Skip to content
Home » [NEW] การตลาด: องค์ประกอบของแผนธุรกิจจะประกอบไปด้วย10 หัวข้อหลัก | รูป แบบ ของ การ ประกอบ ธุรกิจ – NATAVIGUIDES

[NEW] การตลาด: องค์ประกอบของแผนธุรกิจจะประกอบไปด้วย10 หัวข้อหลัก | รูป แบบ ของ การ ประกอบ ธุรกิจ – NATAVIGUIDES

รูป แบบ ของ การ ประกอบ ธุรกิจ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
เป็นส่วนที่สรุปใจความสำคัญ ๆ ของแผนธุรกิจทั้งหมด และต้องเป็นเอกสารที่สมบูรณ์ในตัวเอง (Stand
alone document) โดยจะชี้ให้เห็นประเด็นที่มีความสำคัญ คือ จะชี้ให้เห็นว่ามีโอกาสจริงเกิดขึ้นได้ในตลาดสำหรับธุรกิจที่กำลังคิดจะทำ และชี้ให้เห็นว่า สินค้าและบริการที่จะทำนั้น สามารถใช้โอกาสในตลาดให้เป็นประโยชน์ได้อย่างไร ดังนั้นบทสรุปจึงมีความจำเป็นต้องเขียนให้เกิดความน่าเชื่อ หนักแน่น มีความเป็นไปได้
เนื่องจากบทสรุปของผู้บริหารเป็นเพียง “บทสรุป” จึงต้องเขียนให้สั้น กระชับ และกะทัดรัด (ไม่ควรเกิน 2 – 3 หน้า) และเป็นส่วนสุดท้ายในการเขียนแผนทังหมด เนื้อหาในบทสรุปของผู้บริหารควรได้กล่าวถึง

– จะทำธุรกิจอะไร มีแนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจนั้นอย่างไร โดยอธิบายให้เห็นถึงความสำคัญของสินค้าและบริการ
– โอกาสและกลยุทธ์ บอกถึงความน่าสนใจ ตลอดจนแนวโน้มของธุรกิจ ที่จะแสดงว่าโอกาสทางการตลาดนั้นเปิดทางให้
– กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อธิบายถึงลักษณะทางการตลาด กลุ่มลูกค้าหลัก การวางแผนการเข้าถึง ลูกค้า
– ความได้เปรียบเชิงการแข่งขันของธุรกิจ รวมถึงทางด้านตัวผลิตภัณฑ์ และความได้เปรียบต่อคู่แข่งขัน
– ทีมผู้บริหาร สรุปถึงความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะ ควรจำกัดไม่เกิน 3 – 5 คน และเป็น ผู้ที่มีผลกระทบต่ออนาคตและความสำเร็จของธุรกิจ
– แผนการเงิน/การลงทุนโดยระบุถึงเงินลงทุน จะทำอะไร ผลตอบแทนของการลงทุน จะเป็นเท่าไร

——————————————————————————–

2. ประวัติกิจการ / ภาพรวมของกิจการ
ในส่วนนี้เป็นการให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับความเป็นมาของการก่อตั้ง / จดทะเบียน ตลอดจนแนวคิด และการเล็งเห็นโอกาสทางการตลาด การคิดค้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่จะนำเสนอให้กับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย และควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับเป้าหมายในระยะยาวที่ต้องการจะเป็นในอนาคต

3. การวิเคราะห์สถานการณ์
การวิเคราะห์สถานการณ์ที่เรียกกันว่า “SWOT ANALYSIS” แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ

3.1 การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน เป็นการตรวจสอบความสามารถ ความพร้อมของกิจการในด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นในส่วนที่เป็นจุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weaknesses) ของกิจการ

3.2 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก เป็นการประเมินสภาพแวดล้อมที่ผู้ประกอบการไม่สามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงได้ ในลักษณะที่เป็นโอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค(Threats)ในสถานการณ์ปัจจุบันผู้ประกอบการควรได้เริ่มวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกเนื่องจากเป็นปัจจัยที่ผู้ประกอบการไม่สามารถควบคุมได้ โดยทั่วไปปัจจัยภายนอกที่มีความสำคัญที่ผู้ประกอบการควรจะต้องให้ความสนใจ มี 7 ประการ สามารถเรียกง่าย ๆ ว่า “MC-STEPS” โดยมีความหมายพอ

สรุป ได้ ดังนี้
M = Market คือ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
C = Competition คือ สถานการณ์การแข่งขัน
S = Social คือ ค่านิยมทางวัฒนธรรมของสังคม เช่น การใช้สินค้าที่มียี่ห้อ
T = Technology คือ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
E = Economic คือ สถานการณ์
P = Political & Legal คือ สถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงเรื่องกฎ ระเบียบต่าง ๆ
S = Suppliers คือ กลุ่มผู้จำหน่ายวัตถุดิบ / กลุ่มผู้ผลิตและเครือข่าย

4. วัตถุประสงค์ และเป้าหมายทางธุรกิจ
เป็นผลลัพธ์ทางธุรกิจที่กิจการต้องการได้รับในช่วงระยะเวลาของการจัดทำแผน โดยทั่วไปเป้าหมายธุรกิจแบ่งออกเป็น เป้าหมายโดยรวมของกิจการ และเป้าหมายเฉพาะด้านในแต่ละแผนก/ลักษณะของงานนอกจากนี้เป้าหมายทางธุรกิจยังควรแบ่งเป็น เป้าหมายระยะสั้น ในช่วงระยะเวลา 1 ปี เป้าหมายระยะปานกลาง ระยะเวลา 3 – 5 ปี และเป้าหมายระยะยาว ที่นานกว่า 5 ปีลักษณะเป้าหมายธุรกิจที่ดี ประกอบไปด้วย

4.1 ความเป็นไปได้ หมายถึง กิจการมีโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย

4.2 สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม คือ ความชัดเจนที่สามารถประเมินได้ว่ากิจการบรรลุตามเป้า
หมายแล้วหรือไม่

4.3 เป็นไปในทางเดียวกัน คือ เป้าหมายย่อย ๆ ในแต่ละฝ่าย ควรมีลักษณะที่สอดคล้องกัน

5. แผนการตลาดและการวิจัย

แผนการตลาด

ในการทำธุรกิจนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดคือมุมมองทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการจะต้องหาให้ได้ หรือมอง
ให้ออกว่าผู้บริโภคต้องการอะไร แล้วผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อสนองความต้องการนั้น กำไรที่เกิดขึ้นนั้นคือผลงานจากการทำให้ผู้บริโภคได้รับความพึงพอใจสูงสุด
แผนการตลาดเป็นจุดเริ่มต้นของธุรกิจว่าจะมีความเป็นไปได้แค่ไหน โดยทั่วไปจะเป็นการวิเคราะห์เพื่อกำหนดแผนการตลาด ดังนี้

5.1 กำหนดขอบเขตธุรกิจหรือขอบเขตการตลาด (Market Definition)
5.2 การวิเคราะห์อุตสาหกรรม (Industry Analysis) มีองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้
– วิเคราะห์ลูกค้า
– วิเคราะห์คู่แข่ง
– วิเคราะห์ต้นทุน
– วิเคราะห์แนวโน้ม ส่วนใหญ่
5.3 การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
โดยทั่วไปจะนิยมแบ่งส่วนตลาดใน 4 ลักษณะ ดังนี้

ภูมิศาสตร์
– ภาค
– ในเมืองหรือชนบท
ประชากรศาสตร์
– อายุ
– เพศ
– รายได้
จิตวิทยา
– รูปแบบการดำเนินชีวิต
– ชั้นวรรณะ สูง กลาง ต่ำ
พฤติกรรม
– โอกาสซื้อบ่อยแค่ไหน
– ความภักดีต่อสินค้า

กลยุทธ์ทางการตลาด โดยทั่วไปการวางแผนทางด้านการตลาด มักจะมีขั้นตอนง่าย ๆ เรียกว่า STP&4P’s ดังนี้

1. S มาจาก Segmentation คือ การแบ่งส่วนตลาด ดังได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ 5.3
2. T มาจาก Targeting คือ การกำหนดลูกค้าเป้าหมายว่ากลุ่มไหนที่เราจะเลือก โดยทั่วไปเรา
3. P มาจาก Positioning คือ การสร้างภาพพจน์ในใจของลูกค้า
4. 4 P’s มาจากส่วนผสมที่ลงตัวในโปรแกรมทางการตลาด 4 ตัว เปรียบเสมือนแผนปฏิบัติการ
(Action Plan) ทางการตลาด ดังนี้

4.1 Product คือ สินค้า/บริการ
4.2 Price คือ ราคา
4.3 Place คือ ช่องทางการจำหน่าย
4.4 Promotion คือ การส่งเสริมทางการตลาด

นอกจากส่วนประสมทางการตลาด 4 P’s ที่กล่าวมาแล้ว ยังมี 4 C’s ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วนประสม
ทางการตลาดยุคใหม่ที่มองทางด้านความต้องการของผู้บริโภคและควรที่จะต้องนำมาใช้ร่วมในแผนปฏิบัติการทาง
การตลาดด้วย ดังนี้
5. 4 C’s
5.1 Consumer Need คือ ผลิต/ขายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า
5.2 Customer Benefits คือ ผลประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ
5.3 Convenience คือ เป็นสินค้าที่สะดวก
5.4 Communication คือ การรับรู้ข่าวสารสินค้

การวิจัย

การวิจัยคือจุดเริ่มต้นสำหรับการตลาด หากไม่ทำวิจัยก่อนก็เหมือนกับบริษัทนั้น ๆ เข้าสู่ตลาดเหมือนคนตาบอด

การวิจัยทำให้บริษัทตระหนักว่า โดยปกติแล้วผู้ซื้อในตลาดหนึ่ง ๆ จะมีความต้องการ ความเข้าใจ และความชอบต่างกันไป เช่น ผู้หญิงต้องการรองเท้าที่ต่างจากผู้ชาย คนอ้วนต้องการรองเท้าต่างจากคนผอม และเมื่อแฟชั่นเข้าสู่ตลาดรองเท้า ความชอบก็จะยิ่งขยายวงกว้างออกไป ซึ่งเป็นผลจากความแตกต่างด้านรายได้ การศึกษาและรสนิยม

6. แผนการบริหารจัดการและแผนการดำเนินงาน
เป็นการกำหนดโครงสร้างองค์กร และผู้บริหารที่สอดคล้องกับแผนการดำเนินธุรกิจด้านอื่น ๆ ของ กิจการ มีแผนด้านทรัพยากรบุคคลที่ดี ในส่วนนี้จะประกอบไปด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้

6.1 สถานที่ตั้ง
6.2 โครงสร้างองค์กร และทีมผู้บริหาร
6.3 แผนด้านบุคลากร จำนวน เวลาทำงาน ค่าตอบแทน ความรู้ ความสามารถ ทักษะ
6.4 เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ – ซื้อ เช่า เช่าซื้อ

7. แผนการผลิต/ปฏิบัติการ
แผนการผลิตและปฏิบัติการที่ดีต้องสะท้อนความสามารถขององค์กรใน “การจัดการกระบวนการผลิต
และปฏิบัติการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล” เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับธุรกิจ โดยมุ่งเน้นประเด็น
การจัดการไปยังกระบวนการแปลงสภาพวัตถุดิบและทรัพยากรในการผลิต
ในการวางแผนปฏิบัติการ ผู้ประกอบการต้องพิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการผลิตตาม
ประเด็นที่สำคัญ คือ

7.1 คุณภาพ
7.2 การออกแบบสินค้าและบริการ
7.3 การออกแบบกระบวนการผลิต และการตัดสินใจเรื่องกำลังการผลิต
7.4 การออกแบบผังของสถานประกอบการ
7.5 การออกแบบระบบงาน และวางแผนอัตรากำลังคนในกระบวนการผลิต

โดยการพิจารณาถึงรายละเอียดของระบบงานเป็นการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังในกระบวนการผลิต การใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และการใช้อัตรากำลังคนที่เหมาะสม สำหรับหน้าที่ต่าง ๆ คุณสมบัติของ
พนักงานทั้งทางด้านความรู้ ความสามารถ ทักษะ

8. แผนการเงิน
เมื่อมีการกำหนดแผนการตลาด แผนการบริหารจัดการ และแผนการผลิตได้แล้ว ที่สำคัญที่สุดคือต้อง
มีแผนการเงินมารองรับ เนื่องจากในทุกกิจกรรมต้องใช้เงินทั้งนั้น ในท้ายที่สุดของแผนธุรกิจจะต้องมีแผนการเงิน
ที่ดี โดยทั่วไปจะมีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้
8.1 สมมุติฐานทางการเงิน เป็นการกำหนดปัจจัยหลัก ๆของการดำเนินงานเพื่อประมาณการทางการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปมีดังนี้

1) ยอดขาย เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่มาจากแผนการตลาดที่วางไว้
2) ต้นทุนขาย ควรจะมาจากแผนการผลิตที่วางไว้
3) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมาจากแผนบุคลากร และกิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมการขาย
ต่าง ๆ
4) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ประเมินจากอัตราดอกเบี้ย และวงเงินกู้เดิมกับวงเงินกู้ที่จะขอเพิ่มมาใหม่
5) สินทรัพย์และค่าเสื่อม มาจากประมาณการที่จะลงทุนในอนาคต เพื่อขยายกิจการและวิธีการคิดค่า
เสื่อม
6) สินค้าคงคลัง ประมาณการระดับสินค้าคงคลังที่เหมาะสม
7) ลูกหนี้การค้า ประมาณการระยะเวลาระหว่างการขายสินค้า และการเก็บเงินได้จากการขาย
8) เจ้าหนี้การค้า ประมาณการระยะเวลาสั่งซื้อของ และจ่ายเงินให้เจ้าหนี้

8.2 ประมาณการทางการเงิน เป็นการประมาณการงบการเงินและการวิเคราะห์อัตราส่วนตามสมมุติฐานที่วางไว้ ประกอบไปด้วย

งบกำไรขาดทุน คือ งบที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของบริษัทตลอดงวดระยะเวลาบัญชโดยทั่วไปจะ
กำหนดให้เป็นรอบ 1 ปี หรือราย 6 เดือน งบกำไรขาดทุน ประกอบด้วย รายการหลัก 3 รายการ คือ

1) ยอดขายหรือรายได้
2) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ หรือต้นทุน
3) ผลต่างของตัวเลขดังกล่าว ซึ่งก็คือ กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ

งบดุล คือ งบที่แสดงถึงฐานะการเงิน ภาระผูกพันในการชำระหนี้ และจำนวนทุนของบริษัท ณ วันใดวันหนึ่งเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ณ วันสิ้นงวดของรอบระยะเวลาบัญชี งบดุลประกอบด้วยรายการหลัก ๆ 3 รายการ คือ สินทรัพย์ หนี้สิน และทุน หรือส่วนของเจ้าของ

งบกระแสเงินสด (Cash Flow) คือ งบแสดงการเคลื่อนไหวของเงินสด โดยจะแสดงถึงรายการได้มาและ
ใช้ไปของเงินสดหรือสิ่งที่เทียบเท่าเงินสดใน 3 กิจกรรมหลัก ๆ คือ

– เงินสดที่ได้จากการดำเนินงาน
– จากการจัดหาเงินทุน
– จากการลงทุน

ดังนั้นความสามารถในการบริหารเงินสดของบริษัท และสภาพคล่องทางการเงิน จะดูได้จากงบกระแส
เงินสด โดยงบกระแสเงินสดที่ดีควรเป็นเงินสดที่ไหลเข้ามาจากการลงทุนมากที่สุดรองลงมาจากการดำเนินงาน
และจากการจัดหาเงินทุนน้อยที่สุด งบกระแสเงินสดควรจะทำเป็นรายเดือน รายไตรมาส รายปี และอาจจะทำล่วง
หน้าไปหลายปี ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมของกิจการเพื่อที่จะทำให้รู้ถึงสถานะปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตของ
กิจการนั้น ๆ

การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน แบ่งออกได้เป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้
1. สภาพคล่อง

1.1 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน
1.2 อัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัว (Quick Ratio) = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน

2. ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์

2.1 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Receivable Turnover) = ขายเชื่อสุทธิ / ลูกหนี้เฉลี่ย

2.2 อัตราหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover) = ต้นทุนสินค้าขาย / สินค้าคงเหลือเฉลี่ย

2.3 ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ (Receivable Turnover Period) = ( 365 x ลูกหนี้ ) / ยอดขาย

2.4 ระยะเวลาสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover Period) = ( 365 x สินค้าคงเหลือ) / ต้นทุนขาย

3. ความสามารถในการบริหารงาน

3.1 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (Return On Assets : ROA ) = ( กำไรสุทธิ x 100 ) / สินทรัพย์ทั้งหมด

3.2 อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (Return On Equity : ROE) = ( กำไรสุทธิ x 100 ) / ส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมด

3.3 อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (Operating Income Margin) = ( กำไรจากการดำเนินงาน x 100 ) / ยอดขาย

3.4 อัตรากำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) = ( กำไรขั้นต้น x 100 ) / ยอดขาย

4. ความสามารถในการชำระหนี้

4.1 อัตราส่วนแห่งหนี้ (Debt Ratio) = หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม

4.2 อัตราส่วนแหล่งเงินทุน (Debt to Equity Ratio) = หนี้สินทั้งหมด / ส่วนของผู้ถือหุ้น

4.3 อัตราส่วนความสามารถจ่ายดอกเบี้ย (Interest Coverage Ratio) = กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี / ดอกเบี้ยจ่าย

8.3 การประเมิณสถาณการณ์จำลอง
เมื่อจัดทำงบประมาณทางการเงินแล้ว ลำดับต่อไปจะทำการประเมินสถานการณ์จำลองเป็นการวิเคราะห์ความไวต่อสถานการณ์เมื่อเกิดมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นในอนาคต จะขอยกตัวอย่างการประเมินสถานการณ์อยู่ 3 ลักษณะ ดังนี้

กรณีที่ดี เช่น ยอดขายเพิ่ม 20% ค่าใช้จ่ายลด 20%
กรณีปกติ เช่น ยอดขายเพิ่ม 10% ค่าใช้จ่ายลด 10%
กรณีแย่ เช่น ยอดขายลด 20% ค่าใช้จ่ายเพิ่ม 20%

ซึ่งทำให้ทราบถึงผลกระทบของตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงไปว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไร เช่น จะเกิดอะไรขึ้นถ้ายอดขายลด 20% และค่าใช้จ่ายเพิ่ม 20%

8.4 การวิเคราะห์ระยะเวลาคืนทุน
บอกถึงสภาพคล่องของโครงการ หมายถึง ระยะเวลาทั้งหมดที่จะต้องใช้ไปในการที่จะเปลี่ยนสินทรัพย์ที่ลงทุนไปนั้นกลับมาเป็นเงินสดอีกครั้งหนึ่ง ระยะเวลาคืนทุนที่สั้นกว่าจะบอกถึงสภาพคล่องที่ดีกว่า และมีความเสี่ยงที่ต่ำกว่า แต่อย่างไรก็ตามเกณฑ์ระยะเวลาคืนทุนนี้ มีจุดอ่อนอยู่ที่การไม่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลาหรือกระแสเงินที่เกิดขึ้นต่างเวลากัน เกณฑ์นี้นำมารวมกันที่หาระยะเวลาคืนทุนโดยทันที และการไม่นำกระแสเงินสดทุกจำนวนที่เกิดจากโครงการมาพิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ จะพิจารณาเฉพาะกระแสเงินสดที่จำเป็นสำหรับการได้คืนทุนเท่านั้น รวมทั้งเกณฑ์นี้จะไม่เป็นธรรมสำหรับโครงการระยะยาวที่มีผลกำไรหลายปี ในอนาคตจะให้น้ำหนักความสำคัญเป็นพิเศษกับโครงการระยะสั้นเป็นหลัก

ระยะเวลาคืนทุน หมายถึง ระยะเวลาทั้งหมดที่โครงการจะให้กระแสเงินสดสุทธิรวมเท่ากับเงินลงทุนที่จ่ายเริ่มแรกพอดี

8.5 การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การเริ่มต้นธุรกิจใหม่จะต้องทำการวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ในการลงทุน โดยการคำนวณหาจุดคุ้มทุนของธุรกิจก่อน ซึ่งการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนส่วนใหญ่จะใช้กำไรส่วนเกินเป็นหลักในการวิเคราะห์โดยพิจารณาจำนวนสินค้าที่ขายเป็นจำนวนเท่าใด จึงจะมีรายได้เท่ากับค่าใช้จ่าย

จำนวนหน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่ / ( ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย )

หมายเหตุ

ต้นทุนผันแปร หมายถึง ต้นทุนรวมที่ผันแปรตามจำนวนหน่วยที่ผลิตหรือขายได้

ต้นทุนคงที่ หมายถึง ต้นทุนรวมที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามจำนวนหน่วยที่ผลิตใน ระหว่างช่วงการผลิตหรือช่วงการขายช่วงหนึ่ง

8.6 การวิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)
เป็นการประเมินโดยการนำความสำคัญของค่าของเงินตามเวลาเข้ามาคิดด้วย วิธีการนี้จะหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับที่เกิดจากโครงการในแต่ละงวดมารวมกัน แล้วเปรียบเทียบกับมูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุนโดยกำหนดอัตราส่วนลดหรือผลตอบแทนที่ต้องการ หากมีค่าเท่ากันหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิเป็นศูนย์ แสดงว่าโครงการนั้นคุ้มทุนพอดี หากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้ารวมกัน มีมากกว่ามูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุน ถือว่าโครงการนั้นให้ผลตอบแทนสูงกว่าที่เราต้องการหรือคาดหวังไว้ ควรจะลงทุนในโครงการนั้น
หากไม่แล้ว ก็ควรปฏิเสธไม่ลงทุนในโครงการนั้น
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับ – มูลค่าปัจจุบันของเงินสดจ่าย

8.7 การวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนของการลงทุน (Internal Rate of Return – IRR)
เป็นอัตราส่วนลด/หรืออัตราดอกเบี้ยที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันของเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายออกไปเท่ากับมูลค่าปัจจุบันของเงินสดที่คาดว่าจะได้รับเข้ามาตลอดอายุของโครงการ หรือคือการหาส่วนลดหรืออัตราดอกเบี้ยที่ทำ
ให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิ NPV (Net Present Value) เท่ากับ 0

อัตราผลตอบแทนที่ได้จากโครงการ : เป็นอัตราผลตอบแทนที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการ = 0

9. แผนฉุกเฉิน
เป็นการบอกถึงเรื่องถ้าเกิดการผิดพลาด กล่าวคือ ถ้าไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ยังมีแผนอื่นมารองรับที่จะทำอะไรต่อไปได้กับธุรกิจนี้ อาทิเช่น แปรผันธุรกิจ หรือบริการนี้ไปยังธุรกิจอื่นไปยังแหล่งอื่น หรือเปลี่ยนเป็นรูปแบบอื่น เป็นต้น ตัวอย่างของประเด็นความเสี่ยงและการเตรียมความพร้อมที่ควรระบุไว้ในแผนฉุกเฉิน อาทิเช่น

– ยอดขาย/เก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ตามคาดหมาย ทำให้เงินสดหมุนเวียนขาดสภาพคล่อง และธนาคาร
ไม่ให้วงเงินกู้หรือลดวงเงินกู้
– คู่แข่งตัดราคาหรือจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่องระยะยาว
– มีคู่แข่งรายใหม่ที่มีขนาดใหญ่กว่า ทันสมัยกว่า มีสินค้าครบถ้วนกว่า ราคาถูกกว่า เข้าสู่อุตสาหกรรม
หรือมาตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง
– สินค้าถูกลอกเลียนแบบและขายในราคาที่ถูกต้อง
– สินค้าผลิตไม่ทันตามคำสั่งซื้อเนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ
– สินค้าผลิตมากจนเกินไป ทำให้มีสินค้าในสต็อกเหลือมาก
– ต้นทุนการผลิต/การจัดการสูงกว่าที่คาดไว้
– เกิดการชะงักการเติบโตของทั้งอุตสาหกรรม
– มีปัญหากับหุ้นส่วนจนไม่สามารถร่วมงานกันได้

แผนธุรกิจเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ประกอบการ SMEs จะต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรก ซึ่งแผนดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานในอนาคตของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในองค์กร รวมทั้งเป็นประโยชน์แก่สถาบันการเงินและนักลงทุนภายนอกที่จะเป็นแหล่งเงินทุนให้แก่กิจการในอนาคตได้ โดยปกติแผนธุรกิจจะบอกให้เราทราบว่าปัจจุบันเราเดินอยู่ ตรงไหน อนาคตจะไปอยู่ที่ใด ด้วยวิธีการอย่างไร โดยทั่วไปองค์ประกอบของแผนธุรกิจจะประกอบไปด้วย10 หัวข้อหลัก ดังนี้1. บทสรุปสำหรับผู้บริหารเป็นส่วนที่สรุปใจความสำคัญ ๆ ของแผนธุรกิจทั้งหมด และต้องเป็นเอกสารที่สมบูรณ์ในตัวเอง (Standalone document) โดยจะชี้ให้เห็นประเด็นที่มีความสำคัญ คือ จะชี้ให้เห็นว่ามีโอกาสจริงเกิดขึ้นได้ในตลาดสำหรับธุรกิจที่กำลังคิดจะทำ และชี้ให้เห็นว่า สินค้าและบริการที่จะทำนั้น สามารถใช้โอกาสในตลาดให้เป็นประโยชน์ได้อย่างไร ดังนั้นบทสรุปจึงมีความจำเป็นต้องเขียนให้เกิดความน่าเชื่อ หนักแน่น มีความเป็นไปได้เนื่องจากบทสรุปของผู้บริหารเป็นเพียง “บทสรุป” จึงต้องเขียนให้สั้น กระชับ และกะทัดรัด (ไม่ควรเกิน 2 – 3 หน้า) และเป็นส่วนสุดท้ายในการเขียนแผนทังหมด เนื้อหาในบทสรุปของผู้บริหารควรได้กล่าวถึง- จะทำธุรกิจอะไร มีแนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจนั้นอย่างไร โดยอธิบายให้เห็นถึงความสำคัญของสินค้าและบริการ- โอกาสและกลยุทธ์ บอกถึงความน่าสนใจ ตลอดจนแนวโน้มของธุรกิจ ที่จะแสดงว่าโอกาสทางการตลาดนั้นเปิดทางให้- กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อธิบายถึงลักษณะทางการตลาด กลุ่มลูกค้าหลัก การวางแผนการเข้าถึง ลูกค้า- ความได้เปรียบเชิงการแข่งขันของธุรกิจ รวมถึงทางด้านตัวผลิตภัณฑ์ และความได้เปรียบต่อคู่แข่งขัน- ทีมผู้บริหาร สรุปถึงความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะ ควรจำกัดไม่เกิน 3 – 5 คน และเป็น ผู้ที่มีผลกระทบต่ออนาคตและความสำเร็จของธุรกิจ- แผนการเงิน/การลงทุนโดยระบุถึงเงินลงทุน จะทำอะไร ผลตอบแทนของการลงทุน จะเป็นเท่าไร——————————————————————————–2. ประวัติกิจการ / ภาพรวมของกิจการในส่วนนี้เป็นการให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับความเป็นมาของการก่อตั้ง / จดทะเบียน ตลอดจนแนวคิด และการเล็งเห็นโอกาสทางการตลาด การคิดค้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่จะนำเสนอให้กับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย และควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับเป้าหมายในระยะยาวที่ต้องการจะเป็นในอนาคต3. การวิเคราะห์สถานการณ์การวิเคราะห์สถานการณ์ที่เรียกกันว่า “SWOT ANALYSIS” แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ3.1 การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน เป็นการตรวจสอบความสามารถ ความพร้อมของกิจการในด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นในส่วนที่เป็นจุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weaknesses) ของกิจการ3.2 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก เป็นการประเมินสภาพแวดล้อมที่ผู้ประกอบการไม่สามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงได้ ในลักษณะที่เป็นโอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค(Threats)ในสถานการณ์ปัจจุบันผู้ประกอบการควรได้เริ่มวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกเนื่องจากเป็นปัจจัยที่ผู้ประกอบการไม่สามารถควบคุมได้ โดยทั่วไปปัจจัยภายนอกที่มีความสำคัญที่ผู้ประกอบการควรจะต้องให้ความสนใจ มี 7 ประการ สามารถเรียกง่าย ๆ ว่า “MC-STEPS” โดยมีความหมายพอสรุป ได้ ดังนี้M = Market คือ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายC = Competition คือ สถานการณ์การแข่งขันS = Social คือ ค่านิยมทางวัฒนธรรมของสังคม เช่น การใช้สินค้าที่มียี่ห้อT = Technology คือ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีE = Economic คือ สถานการณ์P = Political & Legal คือ สถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงเรื่องกฎ ระเบียบต่าง ๆS = Suppliers คือ กลุ่มผู้จำหน่ายวัตถุดิบ / กลุ่มผู้ผลิตและเครือข่าย4. วัตถุประสงค์ และเป้าหมายทางธุรกิจเป็นผลลัพธ์ทางธุรกิจที่กิจการต้องการได้รับในช่วงระยะเวลาของการจัดทำแผน โดยทั่วไปเป้าหมายธุรกิจแบ่งออกเป็น เป้าหมายโดยรวมของกิจการ และเป้าหมายเฉพาะด้านในแต่ละแผนก/ลักษณะของงานนอกจากนี้เป้าหมายทางธุรกิจยังควรแบ่งเป็น เป้าหมายระยะสั้น ในช่วงระยะเวลา 1 ปี เป้าหมายระยะปานกลาง ระยะเวลา 3 – 5 ปี และเป้าหมายระยะยาว ที่นานกว่า 5 ปีลักษณะเป้าหมายธุรกิจที่ดี ประกอบไปด้วย4.1 ความเป็นไปได้ หมายถึง กิจการมีโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย4.2 สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม คือ ความชัดเจนที่สามารถประเมินได้ว่ากิจการบรรลุตามเป้าหมายแล้วหรือไม่4.3 เป็นไปในทางเดียวกัน คือ เป้าหมายย่อย ๆ ในแต่ละฝ่าย ควรมีลักษณะที่สอดคล้องกัน5. แผนการตลาดและการวิจัยแผนการตลาดในการทำธุรกิจนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดคือมุมมองทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการจะต้องหาให้ได้ หรือมองให้ออกว่าผู้บริโภคต้องการอะไร แล้วผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อสนองความต้องการนั้น กำไรที่เกิดขึ้นนั้นคือผลงานจากการทำให้ผู้บริโภคได้รับความพึงพอใจสูงสุดแผนการตลาดเป็นจุดเริ่มต้นของธุรกิจว่าจะมีความเป็นไปได้แค่ไหน โดยทั่วไปจะเป็นการวิเคราะห์เพื่อกำหนดแผนการตลาด ดังนี้5.1 กำหนดขอบเขตธุรกิจหรือขอบเขตการตลาด (Market Definition)5.2 การวิเคราะห์อุตสาหกรรม (Industry Analysis) มีองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้- วิเคราะห์ลูกค้า- วิเคราะห์คู่แข่ง- วิเคราะห์ต้นทุน- วิเคราะห์แนวโน้ม ส่วนใหญ่5.3 การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)โดยทั่วไปจะนิยมแบ่งส่วนตลาดใน 4 ลักษณะ ดังนี้ภูมิศาสตร์- ภาค- ในเมืองหรือชนบทประชากรศาสตร์- อายุ- เพศ- รายได้จิตวิทยา- รูปแบบการดำเนินชีวิต- ชั้นวรรณะ สูง กลาง ต่ำพฤติกรรม- โอกาสซื้อบ่อยแค่ไหน- ความภักดีต่อสินค้ากลยุทธ์ทางการตลาด โดยทั่วไปการวางแผนทางด้านการตลาด มักจะมีขั้นตอนง่าย ๆ เรียกว่า STP&4P’s ดังนี้1. S มาจาก Segmentation คือ การแบ่งส่วนตลาด ดังได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ 5.32. T มาจาก Targeting คือ การกำหนดลูกค้าเป้าหมายว่ากลุ่มไหนที่เราจะเลือก โดยทั่วไปเรา3. P มาจาก Positioning คือ การสร้างภาพพจน์ในใจของลูกค้า4. 4 P’s มาจากส่วนผสมที่ลงตัวในโปรแกรมทางการตลาด 4 ตัว เปรียบเสมือนแผนปฏิบัติการ(Action Plan) ทางการตลาด ดังนี้4.1 Product คือ สินค้า/บริการ4.2 Price คือ ราคา4.3 Place คือ ช่องทางการจำหน่าย4.4 Promotion คือ การส่งเสริมทางการตลาดนอกจากส่วนประสมทางการตลาด 4 P’s ที่กล่าวมาแล้ว ยังมี 4 C’s ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วนประสมทางการตลาดยุคใหม่ที่มองทางด้านความต้องการของผู้บริโภคและควรที่จะต้องนำมาใช้ร่วมในแผนปฏิบัติการทางการตลาดด้วย ดังนี้5. 4 C’s5.1 Consumer Need คือ ผลิต/ขายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า5.2 Customer Benefits คือ ผลประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ5.3 Convenience คือ เป็นสินค้าที่สะดวก5.4 Communication คือ การรับรู้ข่าวสารสินค้การวิจัยการวิจัยคือจุดเริ่มต้นสำหรับการตลาด หากไม่ทำวิจัยก่อนก็เหมือนกับบริษัทนั้น ๆ เข้าสู่ตลาดเหมือนคนตาบอดการวิจัยทำให้บริษัทตระหนักว่า โดยปกติแล้วผู้ซื้อในตลาดหนึ่ง ๆ จะมีความต้องการ ความเข้าใจ และความชอบต่างกันไป เช่น ผู้หญิงต้องการรองเท้าที่ต่างจากผู้ชาย คนอ้วนต้องการรองเท้าต่างจากคนผอม และเมื่อแฟชั่นเข้าสู่ตลาดรองเท้า ความชอบก็จะยิ่งขยายวงกว้างออกไป ซึ่งเป็นผลจากความแตกต่างด้านรายได้ การศึกษาและรสนิยม6. แผนการบริหารจัดการและแผนการดำเนินงานเป็นการกำหนดโครงสร้างองค์กร และผู้บริหารที่สอดคล้องกับแผนการดำเนินธุรกิจด้านอื่น ๆ ของ กิจการ มีแผนด้านทรัพยากรบุคคลที่ดี ในส่วนนี้จะประกอบไปด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้6.1 สถานที่ตั้ง6.2 โครงสร้างองค์กร และทีมผู้บริหาร6.3 แผนด้านบุคลากร จำนวน เวลาทำงาน ค่าตอบแทน ความรู้ ความสามารถ ทักษะ6.4 เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ – ซื้อ เช่า เช่าซื้อ7. แผนการผลิต/ปฏิบัติการแผนการผลิตและปฏิบัติการที่ดีต้องสะท้อนความสามารถขององค์กรใน “การจัดการกระบวนการผลิตและปฏิบัติการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล” เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับธุรกิจ โดยมุ่งเน้นประเด็นการจัดการไปยังกระบวนการแปลงสภาพวัตถุดิบและทรัพยากรในการผลิตในการวางแผนปฏิบัติการ ผู้ประกอบการต้องพิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการผลิตตามประเด็นที่สำคัญ คือ7.1 คุณภาพ7.2 การออกแบบสินค้าและบริการ7.3 การออกแบบกระบวนการผลิต และการตัดสินใจเรื่องกำลังการผลิต7.4 การออกแบบผังของสถานประกอบการ7.5 การออกแบบระบบงาน และวางแผนอัตรากำลังคนในกระบวนการผลิตโดยการพิจารณาถึงรายละเอียดของระบบงานเป็นการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังในกระบวนการผลิต การใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และการใช้อัตรากำลังคนที่เหมาะสม สำหรับหน้าที่ต่าง ๆ คุณสมบัติของพนักงานทั้งทางด้านความรู้ ความสามารถ ทักษะ8. แผนการเงินเมื่อมีการกำหนดแผนการตลาด แผนการบริหารจัดการ และแผนการผลิตได้แล้ว ที่สำคัญที่สุดคือต้องมีแผนการเงินมารองรับ เนื่องจากในทุกกิจกรรมต้องใช้เงินทั้งนั้น ในท้ายที่สุดของแผนธุรกิจจะต้องมีแผนการเงินที่ดี โดยทั่วไปจะมีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้8.1 สมมุติฐานทางการเงิน เป็นการกำหนดปัจจัยหลัก ๆของการดำเนินงานเพื่อประมาณการทางการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปมีดังนี้1) ยอดขาย เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่มาจากแผนการตลาดที่วางไว้2) ต้นทุนขาย ควรจะมาจากแผนการผลิตที่วางไว้3) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมาจากแผนบุคลากร และกิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมการขายต่าง ๆ4) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ประเมินจากอัตราดอกเบี้ย และวงเงินกู้เดิมกับวงเงินกู้ที่จะขอเพิ่มมาใหม่5) สินทรัพย์และค่าเสื่อม มาจากประมาณการที่จะลงทุนในอนาคต เพื่อขยายกิจการและวิธีการคิดค่าเสื่อม6) สินค้าคงคลัง ประมาณการระดับสินค้าคงคลังที่เหมาะสม7) ลูกหนี้การค้า ประมาณการระยะเวลาระหว่างการขายสินค้า และการเก็บเงินได้จากการขาย8) เจ้าหนี้การค้า ประมาณการระยะเวลาสั่งซื้อของ และจ่ายเงินให้เจ้าหนี้8.2 ประมาณการทางการเงิน เป็นการประมาณการงบการเงินและการวิเคราะห์อัตราส่วนตามสมมุติฐานที่วางไว้ ประกอบไปด้วยงบกำไรขาดทุน คือ งบที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของบริษัทตลอดงวดระยะเวลาบัญชโดยทั่วไปจะกำหนดให้เป็นรอบ 1 ปี หรือราย 6 เดือน งบกำไรขาดทุน ประกอบด้วย รายการหลัก 3 รายการ คือ1) ยอดขายหรือรายได้2) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ หรือต้นทุน3) ผลต่างของตัวเลขดังกล่าว ซึ่งก็คือ กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิงบดุล คือ งบที่แสดงถึงฐานะการเงิน ภาระผูกพันในการชำระหนี้ และจำนวนทุนของบริษัท ณ วันใดวันหนึ่งเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ณ วันสิ้นงวดของรอบระยะเวลาบัญชี งบดุลประกอบด้วยรายการหลัก ๆ 3 รายการ คือ สินทรัพย์ หนี้สิน และทุน หรือส่วนของเจ้าของงบกระแสเงินสด (Cash Flow) คือ งบแสดงการเคลื่อนไหวของเงินสด โดยจะแสดงถึงรายการได้มาและใช้ไปของเงินสดหรือสิ่งที่เทียบเท่าเงินสดใน 3 กิจกรรมหลัก ๆ คือ- เงินสดที่ได้จากการดำเนินงาน- จากการจัดหาเงินทุน- จากการลงทุนดังนั้นความสามารถในการบริหารเงินสดของบริษัท และสภาพคล่องทางการเงิน จะดูได้จากงบกระแสเงินสด โดยงบกระแสเงินสดที่ดีควรเป็นเงินสดที่ไหลเข้ามาจากการลงทุนมากที่สุดรองลงมาจากการดำเนินงานและจากการจัดหาเงินทุนน้อยที่สุด งบกระแสเงินสดควรจะทำเป็นรายเดือน รายไตรมาส รายปี และอาจจะทำล่วงหน้าไปหลายปี ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมของกิจการเพื่อที่จะทำให้รู้ถึงสถานะปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตของกิจการนั้น ๆการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน แบ่งออกได้เป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้1. สภาพคล่อง1.1 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน1.2 อัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัว (Quick Ratio) = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน2. ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์2.1 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Receivable Turnover) = ขายเชื่อสุทธิ / ลูกหนี้เฉลี่ย2.2 อัตราหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover) = ต้นทุนสินค้าขาย / สินค้าคงเหลือเฉลี่ย2.3 ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ (Receivable Turnover Period) = ( 365 x ลูกหนี้ ) / ยอดขาย2.4 ระยะเวลาสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover Period) = ( 365 x สินค้าคงเหลือ) / ต้นทุนขาย3. ความสามารถในการบริหารงาน3.1 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (Return On Assets : ROA ) = ( กำไรสุทธิ x 100 ) / สินทรัพย์ทั้งหมด3.2 อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (Return On Equity : ROE) = ( กำไรสุทธิ x 100 ) / ส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมด3.3 อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (Operating Income Margin) = ( กำไรจากการดำเนินงาน x 100 ) / ยอดขาย3.4 อัตรากำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) = ( กำไรขั้นต้น x 100 ) / ยอดขาย4. ความสามารถในการชำระหนี้4.1 อัตราส่วนแห่งหนี้ (Debt Ratio) = หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม4.2 อัตราส่วนแหล่งเงินทุน (Debt to Equity Ratio) = หนี้สินทั้งหมด / ส่วนของผู้ถือหุ้น4.3 อัตราส่วนความสามารถจ่ายดอกเบี้ย (Interest Coverage Ratio) = กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี / ดอกเบี้ยจ่าย8.3 การประเมิณสถาณการณ์จำลองเมื่อจัดทำงบประมาณทางการเงินแล้ว ลำดับต่อไปจะทำการประเมินสถานการณ์จำลองเป็นการวิเคราะห์ความไวต่อสถานการณ์เมื่อเกิดมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นในอนาคต จะขอยกตัวอย่างการประเมินสถานการณ์อยู่ 3 ลักษณะ ดังนี้กรณีที่ดี เช่น ยอดขายเพิ่ม 20% ค่าใช้จ่ายลด 20%กรณีปกติ เช่น ยอดขายเพิ่ม 10% ค่าใช้จ่ายลด 10%กรณีแย่ เช่น ยอดขายลด 20% ค่าใช้จ่ายเพิ่ม 20%ซึ่งทำให้ทราบถึงผลกระทบของตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงไปว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไร เช่น จะเกิดอะไรขึ้นถ้ายอดขายลด 20% และค่าใช้จ่ายเพิ่ม 20%8.4 การวิเคราะห์ระยะเวลาคืนทุนบอกถึงสภาพคล่องของโครงการ หมายถึง ระยะเวลาทั้งหมดที่จะต้องใช้ไปในการที่จะเปลี่ยนสินทรัพย์ที่ลงทุนไปนั้นกลับมาเป็นเงินสดอีกครั้งหนึ่ง ระยะเวลาคืนทุนที่สั้นกว่าจะบอกถึงสภาพคล่องที่ดีกว่า และมีความเสี่ยงที่ต่ำกว่า แต่อย่างไรก็ตามเกณฑ์ระยะเวลาคืนทุนนี้ มีจุดอ่อนอยู่ที่การไม่คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลาหรือกระแสเงินที่เกิดขึ้นต่างเวลากัน เกณฑ์นี้นำมารวมกันที่หาระยะเวลาคืนทุนโดยทันที และการไม่นำกระแสเงินสดทุกจำนวนที่เกิดจากโครงการมาพิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ จะพิจารณาเฉพาะกระแสเงินสดที่จำเป็นสำหรับการได้คืนทุนเท่านั้น รวมทั้งเกณฑ์นี้จะไม่เป็นธรรมสำหรับโครงการระยะยาวที่มีผลกำไรหลายปี ในอนาคตจะให้น้ำหนักความสำคัญเป็นพิเศษกับโครงการระยะสั้นเป็นหลักระยะเวลาคืนทุน หมายถึง ระยะเวลาทั้งหมดที่โครงการจะให้กระแสเงินสดสุทธิรวมเท่ากับเงินลงทุนที่จ่ายเริ่มแรกพอดี8.5 การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการเริ่มต้นธุรกิจใหม่จะต้องทำการวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ในการลงทุน โดยการคำนวณหาจุดคุ้มทุนของธุรกิจก่อน ซึ่งการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนส่วนใหญ่จะใช้กำไรส่วนเกินเป็นหลักในการวิเคราะห์โดยพิจารณาจำนวนสินค้าที่ขายเป็นจำนวนเท่าใด จึงจะมีรายได้เท่ากับค่าใช้จ่ายจำนวนหน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่ / ( ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย )หมายเหตุต้นทุนผันแปร หมายถึง ต้นทุนรวมที่ผันแปรตามจำนวนหน่วยที่ผลิตหรือขายได้ต้นทุนคงที่ หมายถึง ต้นทุนรวมที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามจำนวนหน่วยที่ผลิตใน ระหว่างช่วงการผลิตหรือช่วงการขายช่วงหนึ่ง8.6 การวิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)เป็นการประเมินโดยการนำความสำคัญของค่าของเงินตามเวลาเข้ามาคิดด้วย วิธีการนี้จะหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับที่เกิดจากโครงการในแต่ละงวดมารวมกัน แล้วเปรียบเทียบกับมูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุนโดยกำหนดอัตราส่วนลดหรือผลตอบแทนที่ต้องการ หากมีค่าเท่ากันหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิเป็นศูนย์ แสดงว่าโครงการนั้นคุ้มทุนพอดี หากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้ารวมกัน มีมากกว่ามูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุน ถือว่าโครงการนั้นให้ผลตอบแทนสูงกว่าที่เราต้องการหรือคาดหวังไว้ ควรจะลงทุนในโครงการนั้นหากไม่แล้ว ก็ควรปฏิเสธไม่ลงทุนในโครงการนั้นมูลค่าปัจจุบันสุทธิ = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับ – มูลค่าปัจจุบันของเงินสดจ่าย8.7 การวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนของการลงทุน (Internal Rate of Return – IRR)เป็นอัตราส่วนลด/หรืออัตราดอกเบี้ยที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันของเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายออกไปเท่ากับมูลค่าปัจจุบันของเงินสดที่คาดว่าจะได้รับเข้ามาตลอดอายุของโครงการ หรือคือการหาส่วนลดหรืออัตราดอกเบี้ยที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิ NPV (Net Present Value) เท่ากับ 0อัตราผลตอบแทนที่ได้จากโครงการ : เป็นอัตราผลตอบแทนที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการ = 09. แผนฉุกเฉินเป็นการบอกถึงเรื่องถ้าเกิดการผิดพลาด กล่าวคือ ถ้าไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ยังมีแผนอื่นมารองรับที่จะทำอะไรต่อไปได้กับธุรกิจนี้ อาทิเช่น แปรผันธุรกิจ หรือบริการนี้ไปยังธุรกิจอื่นไปยังแหล่งอื่น หรือเปลี่ยนเป็นรูปแบบอื่น เป็นต้น ตัวอย่างของประเด็นความเสี่ยงและการเตรียมความพร้อมที่ควรระบุไว้ในแผนฉุกเฉิน อาทิเช่น- ยอดขาย/เก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ตามคาดหมาย ทำให้เงินสดหมุนเวียนขาดสภาพคล่อง และธนาคารไม่ให้วงเงินกู้หรือลดวงเงินกู้- คู่แข่งตัดราคาหรือจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่องระยะยาว- มีคู่แข่งรายใหม่ที่มีขนาดใหญ่กว่า ทันสมัยกว่า มีสินค้าครบถ้วนกว่า ราคาถูกกว่า เข้าสู่อุตสาหกรรมหรือมาตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง- สินค้าถูกลอกเลียนแบบและขายในราคาที่ถูกต้อง- สินค้าผลิตไม่ทันตามคำสั่งซื้อเนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ- สินค้าผลิตมากจนเกินไป ทำให้มีสินค้าในสต็อกเหลือมาก- ต้นทุนการผลิต/การจัดการสูงกว่าที่คาดไว้- เกิดการชะงักการเติบโตของทั้งอุตสาหกรรม- มีปัญหากับหุ้นส่วนจนไม่สามารถร่วมงานกันได้

[Update] รูปแบบของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | รูป แบบ ของ การ ประกอบ ธุรกิจ – NATAVIGUIDES

guest

รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

รูปแบบที่ 1: B-to-B (Business to Business) เป็นการค้าระหว่างองค์กร หรือบริษัท (ปริมาณขายต่อครั้งจะมาก)

รูปแบบที่ 2: B-to-C (Business to Consumer) เป็นการค้าจากองค์กร สู่ลูกค้าบุคคล (ค้าส่งขนาดย่อม ประมาณพอประมาณ)

รูปแบบที่ 3: C-to-C (Consumer to Consumer) เป็นการค้าระหว่างบุคคล ถึง บุคคล (ค้าปลีก ปกติปริมาณขายจะน้อย)

รูปแบบที่ 4: G-to-C (Government to Consumer) เป็นการค้าระหว่างภาครัฐ กับผู้บริโภค (การให้บริการประชาชน)

รูปแบบที่ 5: G-to-B (Government to Business) เป็นการค้าระหว่างภาครัฐ กับองค์กร (ปริมาณการค้ามาก)

ประเภทธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B2G) คือ รูปแบบการจำหน่ายขั้นตอนในกระบวนการขาย

  1. การหาข้อมูลสินค้า

  2. การตรวจสอบราคา และคุณสมบัติของสินค้า

  3. การสั่งซื้อสินค้า

  4. การตรวจสอบยืนยันราคา และสินค้าคงคลัง

  5. การออกแบบใบสั่งซื้อ

  6. การกำหนดเวลาส่งสินค้า

  7. การออกใบเสร็จรับเงิน

  8. การส่งสินค้า

  9. ส่งใบเสร็จรับเงิน

  10. การชำระเงิน

ผลกระทบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อประเทศไทย

  1. เปลี่ยนโครงสร้างการค้ารูปแบบใหม่ไปสู่ระบบดิจิทอล

  2. ขาดแคลนแรงงานที่มีความรู้ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

  3. เสียเปรียบดุลการค้าต่างชาติที่พัฒนาทางเทคโนโลยีไปสูงกว่า

  4. ยังไม่มีกฏหมายที่ใช้บังคับการทำผิดบนอินเทอร์เน็ตโดยตรง หรือคุ้มครองข้อมูลการซื้อขายที่ชัดเจน

  5. การส่งเสริมจากรัฐบาลเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน เป็นไปอย่างไม่เร่งร้อน

  6. ความไม่แน่ใจเรื่องความปลอดภัยของ e-commerce

รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

  1. B to G (Business to Government)

  2. B to B (Business to Business)

  3. B to C (Business to Customer)

  4. C to C (Customer to Customer)

  5. G to C (Government to Customer)

องค์ประกอบของ e-Commerce

  1. ผู้ซื้อ (Customer)

  2. ผู้ขาย (Warehouse หรือ โกดังสินค้า)

  3. ระบบชำระเงิน (Banking)

  4. ระบบขนส่ง (Shipping)

 

 


สื่อการสอน รูปแบบการประกอบธุรกิจ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สื่อการสอน รูปแบบการประกอบธุรกิจ

Startup 101 : (1/5) รูปแบบธุรกิจที่นักลงทุนสนใจ


5 ข้อมูลหลักที่นักลงทุนอยากรู้จาก Startup
1. ความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์ สินค้าหรือบริการมี Traction อย่างไร เช่น มีจำนวนผู้ดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นมากน้อยแค่ไหน หรือสร้างรายได้เท่าไหร่
2. ขนาดของตลาด ธุรกิจของกลุ่ม Startup มีมูลค่า และสร้างรายได้เท่าไหร่จากตลาด
3. แผนการขยายตัวของธุรกิจ Startup ควรชี้แจงแผนการเติบโตที่ชัดเจน
4. ข้อแตกต่างจากคู่แข่ง มีข้อได้เปรียบกว่าสินค้าคู่แข่งอย่างไร
5. ความรู้ ความสามารถของทีมและผู้ก่อตั้ง
Facebook : Startup Thailand https://www.facebook.com/ThailandStartup

Startup 101 : (1/5) รูปแบบธุรกิจที่นักลงทุนสนใจ

ถ่ายทอดสด เรื่องเล่าเช้านี้ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564


ถ่ายทอดสด เรื่องเล่าเช้านี้ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News)
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารก่อนใครได้ที่นี่
ch3plus : https://ch3plus.com/ne…/programs/morning
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
YouTube : https://cutt.ly/MorningnewsTV3

ถ่ายทอดสด เรื่องเล่าเช้านี้ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564

TOP ข่าวเที่ยง | 19 พ.ย. 64 | FULL | TOP NEWS


TOP ข่าวเที่ยง
พบกับ อัญชะลี ไพรีรัก และ วิทเยนทร์ มุตตามระ
เที่ยงตรง คงมั่น ทันสถานการณ์ คัดทุกข่าวสำคัญ ให้ท่านถึงหน้าจอ สดจากสถานที่ ความเคลื่อนไหวนาทีต่อนาทีจากโซเชียล
ทุกวัน จันทร์ ศุกร์ เวลา 12.00 13.50 น.
ติดตาม TOP NEWS ข่าวเด่น : https://bit.ly/topnewskhaoden
ติดต่อ โฆษณา [email protected]
ดาวน์โหลดแอป TOP NEWS
ios : https://bit.ly/TopnewsIOS
android : https://bit.ly/TopnewsAndroid
ติดตามข่าวสารจากทางเราได้ จากทุกๆ ช่องทาง
กล่อง PSI, INFOSAT, GMMZ, IPM , CSAT, TIK , 3BB, TOT ช่องหมายเลข 77 , AIS ช่องหมายเลข 658
Youtube : https://bit.ly/YoutbTopTV
FB : https://bit.ly/FBTOPTV
IG : https://bit.ly/IGTOPTV
Twitter : https://bit.ly/TWTOPTV
Line : bit.ly/LINExTOPTV
Website : https://www.topnews.co.th
กลุ่มแฟนรายการ ข่าวเที่ยงตรง : https://bit.ly/2NJ3hWX
TOPTV TOPNEWS TOPข่าวเที่ยง อัญชะลี พี่ปอง เจ๊ปอง วิทเยนทร์

TOP ข่าวเที่ยง | 19 พ.ย. 64 | FULL | TOP NEWS

รูปแบบการประกอบธุรกิจ


รูปแบบการประกอบธุรกิจ
เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด
บริษัทมหาชนจำกัด หสกรณ์ รัฐวิสาหกิจ

รูปแบบการประกอบธุรกิจ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ รูป แบบ ของ การ ประกอบ ธุรกิจ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *