่ายเงินสดเทา่ น้ัน ซงึ่ ตามเกณฑเ์ งนิ สดน้จี ะใหผ้ ลกาไรขาดทนุ ท่ไี มถ่ ูกต้องตามความเปน็ จริงเหมอื นเกณฑ์
คงค้าง รายได้ตามเกณฑ์คงค้างเปน็ รายไดท้ ่ีเปน็ ผลจากการขายสินค้าหรอื บริการทไ่ี ด้ใหแ้ ก่ลกู ค้าในงวดนั้น
และคา่ ใชจ้ า่ ยกเ็ ป็นสนิ คา้ หรอื บรกิ ารท่ีไดใ้ ชป้ ระโยชน์หมดสิ้น เพือ่ กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ในงวดนนั้ ดงั นั้น กาํ ไร
ขาดทนุ ตามเกณฑ์นี้จงึ เป็นผลการดาํ เนนิ งานท่แี ท้จริงประจํางวดบัญชนี ั้น

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
แผ่นท่ี 2/18 172
ช่ือวชิ า : การบญั ชเี บ้ืองตน้ รหสั วิชา 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรุงบัญชี

ด้วยเหตุนี้กิจการโดยทัว่ ไปจงึ นยิ มใช้เกณฑค์ งค้างในการวดั ผลการดาํ เนินงาน เพราะใหผ้ ลกาํ ไร
ขาดทุนท่ีใกล้เคยี งความเป็นจริงมากกวา่

การวดั ผลการดําเนนิ งานตามเกณฑค์ งค้างจะต้องทําการปรบั ปรงุ รายการ (Adjusting Entries)
ต่างๆ ในวันสน้ิ งวดบญั ชี เพอ่ื ให้ไดร้ ายได้และคา่ ใชจ้ ่ายที่ควรจะเป็นจริงอยา่ งทสี่ ดุ สาหรบั นาํ ไป
เปรียบเทียบเพ่อื หากําไรหรอื ขาดทนุ ประจํางวดตอ่ ไป การคํานวณรายได้จะต้องคาํ นึงถึงรายได้รบั ลว่ งหนา้
และรายไดค้ า้ งรบั สว่ นการคาํ นวณคา่ ใชจ้ ่ายจะต้องคํานึงถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหนา้ ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจา่ ย วัสดุ
สิ้นเปลืองใชไ้ ป ค่าเสอื่ มราคา และหนส้ี งสยั จะสูญ

กล่าวโดยสรปุ การปรบั ปรุงรายการมีสาเหตุทสี่ าํ คญั 2 ประการ คือ
1. รายการค้าทเี่ กดิ ขึน้ และไดจ้ ดบันทึกในบญั ชีระหว่างงวดแล้ว แต่รายการเหลา่ นนั้ ยังมีประโยชน์
ทางเศรษฐกิจในงวดตอ่ ไป
2. รายการคา้ ทเี่ กดิ ขนึ้ แล้ว แต่กจิ การยังไม่ได้บนั ทึกรายการในบัญชีเลย
วธิ ีการปรับปรงุ บัญชี

วิธกี ารพิจารณารายการทต่ี ้องปรบั ปรุงตอนสนิ้ งวด จึงแยกเปน็ 2 กลุ่ม และมีวธิ ีการปรบั ปรุงบัญชี ดงั น้ีคอื
กลมุ่ ท่ี 1 การปรับปรงุ รายการทไ่ี ด้บนั ทึกไว้ในบัญชเี รียบร้อยแลว้ ในระหว่างงวด มวี ธิ ีปรับปรุง ดงั น้ี

1.1 ปรบั ปรุงโดยการเปลีย่ นแปลงรายการจากบญั ชปี ระเภทสินทรพั ยเ์ ป็นบัญชีประเภทคา่ ใช้จา่ ย
หมายถึง รายการท่บี ันทึกไว้ในบัญชีสนิ ทรพั ย์ ณ วันเกิดรายการ และหลังจากนั้นสนิ ทรัพยเ์ หลา่ นน้ั บางส่วนได้ถกู นําไปใช้
ประโยชนใ์ นการดําเนนิ งาน เมือ่ ถึงวนั ส้นิ งวดจงึ ตอ้ งทําการปรบั ปรงุ รายการให้ถูกตอ้ งเท่าจํานวนท่ีคาดว่าจะได้รับคืน โดย
การโอนจํานวนสินทรพั ย์สว่ นทไี่ ด้ใหป้ ระโยชนแ์ ลว้ เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยประจาํ งวดนน้ั ไดแ้ ก่ รายการค่าใช้จา่ ยล่วงหน้า คา่ เสอื่ ม
ราคาสนิ ทรพั ย์ วัสดุสนิ้ เปลืองใชไ้ ป และหนีส้ งสัยจะสูญ

1.2 ปรบั ปรงุ โดยการเปลย่ี นแปลงรายการจากบัญชปี ระเภทหนส้ี นิ เปน็ บัญชปี ระเภทรายได้
หมายถึง รายการทบ่ี ันทึกไวเ้ ป็นบัญชหี น้ีสนิ ณ วันเกิดรายการ และหลังจากน้ันกิจการได้ให้บรกิ ารแก่ลกู ค้าบางสว่ นหรือ
ทัง้ หมด เมือ่ ถึงวันสิน้ งวดจงึ ต้องทาํ การปรับปรุงโดยการโอนหน้สี ินสว่ นทีไ่ ด้ให้บริการแลว้ เปน็ รายไดป้ ระจํางวด ไดแ้ ก่
รายการประเภทรายได้รับล่วงหน้า เช่น คา่ เชา่ รับล่วงหนา้ เมือ่ ถงึ วนั สนิ้ งวดต้องโอนค่าเชา่ รบั ลว่ งหน้าสว่ นทใ่ี ห้บรกิ ารแลว้
เป็นรายได้ค่าเช่า เป็นตน้

กลมุ่ ท่ี 2 การปรบั ปรุงรายการที่ยงั มไิ ด้เคยบันทึกไว้ในบัญชรี ะหว่างงวดเลย แตร่ ายการเหล่านน้ั ไดเ้ กดิ ขึน้ แล้ว
จึงตอ้ งปรับปรุงโดยสรา้ งรายการข้ึน ณ วันส้นิ งวด ซึ่งมวี ิธปี รับปรงุ ดงั น้ี

2.1 ปรบั ปรงุ โดยตั้งรายการรายได้คา้ งรบั เปน็ รายไดป้ ระจางวด หมายถึง รายการทก่ี ิจการได้
ให้บรกิ ารแลว้ แต่ยงั ไมป่ รากฏรายการรายได้ในบัญชี เชน่ ดอกเบ้ียค้างรับ ค่าบริการคา้ งรับ เป็นต้น

2.2 ปรับปรุงโดยตัง้ รายการค่าใช้จ่ายค้างจา่ ยเปน็ ค่าใชจ้ ่ายประจางวด หมายถงึ รายการทก่ี ิจการ
ไดร้ บั บรกิ ารแล้วแตย่ งั ไม่ได้ตั้งเป็นคา่ ใชจ้ ่ายประจางวด เช่น ค่านา้ ค่าไฟ คา่ โทรศพั ท์ ซงึ่ โดยปกตจิ ะชาระเงินในเดือน
ถัดไป เปน็ ต้น

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 3/18 173
ชอ่ื วชิ า : การบัญชีเบื้องตน้ รหสั วิชา 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรุงบัญชี

ประเภทของรายการท่ีต้องปรบั ปรงุ

การบนั ทึกรายการปรบั ปรงุ บญั ชตี อนสิน้ งวดเพ่ือแกไ้ ขปรับปรงุ รายได้และค่าใช้จา่ ยของกิจการให้มีความถูกต้อง
ตามเกณฑค์ งค้าง ซงึ่ การปรบั ปรงุ รายการนีน้ อกจากจะทําใหก้ จิ การมรี ายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ยทถี่ กู ต้องเพอื่ ไปจัดทาํ งบกําไร
ขาดทนุ แลว้ ยังจะส่งผลตอ่ ความถูกตอ้ งของรายการสินทรัพย์และหน้สี นิ ของกิจการในงบดุลด้วย ดังนั้นรายการบัญชีที่
ต้องปรับปรงุ จึงจาํ แนกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี

1. การปรบั ปรงุ บญั ชีประเภทรายได้ ไดแ้ ก่
1.1 รายไดร้ ับลว่ งหน้า (Unearned/Deferred Revenue) หมายถึง รายไดท้ ีก่ ิจการไดร้ บั ไมว่ ่าจะเป็นเงินสด

หรือเงินฝากธนาคารหรือเงินมดั จําค่าบริการ โดยทจี่ ํานวนเงนิ ทไี่ ดร้ ับนั้น มีภาระผูกพนั กับกจิ การทีจ่ ะต้องใหบ้ รกิ ารหรือ
ผลประโยชนก์ ับบคุ คลอนื่ ในงวดบัญชถี ดั ไป ในสว่ นทเี่ ป็นภาระผูกพนั กับกจิ การในงวดบญั ชตี า่ ง ๆ ไปนั้น กค็ อื รายได้ที่
กิจการได้รับล่วงหน้า ดงั น้นั รายไดร้ ับล่วงหน้า จงึ จัดเปน็ หนี้สินหมุนเวยี นชนดิ หนงึ่ ของกิจการ เชน่ คา่ เชา่ รบั ลว่ งหนา้
ค่านายหน้ารับลว่ งหนา้ รายได้คา่ ธรรมเนียมทนายความรบั ลว่ งหนา้ เป็นต้น

1.2 รายไดค้ า้ งรับ (Accrued Revenue) หมายถึง รายได้ท่เี กดิ ขนึ้ แล้วในรอบระยะเวลาบัญชปี ีปัจจบุ ัน แต่
กิจการยังไม่ไดร้ บั เงนิ จึงยงั ไม่ได้บันทกึ บญั ชี ดงั นนั้ ในวนั สน้ิ งวดกิจการจะต้องบนั ทกึ รายการปรับปรุงเพอื่ บนั ทกึ รายได้ที่
เกิดขึน้ ในงวดนน้ั ใหค้ รบถว้ น และต้งั รายได้ท่ียงั ไมไ่ ด้รบั เปน็ สนิ ทรัพย์ เรยี กวา่ รายได้ค้างรบั

2. การปรบั ปรงุ บญั ชปี ระเภทค่าใช้จ่าย ได้แก่
2.1 คา่ ใช้จ่ายลว่ งหนา้ (Prepaid Expense) หมายถึง คา่ ใชจ้ า่ ยที่กจิ การจ่ายเงนิ ไปแลว้ และบันทึกบญั ชใี น

รอบระยะเวลาบัญชปี ปี จั จบุ นั แตก่ ิจการจะได้รบั ประโยชนห์ รอื บรกิ ารจากการจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีหน้าหรืออาจจะ
มีบางสว่ นไดร้ ับประโยชน์หรือบริการในปที ่ีจ่ายเงนิ

2.2 ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจ่าย (Accrued Expense) หมายถึง ค่าสง่ิ ของหรอื คา่ บรกิ ารทก่ี ิจการไดใ้ ชป้ ระโยชน์
ไปแลว้ ในงวดปัจจุบันแตย่ งั ไมไ่ ด้จ่ายเงนิ และยังไมไ่ ด้บันทึกบัญชไี วจ้ งึ ต้องบนั ทกึ รายการปรับปรุงเพอ่ื บันทึกคา่ ใช้จา่ ย
ทีเ่ กิดขึน้ แล้วให้ครบถว้ นของรอบระยะเวลาบญั ชีนัน้ และตั้งคา่ ใชจ้ ่ายเงินเปน็ หน้สี ิน เรียกวา่ “คา่ ใช้จ่ายค้างจ่าย”

2.3 วสั ดสุ ้ินเปลืองใชไ้ ป (Supplies Used Expense) วสั ดุสน้ิ เปลอื งจะมลี ักษณะเปน็ สินทรพั ยห์ มนุ เวียน
เป็นสินทรัพย์ท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไป เช่น กระดาษ ดนิ สอ หมกึ เปน็ ตน้ ส่วนของวสั ดทุ ่ีถกู ใช้แล้วหมดไปก็จะเปลีย่ นสภาพ
เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยเรียกวา่ วสั ดุส้นิ เปลอื งใชไ้ ป การปรบั ปรงุ วัสดสุ น้ิ เปลืองใชไ้ ปจะเกยี่ วขอ้ งกบั บัญชีประเภทสนิ ทรัพยแ์ ละ
ค่าใชจ้ า่ ย

3. การปรบั ปรุงบญั ชปี ระเภทปรับมูลคา่ สนิ ทรัพย์ เป็นการปรับปรุงค่าใชจ้ า่ ยท่ีเกดิ จากการประมาณการไดแ้ ก่
3.1 ค่าเส่ือมราคา (Depreciation) เปน็ วิธีการบัญชีทใ่ี ชใ้ นการปันสว่ นมลู ค่าของสินทรัพยถ์ าวรท่ีมีตวั ตน

ไปเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในงวดบัญชีต่าง ๆ หรอื เป็นมูลค่าของสินทรัพยถ์ าวรท่ีมตี ัวตนที่ตดั เป็นค่าใช้จา่ ยในงวดบญั ชตี ่าง ๆ ตาม
หลักการบัญชี

3.2 หนส้ี งสัยจะสูญ (Doubtful Account) เป็นการประมาณลกู หน้ที ี่คาดว่าจะเกบ็ เงนิ ไมไ่ ด้ เพอื่ ตง้ั เปน็
คา่ ใชจ้ า่ ย การปรบั ปรุงรายการน้ีเกยี่ วขอ้ งกบั สินทรพั ย์และคา่ ใชจ้ ่าย

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 4/18 174
ชือ่ วิชา : การบญั ชีเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรงุ บญั ชี

รายการปรับปรงุ ประเภทบัญชีทปี่ รับปรุง ตัวอย่างบญั ชที เี่ กีย่ วข้องในงบการเงิน

งบกาํ ไรขาดทนุ งบดุล

1. รายไดร้ ับล่วงหนา้ หน้ีสนิ /รายได้ ค่าเชา่ รับดอกเบีย้ รบั ค่าเช่ารับล่วงหน้า

ดอกเบยี้ รับล่วงหนา้

2. รายได้คา้ งรับ สนิ ทรพั ย์/รายได้ ค่าเชา่ รับ ค่าเช่าคา้ งรับ

ดอกเบย้ี รบั ดอกเบ้ียค้างรบั

3. คา่ ใช้จา่ ยลว่ งหนา้ สนิ ทรัพย์/ค่าใช้จา่ ย คา่ เช่าจา่ ย ค่าเชา่ จา่ ยลว่ งหนา้

ค่าเบ้ียประกันจา่ ย ค่าเบย้ี ประกนั จา่ ยล่วงหน้า

4. คา่ ใช้จ่ายคา้ งจ่าย หนส้ี ิน/ค่าใช้จ่าย คา่ สาธารณปู โภค ค่าสาธารณปู โภคคา้ งจ่าย

ค่านายหน้า ค่านายหน้าคา้ งจา่ ย

5. วัสดสุ ิ้นเปลือง สนิ ทรัพย์/คา่ ใช้จ่าย วัสดสุ นิ้ เปลอื งใชไ้ ป วสั ดุส้นิ เปลือง

6. ค่าเส่ือมราคา สินทรพั ย์/ค่าใช้จา่ ย ค่าเสื่อมราคา คา่ เสื่อมราคาสะสม

7. หนส้ี งสยั จะสูญ สนิ ทรัพย์/คา่ ใชจ้ า่ ย หนส้ี งสัยจะสญู คา่ เผ่ือหนสี้ งสัยจะสญู

ขั้นตอนการปรับปรงุ รายการบัญชีในวนั สนิ้ งวด

ในวันสิ้นงวด กจิ การจะทาํ การวิเคราะห์รายการคา้ ตา่ งๆ ทจี่ ะต้องปรับปรุง เพื่อให้เปน็ ไปตามเกณฑค์ งคา้ ง

หลังจากน้นั จะทาํ การปรบั ปรงุ รายการตามข้นั ตอนดังนี้

1. ทําการบนั ทึกรายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวันทว่ั ไป

2. ผ่านรายการปรับปรงุ ท่ีบนั ทกึ ในสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบญั ชปี ระเภททเี่ ก่ยี วขอ้ ง เมอ่ื ผา่ นรายการแล้ว

ให้หายอดคงเหลือของบัญชตี า่ งๆ ในสมุดบญั ชีแยกประเภท เพื่อนาํ ยอดคงเหลอื นนั้ ไปทางบทดลองทเี่ รยี กวา่ “งบทดลอง

หลังปรบั ปรงุ ”

การปรับปรุงบญั ชปี ระเภทรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่าย

การปรับปรุงรายไดร้ ับล่วงหน้า

รายได้รับลว่ งหน้า (Unearned Revenue) หมายถงึ รายได้ทก่ี ิจการไดร้ บั จากลูกค้าล่วงหน้า โดยท่ียงั ไมไ่ ด้

สง่ มอบสนิ ค้าหรอื ใหบ้ ริการแก่ลูกค้า ซ่ึงกิจการมภี าระต้องใหบ้ ริการในอนาคต ดงั นัน้ จํานวนเงินทไี่ ด้รับมาจึงไม่ถอื ว่า

เปน็ รายไดข้ องกิจการแตจ่ ะถอื เป็นหน้สี ินหมนุ เวียน เม่ือกจิ การได้ให้บริการเสรจ็ เรียบรอ้ ยเป็นบางส่วนหรอื ทั้งหมดแล้ว

จึงจะเปลย่ี นจากหน้สี ินเปน็ รายไดต้ ามส่วนทีใ่ หบ้ ริการแก่ลกู คา้ แลว้ บริการทไี่ ด้ให้แก่ลกู คา้ ในงวดนั้นจะถือว่ารายได้

เกดิ ข้นึ ในงวดนนั้ สว่ นจํานวนเงนิ ทก่ี จิ การได้รบั ไวแ้ ตย่ ังไม่ไดใ้ หบ้ ริการในงวดนั้นจึงยงั มสี ภาพเป็นหน้ีสนิ ยกไปงวดหนา้

ตัวอย่างรายได้รับล่วงหน้า เชน่ คา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ เปน็ ตน้ วธิ กี ารบันทึกบญั ชรี ายได้รบั ลว่ งหน้ามี 2 วธิ ี คือ

วธิ ที ่ี 1 บนั ทกึ เปน็ บัญชหี นี้สิน เมอ่ื มีรายการเกิดขน้ึ จะบันทึกในบัญชรี ายไดร้ ับลว่ งหนา้ เมือ่ สน้ิ งวดจึงจะโอน

ส่วนทไี่ ด้ให้บริการแลว้ ไปเปน็ บญั ชีรายได้ สว่ นทีเ่ หลอื ซ่งึ ยังไมไ่ ด้รับใหบ้ รกิ ารก็ยงั คงเปน็ หน้ีสนิ ซ่งึ แสดงในบัญชีรายได้รบั

ล่วงหน้า รอไปปรับปรงุ ในงวดทีจ่ ะให้บรกิ ารตอ่ ไป

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 5/18 175
ชื่อวิชา : การบญั ชเี บ้อื งตน้ รหสั วชิ า 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรงุ บัญชี

วธิ ที ่ี 2 บนั ทึกเปน็ บัญชีรายได้ จานวนเงินทไี่ ดร้ ับมาจะถูกบนั ทึกเปน็ รายไดท้ ้งั หมดทนั ที เม่ือสิน้ งวดจงึ โอนส่วนท่ี
เปน็ รายได้ของงวดตอ่ ไปซึง่ กจิ การยังไม่ได้ใหบ้ รกิ ารไปเปดิ บัญชีเป็นรายได้รบั ล่วงหนา้ ซึ่งเป็นบญั ชีหนส้ี นิ
วธิ กี ารปรับปรงุ รายไดร้ บั ลว่ งหนา้ ตอนส้นิ งวดจึงข้ึนอย่กู บั วิธกี ารบันทึกบัญชี ณ วนั ท่ีเกิดรายการนน้ั วา่ บนั ทึกเป็นหน้ีสนิ
หรอื เปน็ รายได้

ตวั อยา่ งที่ 1 เม่อื วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2552 หอพักสบายใจไดร้ ับคา่ เช่าหอพักล่วงหน้า จํานวนเงนิ 6,000 บาท
จากนางสาวดลฤดี สัญญาเชา่ 1 ปี การปรบั ปรุงรายการเมือ่ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2552 ซ่ึงเป็นวนั สน้ิ งวดจะเปน็ ดงั นี้

วธิ ที ่ี 1 เมื่อกจิ การได้รายได้รับลว่ งหนา้ มาได้บนั ทึกไว้ในบัญชีคา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ ซึ่งเป็นบัญชปี ระเภทหนส้ี ิน

สมดุ รายวนั ท่ัวไป หนา้ 1

พ.ศ. 2552 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดือน วนั ท่ี
บัญชี บาท สต. บาท สต.

พ.ค. 1 เงินสด 101 6,000 –
คา่ เช่ารับลว่ งหน้า 201 6,000 –

รบั ค่าเช่าล่วงหนา้ สาหรบั 1 ปี เร่ิม

1 พฤษภาคม 2552

ถา้ กิจการปิดบญั ชวี นั ที่ 31 ธันวาคม 2552 จาํ นวนเงินคา่ เชา่ 6,000 บาท จะเปน็ รายไดต้ ่อเนอ่ื งคาบเกีย่ วไปถึงปี
ตอ่ ไป ดังน้ี

รายได้ของปี 2552 ต้งั แต่ 1 พ.ค. – 31 ธ.ค. 2552 เป็นเงนิ = 4,000 บาท

รายได้ของปี 2553 ตง้ั แต่ 1 ม.ค. – 31 เม.ย. 2553 เปน็ เงิน = 2,000 บาท

ดว้ ยเหตุนจี้ งึ ต้องปรบั ปรงุ รายการในวนั สน้ิ งวด เพื่อแสดงวา่ กิจการมีรายไดป้ ระจางวดปี 2552 เกิดข้นึ เป็น

จํานวน 4,000 บาท และลดคา่ เชา่ รับลว่ งหนา้ ใหเ้ หลอื 2,000 บาท ดังน้ี

สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา้ 2

พ.ศ. 2552 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั ที่
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 คา่ เชา่ รับลว่ งหน้า 201 4,000 –

คา่ เช่ารับ 401 4,000 –
ปรบั ปรุงค่าเชา่ รบั ล่วงหน้าสว่ นหนงึ่
ซง่ึ เปน็ รายได้ของปี 2552

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 6/18 176
ชอ่ื วิชา : การบญั ชีเบื้องตน้ รหัสวชิ า 30200 – 0001

งาน : รายการปรบั ปรุงบญั ชี

บัญชีคา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ หนา้ 201

พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เครดิต
เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต. เดอื น วนั ที่ บัญชี บาท สต.

ธ.ค. 31 คา่ เชา่ รบั ร.ว.2 4,000 – พ.ค. 1 เงนิ สด รว.1 6,000 –

บัญชีค่าเชา่ รบั หน้า 401

พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ.2552 รายการ หน้า เครดิต
เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. เดอื น วนั ท่ี บัญชี บาท สต.

ธ.ค. 1 คา่ เชา่ รับล่วงหนา้ รว.2 4,000 –

วธิ ที ่ี 2 เมอ่ื ไดร้ ับรายไดร้ บั ล่วงหนา้ มาไดบ้ นั ทกึ ไวใ้ นบัญชคี า่ เชา่ รบั ซงึ่ เป็นบัญชปี ระเภทรายได้

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2552 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วันท่ี
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 เงินสด 201 6,000 –

คา่ เชา่ รบั 401 6,000 –

รบั คา่ เชา่ สําหรับ 1 ปี เร่ิม 1 พ.ค. 2552

ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2552 กจิ การมรี ายไดค้ า่ เช่าที่เกดิ ขึ้นจรงิ ระหว่าง 1 พฤษภาคมถงึ 31 ธนั วาคม 2552
เป็นเงิน 4,000 บาทเท่านน้ั ส่วนท่ีเหลอื เปน็ การรับล่วงหนา้ สาหรับปีตอ่ ไป จึงตอ้ งปรับปรงุ บญั ชคี ่าเชา่ รับใหม้ ียอดท่ี

ถกู ตอ้ ง ดังนี้

สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 2

พ.ศ. 2552 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั ที่
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 ค่าเชา่ รบั 401 2,000 –
ค่าเชา่ รับลว่ งหนา้ 201 2,000 –

ปรบั ปรุงค่าเช่ารบั บางส่วนของปี 2552
ใหเ้ ป็นคา่ เชา่ รบั ลว่ งหนา้

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 7/18 177
ชื่อวชิ า : การบัญชีเบ้ืองตน้ รหสั วิชา 30200 – 0001
เลขท่ี 401
งาน : รายการปรับปรงุ บญั ชี หนา้ เครดิต
บัญชี บาท สต.
บญั ชีคา่ เช่ารับ รว.1 6,000 –

พ.ศ.2552 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ.2552 รายการ เลขที่ 201
เดอื น วันที่ บัญชี บาท สต. เดอื น วนั ท่ี หน้า เครดติ
บญั ชี บาท สต.
ธ.ค. 31 คา่ เชา่ รบั ลว่ งหน้า รว.2 2,000 – พ.ค. 1 เงนิ สด รว.2 2,000 –

บัญชีคา่ เช่ารับล่วงหนา้

พ.ศ.2552 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ.2552 รายการ
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. เดอื น วันที่

ธ.ค. 31 คา่ เช่ารับ

จากตัวอย่างขา้ งต้นจะเหน็ ว่าไมว่ า่ กิจการจะบนั ทึกรายการคา่ เชา่ รบั ลว่ งหนา้ ดว้ ยวธิ ีใดกต็ าม การปรับปรงุ
รายการในวนั สิน้ งวดโดยการโอนสว่ นของคา่ เช่ารบั ลว่ งหน้าไปเป็นรายไดป้ ระจํางวดตามวธิ ที ี่ 1 หรือการโอนสว่ นของค่า
เช่ารบั บางส่วนไปเปน็ ค่าเช่ารบั ลว่ งหนา้ ตามวธิ ที ่ี 2 จะปรากฏผลลพั ธ์เทา่ กนั ทัง้ 2 วธิ ี โดยในที่สดุ บัญชีค่าเช่ารับจะแสดง
ยอดรายได้ประจํางวด 4,000 บาท และบญั ชคี ่าเชา่ รับล่วงหนา้ จะแสดงยอด 2,000 บาท เหมือนกัน บัญชีคา่ เชา่ รบั เปน็
บญั ชีประเภทรายได้จะปรากฏอยู่ในงบกาํ ไรขาดทนุ สว่ นบญั ชีค่าเชา่ รบั ลว่ งหนา้ เป็นบัญชปี ระเภทหนสี้ ินจะปรากฏอย่ใู น
งบดุล
การปรับปรงุ รายไดค้ ้างรบั

รายได้ค้างรับ (Accrued Revenue) หมายถงึ รายได้ท่เี กิดข้ึนแลว้ ในงวดปัจจุบัน แต่กจิ การยังไมไ่ ด้รับชาํ ระ
เงินสดจนกวา่ จะถงึ งวดบญั ชีต่อไปและไม่มีการบันทกึ รายการเลยในระหวา่ งงวดทเ่ี กิดรายได้ ไดแ้ ก่ รายไดบ้ างชนิด
ทก่ี จิ การจะไดร้ บั ตดิ ตอ่ กันสมํา่ เสมอ เชน่ ดอกเบี้ยทีไ่ ดร้ บั จากการใหก้ ยู้ มื ผลตอบแทนเงินลงทนุ ในรปู ของเงินปันผล
ดอกเบ้ยี พนั ธบตั รรฐั บาล เปน็ รายได้ท่เี กิดข้ึนตามระยะเวลาทีใ่ หก้ ู้หรอื ลงทุน กิจการจะได้รบั เม่อื ถงึ วนั ทีก่ ําหนดไว้ ซงึ่
อาจจะไม่ตรงกับวันท่ีกจิ การปดิ บัญชีหาผลการดําเนินงาน ดังนัน้ เพอื่ ให้การเปรยี บเทียบรายได้และค่าใชจ้ ่ายใกล้เคียง
ความจริง จึงตอ้ งทาํ การปรบั ปรงุ รายการโดยต้ังเป็นรายได้ค้างรบั ไว้ ซึง่ สามารถแยกพจิ ารณาได้ 2 กรณี ดงั น้ี

1. ถา้ เปน็ รายไดท้ เ่ี กิดจากการดาํ เนินงานตามปกติของกิจการ รายไดท้ ่คี วรจะไดใ้ นงวดบัญชนี นั้ แต่ยงั ไมไ่ ด้
รบั ให้ตั้งเปน็ บัญชีลกู หนี้การค้า

2. ถ้าเป็นรายไดอ้ ืน่ ๆ ค้างรับ ซ่งึ ไม่ได้เกิดขึน้ ตามการคา้ ปกติของกจิ การใหต้ ้งั บัญชีรายได้ชนิดนั้นเปน็ รายได้
คา้ งรับ ซึง่ จดั เป็นสินทรัพย์เชน่ เดียวกบั ลูกหนี้การค้า


เช็คด่วน !! การลงทุนที่ดีด้วยเงิน 10,000 บาท มีอะไรบ้าง ?! | Money Matters EP.107


EP.นี้เราหยิบจากคอมเมนต์หลายๆคนที่อยากรู้กันว่ามีเงิน 10,000 บาท ลงทุนอะไรดี ?! ก็เลยเกิดคลิปนี้
ขึ้นมาซึ่งในคลิปจะมาพูดให้ฟังถึงหลายมุมมอง หลายปัจจัย !! จะเป็นอย่างไรไปติดตามรับชมพร้อมกันครับ
สำหรับใครที่อยากใกล้ชิดกับผมมากกว่านี้และให้การสนับสนุนช่องเพื่อสร้างสรรค์คอนเทนต์
แบบนี้ต่อๆไปสามารถเข้าไปสมัคร Membership กันได้
ตามลิงก์ข้างล่างนี้ครับ : https://bit.ly/3x3cHhJ
ขอบคุณทุกคนที่ติดตามกันมาตลอดครับ สำหรับใครที่ยังไม่ได้กดติดตาม สามารถเข้าไป
กดติดตามได้ที่ YouTube : https://bit.ly/2UGCvSE
ช่องทางการติดตาม
Facebook : https://www.facebook.com/paulpattaraponofficial
Instagram : https://www.instagram.com/paulpattarapon
Website : https://www.paulpattarapon.com
สนใจติดต่อโฆษณา และทำวิดีโอ YouTube
โทร : 0926648245
Email : [email protected]
Powered by AnyMind Group
MoneyMatters PaulPattarapon พอลภัทรพล

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เช็คด่วน !! การลงทุนที่ดีด้วยเงิน 10,000 บาท มีอะไรบ้าง ?! | Money Matters EP.107

งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ


สอนบัญชีออนไลน์ฟรี : งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ( Statement of Comprehensive Income ) โดย อ.มานพ สีเหลือง สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการเรียนจากคลิปวีดีโอได้ฟรีที่ สถาบันYellowการบัญชี www.yellowaccounting.com

งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

EP 2 การจัดทำงบการเงินของกิจการซื้อขายสินค้า


EP 2 การจัดทำงบการเงินของกิจการซื้อขายสินค้า

EP11 งบกำไรขาดทุน


EP11 งบกำไรขาดทุน

จัดทำงบแสดงฐานะการเงินในExcel


โดย อ.มานพ สีเหลือง

จัดทำงบแสดงฐานะการเงินในExcel

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ งบ กํา ไร ขาดทุน แบบ รายงาน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *