Skip to content
Home » [NEW] การบริหารการเงิน (Financial Management) | บริหาร เงิน – NATAVIGUIDES

[NEW] การบริหารการเงิน (Financial Management) | บริหาร เงิน – NATAVIGUIDES

บริหาร เงิน: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้


ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจจะต้องเผชิญกับการแข่งขันสูงมากยิ่งขึ้น ภายใต้ระบบการค้าเสรี ดังนั้นแต่ละองค์การต้องทำการปรับตัวให้พร้อมที่จะสามารถเอาชนะคู่แข่งขันได้ โดยอาศัยปัจจัยในการดำเนินงานที่สำคัญ ซึ่งแต่เดิมจะคุ้นเคยกับ 4 M’s คือ Man, Money, Material และ Management และในปัจจุบันคงจะไม่เพียงพอถ้าต้องการที่จะทำให้องค์การดำเนินงานอยู่ได้และมีความเจริญก้าวหน้า องค์การจะต้องมีข่าวสารหรือข้อมูลที่รวดเร็วและทันสมัย โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) องค์การต้องบริหารปัจจัยเหล่านี้ที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดโดยนำหลักบริหารเข้ามาใช้ในทุกๆ ปัจจัยซึ่งถือว่ามีความจำเป็นและสำคัญเป็นอย่างมาก

หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารการเงิน (The Financial Staff’s Responsibilities)

ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจจะต้องเผชิญกับการแข่งขันสูงมากยิ่งขึ้น ภายใต้ระบบการค้าเสรี ดังนั้นแต่ละองค์การต้องทำการปรับตัวให้พร้อมที่จะสามารถเอาชนะคู่แข่งขันได้ โดยอาศัยปัจจัยในการดำเนินงานที่สำคัญ ซึ่งแต่เดิมจะคุ้นเคยกับ 4 M’s คือ Man, Money, Material และ Management และในปัจจุบันคงจะไม่เพียงพอถ้าต้องการที่จะทำให้องค์การดำเนินงานอยู่ได้และมีความเจริญก้าวหน้า องค์การจะต้องมีข่าวสารหรือข้อมูลที่รวดเร็วและทันสมัย โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) องค์การต้องบริหารปัจจัยเหล่านี้ที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดโดยนำหลักบริหารเข้ามาใช้ในทุกๆ ปัจจัยซึ่งถือว่ามีความจำเป็นและสำคัญเป็นอย่างมาก

          ไม่ว่าธุรกิจจะมีรูปแบบองค์การเป็นอย่างไรก็ตาม จะเป็นกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ ผู้บริหารการเงินจะมีหน้าที่หลักในการบริหารเพื่อทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่กิจการ นั่นหมายถึงการบริหารเพื่อให้เกิดผลกำไร และขยายกิจการให้เกิดความเจริญเติบโตในอนาคตอันจะส่งผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มสูงสุดแก่กิจการ ดังนั้นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารการเงินจะมี 5 ประการ คือ

     1.  หน้าที่ในการพยากรณ์และวางแผน (Forecasting and Planning)

          ผู้บริหารการเงินจะมีหน้าที่ในการประสานงานกับฝ่ายต่างๆ ขององค์การเพื่อรับข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อการพยากรณ์ และวางแผนทางการเงิน ซึ่งการพยากรณ์และการวางแผนสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การพยากรณ์และการวางแผนการเงินระยะสั้น การพยากรณ์และการวางแผนการเงินระยะยาว เพื่อพยากรณ์หรือคาดการณ์เกี่ยวกับการรับ และจ่ายเงินสดของกิจการว่าเป็นอย่างไร ในแต่ละเดือนมีเงินสดส่วนเกินหรือเงินสดขาดมือจำนวนเท่าใด ซึ่งช่วยให้ผู้บริหารสามารถวางแผนว่าถ้าในเดือนที่กิจการมีเงินสดส่วนเกินควรนำเงินไปลงทุนอย่างไร หรือเดือนใดที่เงินสดขาดมือ ควรจัดหาเงินสดมาจากแหล่งใด การพยากรณ์และวางแผนการเงินระยะสั้นนี้ช่วยให้กิจการได้ใช้เงินทุนระยะสั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด และรักษาสภาพคล่องของกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการพิจารณาการตัดสินใจลงทุน ซึ่งกิจการต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง โดยให้ผลตอบแทนในระยะยาว จึงจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้รอบคอบก่อนการตัดสินใจลงทุนข้อมูลที่นำมาประกอบการตัดสินใจต้องเป็นข้อมูลที่มีความแม่นยำ เพื่อให้การวิเคราะห์นั้นตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด จึงสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     2.  หน้าที่ในการตัดสินใจลงทุนและจัดหาเงินทุน(Investment and Financial Decision)

          ปัญหาการตัดสินใจของผู้บริหารการเงินแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ปัญหาการตัดสินใจระยะสั้น เช่น ปัญหาในกรณีที่กิจการจะทำการผลิตชิ้นส่วนเอง หรือซื้อปัญหาว่าควรขายสินค้า หรือผลิตต่อแล้วขาย หรือปัญหาว่าควรยกเลิกสินค้าที่มีผลขาดทุนหรือไม่ปัญหาการตัดสินใจระยะยาวซึ่งหมายถึงโครงการลงทุนต่างๆ  เช่น การสร้างโรงงานแห่งใหม่เพื่อทดแทนโรงงานเดิม การผลิตสินค้าใหม่เพิ่มเติม เป็นต้น 
          ไม่ว่าจะเป็นปัญหาระยะสั้นหรือระยะยาว การตัดสินใจจะมีประเด็นที่สำคัญอยู่ 2 ประการ คือ การตัดสินใจจัดหาเงินทุน และการตัดสินใจใช้เงินลงทุน โดยมีหลักการว่าในการจัดหาเงินทุนควรเป็นแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำที่สุด และความเสี่ยงต่ำที่สุด โดยเงินทุนจะได้มาจากหนี้สินและส่วนของเจ้าของ ซึ่งเงินทุนจากส่วนนี้จะมีต้นทุนในรูปของดอกเบี้ยจ่ายซึ่งจะต่ำกว่าเงินทุนจากส่วนของเจ้าของที่จะมีต้นทุนในรูปของเงินปันผลหรือกำไร (ขาดทุน) นอกจากนี้ความเสี่ยงก็ต่ำกว่าด้วย
          การตัดสินใจนำเงินทุนไปใช้ แบ่งออกเป็น 2 ทาง คือ ใช้ลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนซึ่งจะทำให้กิจการมีสภาพคล่องสูง แต่ความสามารถในการทำกำไรจะต่ำกว่า เมื่อเทียบกับการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร

     3.  หน้าที่ในการประสานงานและควบคุม (Coordination and Control) 

          ในการปฏิบัติงานผู้บริหารการเงินจะต้องประสานงานกับฝ่ายต่างๆ ในการดำเนินกิจการเพื่อมั่นใจว่ากิจการจะมีผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ การตัดสินใจทุกๆ ด้านของกิจการจะต้องมีส่วนสัมพันธ์หรือมีผลกับเรื่องของการเงินเสมอ เช่น การตัดสินใจด้านการตลาดเกี่ยวกับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่จะมีผลกระทบต่อความต้องการในการขยายการลงทุน การจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนที่เหมาะสม ผลกระทบต่อความต้องการในการขยายการลงทุน การจัดหาเงินลงทุนจากแหล่งเงินทุนที่เหมาะสม ผลกระทบต่อนโยบายสินค้าคงคลังและความสามารถในการใช้กำลังการผลิตอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ การดำเนินงานเหล่านี้จะเกิดประสิทธิภาพได้จะต้องอาศัยการประสานงานกันระหว่างฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะนำข้อมูลมาช่วยตัดสินใจในการวางแผนอันเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ขณะเดียวกันก็สามารถควบคุมการดำเนินงานโดยการตรวจสอบและประเมินผลตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้หรือไม่

     4.  หน้าที่ในการเป็นตัวแทนองค์การ ทำการติดต่อกับตลาดการเงิน(Dealing with the Financial Market) 

          ผู้บริหารการเงินจำเป็นต้องติดต่อตลาดการเงินเพื่อการระดมทุน โดยสามารถแบ่งตลาดการเงินออกได้เป็น 3 ตลาด คือ ตลาดการเงิน (The Financial Market) ตลาดเงิน (Money Market) ตลาดทุน (Capital Market) ทำหน้าที่ในการระดมเงินทุนระยะสั้นที่มีอายุการชำระหนี้ไม่เกิน 1 ปี แหล่งเงินทุนหรือสถาบันที่ทำหน้าที่เป็นตลาดเงิน ได้แก่ เจ้าหนี้การค้า เงินเบิกเกินบัญชี (overdraft account) ตลาดรับซื้อคืน (Repurchase Market) แต่ละตลาดมีหน้าที่ในการระดมเงินทุนหรือจัดหาเงินทุนให้แก่ธุรกิจโดย ทำหน้าที่ในการระดมเงินทุนระยะยาวที่มีอายุการชำระหนี้เกิน 1 ปี โดยมีแหล่งเงินทุน ได้แก่ เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ ตลาด OTC
          ดังนั้นการที่ธุรกิจจัดหาเงินทุนต้องพิจารณาวัตถุประสงค์ว่าจะนำเงินไปลงทุนอะไร ถ้าลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ควรจัดหาเงินทุนจากตลาดเงิน แต่ถ้าต้องการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรควรจัดหาเงินทุนจากตลาดทุน โดยพิจารณาเงินทุนแต่ละแหล่งว่ามีต้นทุนของเงินทุนและความเสี่ยงเป็นอย่างไร ซึ่งผู้บริหารควรเลือกแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนและความเสี่ยงต่ำสุด

     5.  หน้าที่ในการบริหารความเสี่ยง(Risk Management)

          กิจการทุกๆ แห่งต้องเผชิญกับความเสี่ยง 2 ลักษณะ คือ

          –  ความเสี่ยงนอกระบบ (Unsystematic Risk) เป็นความเสี่ยงอันเกิดจากภายในองค์กร และองค์การสามารถควบคุมได้ขึ้นอยู่กับผู้บริหารขององค์กรว่ามีความสามารถบริหารงานเพื่อขจัดความเสี่ยงได้มากน้อยเพียงใด เช่น ความเสี่ยงเรื่องสภาพคล่องทางการเงินของกิจการเป็นต้น

          –  ความเสี่ยงภายในระบบ (Systematic Risk) ความเสี่ยงอันเกิดจากภายนอกกิจการ เป็นความเสี่ยงที่ควบคุมไม่ได้ ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการพยากรณ์ทิศทางหรือแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate) หรืออัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา (Foreign Exchange Rate) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และประชากรศาสตร์

[NEW] การบริหารการเงิน (Financial Management) | บริหาร เงิน – NATAVIGUIDES


ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจจะต้องเผชิญกับการแข่งขันสูงมากยิ่งขึ้น ภายใต้ระบบการค้าเสรี ดังนั้นแต่ละองค์การต้องทำการปรับตัวให้พร้อมที่จะสามารถเอาชนะคู่แข่งขันได้ โดยอาศัยปัจจัยในการดำเนินงานที่สำคัญ ซึ่งแต่เดิมจะคุ้นเคยกับ 4 M’s คือ Man, Money, Material และ Management และในปัจจุบันคงจะไม่เพียงพอถ้าต้องการที่จะทำให้องค์การดำเนินงานอยู่ได้และมีความเจริญก้าวหน้า องค์การจะต้องมีข่าวสารหรือข้อมูลที่รวดเร็วและทันสมัย โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) องค์การต้องบริหารปัจจัยเหล่านี้ที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดโดยนำหลักบริหารเข้ามาใช้ในทุกๆ ปัจจัยซึ่งถือว่ามีความจำเป็นและสำคัญเป็นอย่างมาก

หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารการเงิน (The Financial Staff’s Responsibilities)

ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจจะต้องเผชิญกับการแข่งขันสูงมากยิ่งขึ้น ภายใต้ระบบการค้าเสรี ดังนั้นแต่ละองค์การต้องทำการปรับตัวให้พร้อมที่จะสามารถเอาชนะคู่แข่งขันได้ โดยอาศัยปัจจัยในการดำเนินงานที่สำคัญ ซึ่งแต่เดิมจะคุ้นเคยกับ 4 M’s คือ Man, Money, Material และ Management และในปัจจุบันคงจะไม่เพียงพอถ้าต้องการที่จะทำให้องค์การดำเนินงานอยู่ได้และมีความเจริญก้าวหน้า องค์การจะต้องมีข่าวสารหรือข้อมูลที่รวดเร็วและทันสมัย โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) องค์การต้องบริหารปัจจัยเหล่านี้ที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดโดยนำหลักบริหารเข้ามาใช้ในทุกๆ ปัจจัยซึ่งถือว่ามีความจำเป็นและสำคัญเป็นอย่างมาก

          ไม่ว่าธุรกิจจะมีรูปแบบองค์การเป็นอย่างไรก็ตาม จะเป็นกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ ผู้บริหารการเงินจะมีหน้าที่หลักในการบริหารเพื่อทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่กิจการ นั่นหมายถึงการบริหารเพื่อให้เกิดผลกำไร และขยายกิจการให้เกิดความเจริญเติบโตในอนาคตอันจะส่งผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มสูงสุดแก่กิจการ ดังนั้นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารการเงินจะมี 5 ประการ คือ

     1.  หน้าที่ในการพยากรณ์และวางแผน (Forecasting and Planning)

          ผู้บริหารการเงินจะมีหน้าที่ในการประสานงานกับฝ่ายต่างๆ ขององค์การเพื่อรับข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อการพยากรณ์ และวางแผนทางการเงิน ซึ่งการพยากรณ์และการวางแผนสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การพยากรณ์และการวางแผนการเงินระยะสั้น การพยากรณ์และการวางแผนการเงินระยะยาว เพื่อพยากรณ์หรือคาดการณ์เกี่ยวกับการรับ และจ่ายเงินสดของกิจการว่าเป็นอย่างไร ในแต่ละเดือนมีเงินสดส่วนเกินหรือเงินสดขาดมือจำนวนเท่าใด ซึ่งช่วยให้ผู้บริหารสามารถวางแผนว่าถ้าในเดือนที่กิจการมีเงินสดส่วนเกินควรนำเงินไปลงทุนอย่างไร หรือเดือนใดที่เงินสดขาดมือ ควรจัดหาเงินสดมาจากแหล่งใด การพยากรณ์และวางแผนการเงินระยะสั้นนี้ช่วยให้กิจการได้ใช้เงินทุนระยะสั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด และรักษาสภาพคล่องของกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการพิจารณาการตัดสินใจลงทุน ซึ่งกิจการต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง โดยให้ผลตอบแทนในระยะยาว จึงจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้รอบคอบก่อนการตัดสินใจลงทุนข้อมูลที่นำมาประกอบการตัดสินใจต้องเป็นข้อมูลที่มีความแม่นยำ เพื่อให้การวิเคราะห์นั้นตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด จึงสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     2.  หน้าที่ในการตัดสินใจลงทุนและจัดหาเงินทุน(Investment and Financial Decision)

          ปัญหาการตัดสินใจของผู้บริหารการเงินแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ปัญหาการตัดสินใจระยะสั้น เช่น ปัญหาในกรณีที่กิจการจะทำการผลิตชิ้นส่วนเอง หรือซื้อปัญหาว่าควรขายสินค้า หรือผลิตต่อแล้วขาย หรือปัญหาว่าควรยกเลิกสินค้าที่มีผลขาดทุนหรือไม่ปัญหาการตัดสินใจระยะยาวซึ่งหมายถึงโครงการลงทุนต่างๆ  เช่น การสร้างโรงงานแห่งใหม่เพื่อทดแทนโรงงานเดิม การผลิตสินค้าใหม่เพิ่มเติม เป็นต้น 
          ไม่ว่าจะเป็นปัญหาระยะสั้นหรือระยะยาว การตัดสินใจจะมีประเด็นที่สำคัญอยู่ 2 ประการ คือ การตัดสินใจจัดหาเงินทุน และการตัดสินใจใช้เงินลงทุน โดยมีหลักการว่าในการจัดหาเงินทุนควรเป็นแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำที่สุด และความเสี่ยงต่ำที่สุด โดยเงินทุนจะได้มาจากหนี้สินและส่วนของเจ้าของ ซึ่งเงินทุนจากส่วนนี้จะมีต้นทุนในรูปของดอกเบี้ยจ่ายซึ่งจะต่ำกว่าเงินทุนจากส่วนของเจ้าของที่จะมีต้นทุนในรูปของเงินปันผลหรือกำไร (ขาดทุน) นอกจากนี้ความเสี่ยงก็ต่ำกว่าด้วย
          การตัดสินใจนำเงินทุนไปใช้ แบ่งออกเป็น 2 ทาง คือ ใช้ลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนซึ่งจะทำให้กิจการมีสภาพคล่องสูง แต่ความสามารถในการทำกำไรจะต่ำกว่า เมื่อเทียบกับการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร

     3.  หน้าที่ในการประสานงานและควบคุม (Coordination and Control) 

          ในการปฏิบัติงานผู้บริหารการเงินจะต้องประสานงานกับฝ่ายต่างๆ ในการดำเนินกิจการเพื่อมั่นใจว่ากิจการจะมีผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ การตัดสินใจทุกๆ ด้านของกิจการจะต้องมีส่วนสัมพันธ์หรือมีผลกับเรื่องของการเงินเสมอ เช่น การตัดสินใจด้านการตลาดเกี่ยวกับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่จะมีผลกระทบต่อความต้องการในการขยายการลงทุน การจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนที่เหมาะสม ผลกระทบต่อความต้องการในการขยายการลงทุน การจัดหาเงินลงทุนจากแหล่งเงินทุนที่เหมาะสม ผลกระทบต่อนโยบายสินค้าคงคลังและความสามารถในการใช้กำลังการผลิตอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ การดำเนินงานเหล่านี้จะเกิดประสิทธิภาพได้จะต้องอาศัยการประสานงานกันระหว่างฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะนำข้อมูลมาช่วยตัดสินใจในการวางแผนอันเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ขณะเดียวกันก็สามารถควบคุมการดำเนินงานโดยการตรวจสอบและประเมินผลตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้หรือไม่

     4.  หน้าที่ในการเป็นตัวแทนองค์การ ทำการติดต่อกับตลาดการเงิน(Dealing with the Financial Market) 

          ผู้บริหารการเงินจำเป็นต้องติดต่อตลาดการเงินเพื่อการระดมทุน โดยสามารถแบ่งตลาดการเงินออกได้เป็น 3 ตลาด คือ ตลาดการเงิน (The Financial Market) ตลาดเงิน (Money Market) ตลาดทุน (Capital Market) ทำหน้าที่ในการระดมเงินทุนระยะสั้นที่มีอายุการชำระหนี้ไม่เกิน 1 ปี แหล่งเงินทุนหรือสถาบันที่ทำหน้าที่เป็นตลาดเงิน ได้แก่ เจ้าหนี้การค้า เงินเบิกเกินบัญชี (overdraft account) ตลาดรับซื้อคืน (Repurchase Market) แต่ละตลาดมีหน้าที่ในการระดมเงินทุนหรือจัดหาเงินทุนให้แก่ธุรกิจโดย ทำหน้าที่ในการระดมเงินทุนระยะยาวที่มีอายุการชำระหนี้เกิน 1 ปี โดยมีแหล่งเงินทุน ได้แก่ เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ ตลาด OTC
          ดังนั้นการที่ธุรกิจจัดหาเงินทุนต้องพิจารณาวัตถุประสงค์ว่าจะนำเงินไปลงทุนอะไร ถ้าลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ควรจัดหาเงินทุนจากตลาดเงิน แต่ถ้าต้องการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรควรจัดหาเงินทุนจากตลาดทุน โดยพิจารณาเงินทุนแต่ละแหล่งว่ามีต้นทุนของเงินทุนและความเสี่ยงเป็นอย่างไร ซึ่งผู้บริหารควรเลือกแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนและความเสี่ยงต่ำสุด

     5.  หน้าที่ในการบริหารความเสี่ยง(Risk Management)

          กิจการทุกๆ แห่งต้องเผชิญกับความเสี่ยง 2 ลักษณะ คือ

          –  ความเสี่ยงนอกระบบ (Unsystematic Risk) เป็นความเสี่ยงอันเกิดจากภายในองค์กร และองค์การสามารถควบคุมได้ขึ้นอยู่กับผู้บริหารขององค์กรว่ามีความสามารถบริหารงานเพื่อขจัดความเสี่ยงได้มากน้อยเพียงใด เช่น ความเสี่ยงเรื่องสภาพคล่องทางการเงินของกิจการเป็นต้น

          –  ความเสี่ยงภายในระบบ (Systematic Risk) ความเสี่ยงอันเกิดจากภายนอกกิจการ เป็นความเสี่ยงที่ควบคุมไม่ได้ ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการพยากรณ์ทิศทางหรือแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate) หรืออัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา (Foreign Exchange Rate) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และประชากรศาสตร์


หลักสำคัญในการสร้างชีวิตในโลกยุคใหม่


ในโลกยุคปัจจุบัน มนุษย์เราสามารถสร้างเนื้อสร้างตัวได้เร็วยิ่งขึ้น บางคนใช้เวลาไม่ถึง 10 ปีก็สามารถตั้งตัวจนมั่นคงได้แล้ว เพราะอะไรกัน
Website
http://www.startyourway.com/
Fanpage
http://www.facebook.com/startyourwaybyvit
Group นายตัวเอง
https://www.facebook.com/startyourwaybyvit

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

หลักสำคัญในการสร้างชีวิตในโลกยุคใหม่

StashAway สตาร์ทอัพด้านการลงทุนที่บริหารเงินกว่า 30,000 ล้านบาท ภายใน 4 ปี !!


เคล็ดลับของ StashAway สตาร์ทอัพที่ใช้เวลาแค่ 4 ปี แต่กลับบริหารเงินกว่า 30,000 ล้านบาท
ช่วงไม่กี่ปีมานี้คนทั่วโลกนิยมการลงทุนในหุ้นหรือกองทุนที่หลากหลายมากขึ้น
คนไทยเองก็นิยมลงทุนในกองทุนหรือหุ้นต่างประเทศมากขึ้น
ทำให้เกิดสตาร์ทอัพที่มาทำหน้าที่บริหารการลงทุนในยุคนี้
และสตาร์ทอัพที่เราจะไม่รู้จักไม่ได้เลยในตอนนี้ก็ คือ StashAway สตาร์ทอัพบริหารการลงทุนในสินทรัพย์ทั่วโลก
และเป็นสตาร์ทอัพด้านการบริหารการลงทุน หรือ Wealth Tech อันดับ 1 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำไม StashAway ถึงประสบความสำเร็จได้ขนาดนี้  วันนี้ผมจะเล่าให้ฟังครับ
ทิ้งท้าย วันนี้เราสามารถใช้บริการ StashAway ที่ไทยได้แล้วครับนะครับ
ซึ่ง StashAway ก็ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภท ค (การจัดการกองทุนส่วนบุคคล) เลขที่ ลค013601 จากกระทรวงการคลังและดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ครับ
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.stashaway.co.th/thTH
การลงทุนในแบบที่ควรจะเป็น
StashAway StashAwayTH
ETF ลงทุนต่างประเทศ

StashAway สตาร์ทอัพด้านการลงทุนที่บริหารเงินกว่า 30,000 ล้านบาท ภายใน 4 ปี !!

Money Fitness The Series EP1 : ความรู้การเงินพื้นฐาน โดย The Money Coach


เราถูกสอนมาทั้งชีวิตให้เรียนสูงๆ จะได้ทำงานดีๆ มีเงินเยอะๆ แต่มีใครเคยสอนหลังจากนั้นไหม ว่าต้องบริหารจัดการเงินอย่างไรเมื่อได้มันมา?
พบกับ Money Fitness The Series วิดิโอที่จะให้ความรู้ทางการเงินที่ถูกต้อง เข้าใจง่าย และสร้างแรงบันดาลใจให้คุณทำตาม โดยนีโอ มันนี่ จับมือกับกูรูทางการเงินส่วนบุคคลชื่อดัง โค้ชหนุ่ม จักษพงษ์ เมษพันธุ์ หรือ The Money Coach
EP 1 จะปูพื้นฐานด้วยหลักการวางแผนทางการเงินเบื้องต้น กับ 4 สิ่งที่คุณต้องมี เพื่อบรรลุความฝันหรือเป้าหมายทางการเงิน และตบท้ายด้วยความจริงที่เป็นภัยเงียบระดับชาติ ว่าด้วยเรื่องการเงินในวัยเกษียณ ที่จะทำให้คุณรู้ว่า “ความรู้ทางการเงิน” คือคำตอบ
“หากคุณไม่บริหารเงิน เงินจะบริหารคุณ”
ความรู้ทางการเงิน อิสรภาพทางการเงิน TheMoneyCoach
=====================
นีโอมันนี่โค้ชการเงินยุคดิจิตอล
ช่องทางการติดตาม
Facebook: https://www.facebook.com/neomoney
Instagram: https://www.instagram.com/neomoney.ig
Website: https://neomoney.com

Money Fitness The Series EP1 : ความรู้การเงินพื้นฐาน โดย The Money Coach

จัดการเงินเดือนด้วยวิธี 6 Jars มีใช้ มีเก็บ มีลงทุน


Than Money trick สอนวิธี จัดการเงินเดือน แบบง่ายๆ แต่ได้ผล ด้วยวิธี 6Jars 6Jar หรือ เงิน6กระปุก ที่คิดค้นโดยนักการเงินระดับโลก T. Harv Eker ผู้เขียนหนังสือ ถอดรหัสลับสมองเงินล้าน : Secrets of the Millionaire Mind ที่ขายดีตลอดกาล
บริหารเงินแบบ6Jars
คลิปนี้จะสรุปให้ฟังแบบเข้าใจง่าย ฟังแล้วทำตามได้ทันที
เหมาะสำหรับทุกๆคนที่อยากเริ่มบริหารเงิน มีใช้ มีเก็บ มีลงทุน ในทุกๆเดือน
เพื่อชีวิตที่ดี และ ร่ำรวย
ฝากรับชมด้วยค่ะ 😁
ติดตามกันได้ที่ 👇
Facebook FanPage : https://www.facebook.com/thanmoneytrick/
tnblivealife ช่องของความสุขรวยบริหารเงินให้รวยเร็วบริหารเงินเดือนเหลือเงินเก็บthanmoneytrick

จัดการเงินเดือนด้วยวิธี 6 Jars มีใช้ มีเก็บ มีลงทุน

การบริหารเงินอย่างง่าย เข้าใจใน 4 นาที


อยากเริ่มต้นเข้าใจเรื่องการเงินแบบง่ายๆ คลิปนี้จะอธิบายการ \”บริหารเงินอย่างง่าย เข้าใจใน 4 นาที\” ครับ
เว็บไซต์ของเรา อย่าลืมเข้าไปเยี่ยมชมนะครับ http://www.startyourway.com
ไม่อยากพลาดข่าวสารเรื่องนายตัวเอง กดติดตาม Facebook ได้เลยครับ
http://www.facebook.com/startyourwaybyvit
กลุ่มนายตัวเองที่มีนายตัวเองครบทุกสาขาอาชีพ คุณอยากถามอะไร เข้ามาในกลุ่มนี้ได้เลยครับ
http://www.facebook.com/groups/startyourwaycommunity

การบริหารเงินอย่างง่าย เข้าใจใน 4 นาที

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ บริหาร เงิน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *