Skip to content
Home » [NEW] “กลัวว่าเพื่อนจะแบนและตามคนอื่นไม่ทัน” รู้จัก FOMO อาการกังวลว่าเราจะพลาดสิ่งดี ๆ | รู้สึกว่าเพื่อนไม่ชอบ – NATAVIGUIDES

[NEW] “กลัวว่าเพื่อนจะแบนและตามคนอื่นไม่ทัน” รู้จัก FOMO อาการกังวลว่าเราจะพลาดสิ่งดี ๆ | รู้สึกว่าเพื่อนไม่ชอบ – NATAVIGUIDES

รู้สึกว่าเพื่อนไม่ชอบ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Table of Contents

“กลัวว่าเพื่อนจะแบนและตามคนอื่นไม่ทัน” รู้จัก FOMO อาการกังวลว่าเราจะพลาดสิ่งดี ๆ

By: BAO February 16, 2021

เพราะเรามีโซเชียลมีเดีย เราเลยชอบเปรียบเทียบกันและแข่งขันกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ความสัมพันธ์ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมถึง การใช้ชีวิต ปรากฎการณ์นี้อาจทำให้คนรุ่นใหม่เจอกับอาการ FOMO และไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขดังเดิมได้ เพราะมันนำมาซึ่งปัญหาด้านความรู้สึกที่หนักหน่วง

FOMO คืออะไร ?

อาการ FOMO มีชื่อเต็ม ๆ ว่า Fear Of Missing Out คือ อาการที่เรากลัวว่าตัวเองจะพลาดโอกาสดี ๆ ที่คนอื่นกำลังเจออยู่ ไม่ว่าจะเป็น กลัวว่าเพื่อนจะไปเฉลิมฉลองกันโดยที่ไม่ชวนเรา หรือ กลัวว่าคนอื่นกำลังทำกิจกรรมสนุก ๆ ร่วมกัน ๆ โดยที่ไม่มีเราอยู่ในนั้น ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นเพราะความอิจฉา และส่งผลให้เรามีความภูมิใจในตัวเอง หรือ self-esteem ต่ำลงด้วย

โซเชียลมีเดียอย่าง Facebook หรือ Instagram ดูจะเป็นตัวการที่ทำให้ปัญหานี้รุนแรงขึ้น เพราะมันทำให้เราเห็นเรื่องราวชีวิตของคนอื่นมากขึ้น และแน่นอนว่ามันก็ทำให้เราเปรียบเทียบกับคนอื่นมากขึ้นเช่นกัน เราอาจเห็นภาพของเพื่อนที่กำลังใช้เวลาดี ๆ ร่วมกันได้ง่ายขึ้น เช่น กำลังปาร์ตี้กันอยู่ หรือ กำลังจะได้เลือนขั้น แต่เรายังนั่งทำงานอยู่ และมองไม่เห็นอนาคตเลย นำไปความรู้สึกว่าตัวเองกำลังขาดอะไรบางอย่างอยู่ หรือ ความกังวลว่าตัวเองกำลังถูกกีดกันออกจากกลุ่ม

อย่างไรก็ตาม FOMO เป็นคอนเซ็ปท์ที่มีมานานแล้วตั้งแต่สมัยโบราณ และเริ่มมีการศึกษาอย่างจริงจังหลังปี 1996 โดย Dr.Dan Herman นักกลยุทธ์การตลาด ทำงานวิจัยที่ค้นพบอาการกลัวพลาด (fear of missing out) ในมนุษย์ และเผยแพร่มันในวารสาร The Journal of Brand Management ปี 2000

Patrick J. McGinnis ได้ทำให้คำว่า FOMO กลายเป็นที่นิยมในปี 2004 โดยเขาได้เขียนถึงมันในบทความที่เผยแพร่ในนิตยสาร The Harbus ของ Harvard Business School บทความความนี้เขาพูดความกลัวที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในสังคมโรงเรียน ได้แก่ FOMO และ FoBO ( Fear of a Better Option ) หรือ อาการที่เรากลัวความคิดเห็นที่ดีกว่าตัวเอง

มันส่งผลเสียต่อเราอย่างไรบ้าง

นอกจากจะทำให้เรามองไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง และเป็นทุกข์กับชีวิตแล้ว FOMO อาจทำให้เรารู้สึกโดดเดี่ยวเปลี่ยวเหงามากกว่าปกติด้วย อ้างอิงจากงานวิจัยที่เผยแพร่ใน Journal of Social and Personal Relationships ฉบับเดือนธันวาคมปี 2020

งานวิจัยชิ้นนี้ได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 419 คน เป็นผู้ชาย 98 คน ส่วนใหญ่เป็นคนขาว และมีช่วงอายุระหว่าง 14 – 47 ปี พวกเขาจะต้องทำแบบทดสอบหลายตัว ไม่ว่าจะเป็น แบบทดสอบวัดระดับ self-compassion (Self-compassion scale) แบบทดสอบวัดการใช้งานโซเชียลมีเดีย (Social media engagement) แบบทดสอบวัดระดับความภาคภูมิใจในตัวเอง (Rosenberg Self-Esteem Scale) รวมถึง แบบสำรวจอาการกลัวพลาดโอกาส (Fear of Missing Out Survey)

ข้อมูลจากงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า FOMO เกี่ยวข้องกับ ความโดดเดี่ยว ความภาคภูมิใจในตัวเอง รวมถึง self-compassion ที่ต่ำลงโดยไม่เกี่ยวข้องกับอายุ โดยคนที่มีอาการ FOMO สูงมักจะรู้สึกโดดเดียวเปลี่ยวเหงามากกว่าคนอื่น รวมถึงมองตัวเองแย่ ไม่ค่อยยอมรับในตัวเอง (less self-acceptance) และไม่ค่อยใจดีกับตัวเอง (less self-kindness)

จะก้าวข้ามอาการ FOMO ได้อย่างไร ?

เมื่อคนที่เป็น FOMO ไม่รักตัวเอง ไม่มีความภูมิใจในตัวเอง ไม่ยอมรับในตัวเอง และไม่แคร์ความต้องการของตัวเอง พวกเขาก็จะเป็นทุกข์จากการเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นตลอดเวลา ดังนั้น ใครที่มีอาการ FOMO อยู่ก็คงต้องเริ่มเปลี่ยนแปลงตัวเองแล้ว ซึ่งอาการ FOMO ที่เราพบบ่อย ได้แก่ อยากทำทุกอย่างและอยากอยู่ในทุกที่ แต่ไม่รู้สึกผูกมัดกับสิ่งที่เราอยากทำหรือสถานที่ที่เราอยากไป ถ้ามีสิ่งที่ดีกว่าเราก็เปลี่ยนได้อย่างง่ายดาย, ดูโซเชียลมีเดียตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็น อีเมล์ เฟสบุ๊ก ทวิตเตอร์ หรือ อินสตราแกรม, รู้สึกแย่เมื่อเราพลาดอะไรบางอย่างไป, ประสบการณ์ใหม่ ๆ ดึงดูดความสนใจเราได้เสมอ และรู้สึกว่าตัวเองไม่สามารถตามคนอื่นทันได้

เบี่ยงเบนความสนใจของเราไปยังเรื่องอื่น

คนที่เป็น FOMO มักโฟกัสไปที่สิ่งตัวเองขาด เกิดอาการอิจฉาสิ่งที่คนอื่นมี ซึ่งส่งผลให้พวกเขาเป็นทุกข์ ถ้าพวกเขาหันมาโฟกัสในสิ่งที่ตัวเองมีจะช่วยให้ทุกอย่างมันดีขึ้นได้ อาจเริ่มจากการกำจัดสิ่งที่ทำให้เรารู้สึกแย่บนโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็น เพื่อนที่ชอบโอ้อวด หรือ เพจต่าง ๆ ที่ชอบขายฝัน เมื่อสิ่งที่ทำให้เราเกิดอาการ FOMO มีน้อยลงแล้ว เราจะพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่มากขึ้น และมีความสุขกับชีวิตมากขึ้นตามมา

พบปะผู้คน

ถ้าเราเสียเวลาไปกับการไถ่โซเชียลมีเดีย และดูหน้าฟีดของเพื่อน ๆ อาจยิ่งทำให้เราเป็น FOMO และรู้สึกโดดเดี่ยวเปลี่ยวเหงามากขึ้นได้ พยายามเจอกับผู้คนแบบต่อหน้ามากขึ้น และมีความสัมพันธ์กับผู้คนบนโซเชียลมีเดียให้น้อยลง จะช่วยให้เรารู้สึกตัวคนเดียวน้อยลง และไม่รู้สึกว่าตัวเองกำลัง missing-out เพราะเราได้ใช้เวลาร่วมกับคนอื่นจริง ๆ

เรียนรู้ที่จะรักตัวเอง

เวลาเราเปรียบเทียบกับคนอื่น เรามักจะสนใจแต่สิ่งที่คนอื่นมี และสิ่งที่ตัวเองขาด จนไม่สามารถชื่นชมในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ได้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่เราจะเป็นทุกข์ ดังนั้น คนที่เป็น FOMO จึงควรฝึกฝนการรักตัวเอง หรือ self-compassion ซึ่งจะช่วยให้พวกเขาเลิกนิสัยชอบเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นได้ง่ายขึ้น

เลิกคิดว่าเรามีโอกาสเพียงครั้งเดียว

บางเรื่องถ้าเราพลาดไป มันก็ยังมีโอกาสที่เราจะทำมันได้ใหม่ในครั้งหน้า ไม่ว่าจะเป็น การไปเที่ยวต่างจังหวัดกับเพื่อน หรือ การกินเลี้ยงสังสรรค์ต่าง ๆ เพราะฉะนั้น เราไม่จำเป็นต้องกังวลหรือเศร้า ถ้าเราพลาดโอกาสที่จะมีช่วงเวลาดี ๆ แถมบางครั้งเราอาจจะไม่ได้อยากทำเรื่องเหล่านั้นด้วย แต่เราต้องทำ เพราะเราอิจฉาเพื่อน ดังนั้น การพลาดโอกาสนั้นไปก็อาจเป็นเรื่องที่ทำให้เราคิดทบทวนเกี่ยวกับตัวเองมากขึ้น

ที่สำคัญเราต้องอย่าลืมว่า ทุกคนมีข้อจำกัด และไม่สามารถทำได้ทุกเรื่อง เราไม่สามารถไปเจอกับเพื่อนได้ทุกครั้งที่มีการนัด เพราะวันนั้นเราอาจงานยุ่งจนไม่มีเวลาว่าง และยอมรับความเป็นจริง ซึ่งจะช่วยให้เส้นทางชีวิตของเรากลายเป็นเส้นทางแห่งความสุขได้

Appendixs  1 / 2 / 3

[NEW] “กลัวว่าเพื่อนจะแบนและตามคนอื่นไม่ทัน” รู้จัก FOMO อาการกังวลว่าเราจะพลาดสิ่งดี ๆ | รู้สึกว่าเพื่อนไม่ชอบ – NATAVIGUIDES

“กลัวว่าเพื่อนจะแบนและตามคนอื่นไม่ทัน” รู้จัก FOMO อาการกังวลว่าเราจะพลาดสิ่งดี ๆ

By: BAO February 16, 2021

เพราะเรามีโซเชียลมีเดีย เราเลยชอบเปรียบเทียบกันและแข่งขันกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ความสัมพันธ์ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมถึง การใช้ชีวิต ปรากฎการณ์นี้อาจทำให้คนรุ่นใหม่เจอกับอาการ FOMO และไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขดังเดิมได้ เพราะมันนำมาซึ่งปัญหาด้านความรู้สึกที่หนักหน่วง

FOMO คืออะไร ?

อาการ FOMO มีชื่อเต็ม ๆ ว่า Fear Of Missing Out คือ อาการที่เรากลัวว่าตัวเองจะพลาดโอกาสดี ๆ ที่คนอื่นกำลังเจออยู่ ไม่ว่าจะเป็น กลัวว่าเพื่อนจะไปเฉลิมฉลองกันโดยที่ไม่ชวนเรา หรือ กลัวว่าคนอื่นกำลังทำกิจกรรมสนุก ๆ ร่วมกัน ๆ โดยที่ไม่มีเราอยู่ในนั้น ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นเพราะความอิจฉา และส่งผลให้เรามีความภูมิใจในตัวเอง หรือ self-esteem ต่ำลงด้วย

โซเชียลมีเดียอย่าง Facebook หรือ Instagram ดูจะเป็นตัวการที่ทำให้ปัญหานี้รุนแรงขึ้น เพราะมันทำให้เราเห็นเรื่องราวชีวิตของคนอื่นมากขึ้น และแน่นอนว่ามันก็ทำให้เราเปรียบเทียบกับคนอื่นมากขึ้นเช่นกัน เราอาจเห็นภาพของเพื่อนที่กำลังใช้เวลาดี ๆ ร่วมกันได้ง่ายขึ้น เช่น กำลังปาร์ตี้กันอยู่ หรือ กำลังจะได้เลือนขั้น แต่เรายังนั่งทำงานอยู่ และมองไม่เห็นอนาคตเลย นำไปความรู้สึกว่าตัวเองกำลังขาดอะไรบางอย่างอยู่ หรือ ความกังวลว่าตัวเองกำลังถูกกีดกันออกจากกลุ่ม

อย่างไรก็ตาม FOMO เป็นคอนเซ็ปท์ที่มีมานานแล้วตั้งแต่สมัยโบราณ และเริ่มมีการศึกษาอย่างจริงจังหลังปี 1996 โดย Dr.Dan Herman นักกลยุทธ์การตลาด ทำงานวิจัยที่ค้นพบอาการกลัวพลาด (fear of missing out) ในมนุษย์ และเผยแพร่มันในวารสาร The Journal of Brand Management ปี 2000

Patrick J. McGinnis ได้ทำให้คำว่า FOMO กลายเป็นที่นิยมในปี 2004 โดยเขาได้เขียนถึงมันในบทความที่เผยแพร่ในนิตยสาร The Harbus ของ Harvard Business School บทความความนี้เขาพูดความกลัวที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในสังคมโรงเรียน ได้แก่ FOMO และ FoBO ( Fear of a Better Option ) หรือ อาการที่เรากลัวความคิดเห็นที่ดีกว่าตัวเอง

มันส่งผลเสียต่อเราอย่างไรบ้าง

นอกจากจะทำให้เรามองไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง และเป็นทุกข์กับชีวิตแล้ว FOMO อาจทำให้เรารู้สึกโดดเดี่ยวเปลี่ยวเหงามากกว่าปกติด้วย อ้างอิงจากงานวิจัยที่เผยแพร่ใน Journal of Social and Personal Relationships ฉบับเดือนธันวาคมปี 2020

งานวิจัยชิ้นนี้ได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 419 คน เป็นผู้ชาย 98 คน ส่วนใหญ่เป็นคนขาว และมีช่วงอายุระหว่าง 14 – 47 ปี พวกเขาจะต้องทำแบบทดสอบหลายตัว ไม่ว่าจะเป็น แบบทดสอบวัดระดับ self-compassion (Self-compassion scale) แบบทดสอบวัดการใช้งานโซเชียลมีเดีย (Social media engagement) แบบทดสอบวัดระดับความภาคภูมิใจในตัวเอง (Rosenberg Self-Esteem Scale) รวมถึง แบบสำรวจอาการกลัวพลาดโอกาส (Fear of Missing Out Survey)

ข้อมูลจากงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า FOMO เกี่ยวข้องกับ ความโดดเดี่ยว ความภาคภูมิใจในตัวเอง รวมถึง self-compassion ที่ต่ำลงโดยไม่เกี่ยวข้องกับอายุ โดยคนที่มีอาการ FOMO สูงมักจะรู้สึกโดดเดียวเปลี่ยวเหงามากกว่าคนอื่น รวมถึงมองตัวเองแย่ ไม่ค่อยยอมรับในตัวเอง (less self-acceptance) และไม่ค่อยใจดีกับตัวเอง (less self-kindness)

จะก้าวข้ามอาการ FOMO ได้อย่างไร ?

เมื่อคนที่เป็น FOMO ไม่รักตัวเอง ไม่มีความภูมิใจในตัวเอง ไม่ยอมรับในตัวเอง และไม่แคร์ความต้องการของตัวเอง พวกเขาก็จะเป็นทุกข์จากการเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นตลอดเวลา ดังนั้น ใครที่มีอาการ FOMO อยู่ก็คงต้องเริ่มเปลี่ยนแปลงตัวเองแล้ว ซึ่งอาการ FOMO ที่เราพบบ่อย ได้แก่ อยากทำทุกอย่างและอยากอยู่ในทุกที่ แต่ไม่รู้สึกผูกมัดกับสิ่งที่เราอยากทำหรือสถานที่ที่เราอยากไป ถ้ามีสิ่งที่ดีกว่าเราก็เปลี่ยนได้อย่างง่ายดาย, ดูโซเชียลมีเดียตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็น อีเมล์ เฟสบุ๊ก ทวิตเตอร์ หรือ อินสตราแกรม, รู้สึกแย่เมื่อเราพลาดอะไรบางอย่างไป, ประสบการณ์ใหม่ ๆ ดึงดูดความสนใจเราได้เสมอ และรู้สึกว่าตัวเองไม่สามารถตามคนอื่นทันได้

เบี่ยงเบนความสนใจของเราไปยังเรื่องอื่น

คนที่เป็น FOMO มักโฟกัสไปที่สิ่งตัวเองขาด เกิดอาการอิจฉาสิ่งที่คนอื่นมี ซึ่งส่งผลให้พวกเขาเป็นทุกข์ ถ้าพวกเขาหันมาโฟกัสในสิ่งที่ตัวเองมีจะช่วยให้ทุกอย่างมันดีขึ้นได้ อาจเริ่มจากการกำจัดสิ่งที่ทำให้เรารู้สึกแย่บนโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็น เพื่อนที่ชอบโอ้อวด หรือ เพจต่าง ๆ ที่ชอบขายฝัน เมื่อสิ่งที่ทำให้เราเกิดอาการ FOMO มีน้อยลงแล้ว เราจะพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่มากขึ้น และมีความสุขกับชีวิตมากขึ้นตามมา

พบปะผู้คน

ถ้าเราเสียเวลาไปกับการไถ่โซเชียลมีเดีย และดูหน้าฟีดของเพื่อน ๆ อาจยิ่งทำให้เราเป็น FOMO และรู้สึกโดดเดี่ยวเปลี่ยวเหงามากขึ้นได้ พยายามเจอกับผู้คนแบบต่อหน้ามากขึ้น และมีความสัมพันธ์กับผู้คนบนโซเชียลมีเดียให้น้อยลง จะช่วยให้เรารู้สึกตัวคนเดียวน้อยลง และไม่รู้สึกว่าตัวเองกำลัง missing-out เพราะเราได้ใช้เวลาร่วมกับคนอื่นจริง ๆ

เรียนรู้ที่จะรักตัวเอง

เวลาเราเปรียบเทียบกับคนอื่น เรามักจะสนใจแต่สิ่งที่คนอื่นมี และสิ่งที่ตัวเองขาด จนไม่สามารถชื่นชมในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ได้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่เราจะเป็นทุกข์ ดังนั้น คนที่เป็น FOMO จึงควรฝึกฝนการรักตัวเอง หรือ self-compassion ซึ่งจะช่วยให้พวกเขาเลิกนิสัยชอบเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นได้ง่ายขึ้น

เลิกคิดว่าเรามีโอกาสเพียงครั้งเดียว

บางเรื่องถ้าเราพลาดไป มันก็ยังมีโอกาสที่เราจะทำมันได้ใหม่ในครั้งหน้า ไม่ว่าจะเป็น การไปเที่ยวต่างจังหวัดกับเพื่อน หรือ การกินเลี้ยงสังสรรค์ต่าง ๆ เพราะฉะนั้น เราไม่จำเป็นต้องกังวลหรือเศร้า ถ้าเราพลาดโอกาสที่จะมีช่วงเวลาดี ๆ แถมบางครั้งเราอาจจะไม่ได้อยากทำเรื่องเหล่านั้นด้วย แต่เราต้องทำ เพราะเราอิจฉาเพื่อน ดังนั้น การพลาดโอกาสนั้นไปก็อาจเป็นเรื่องที่ทำให้เราคิดทบทวนเกี่ยวกับตัวเองมากขึ้น

ที่สำคัญเราต้องอย่าลืมว่า ทุกคนมีข้อจำกัด และไม่สามารถทำได้ทุกเรื่อง เราไม่สามารถไปเจอกับเพื่อนได้ทุกครั้งที่มีการนัด เพราะวันนั้นเราอาจงานยุ่งจนไม่มีเวลาว่าง และยอมรับความเป็นจริง ซึ่งจะช่วยให้เส้นทางชีวิตของเรากลายเป็นเส้นทางแห่งความสุขได้

Appendixs  1 / 2 / 3


[Official MV] เตือนแล้วนะ (Love Warning) – Third KAMIKAZE


Single ล่าสุด ‘เตือนแล้วนะ (Love Warning)’ จาก Third KAMIKAZE
กลับมาครั้งนี้ Third จะร้ายจนใจละลาย เตรียมเสียงกรี๊ดให้ Bad boy หน้าหวานคนนี้ไว้เลย!!
“ถ้าเอาจริงสักวัน ..เดี๋ยวหาว่าไม่เตือน”

Third โตมากับกามิ โตมากับอาร์เอสxJOOX
Credit
EXECUTIVE PRODUCER: เอกชัย จุลภมรศรี
PRODUCER : เอกชัย จุลภมรศรี
CoPRODUCER : เนติ ผ่องพุทธคุณ
เนื้อร้อง : เนติ ผ่องพุทธคุณ
ทำนอง : แชมป์
เรียบเรียง : แชมป์

ยิ่งเจอ ยิ่งลำบาก ลำบากใจทุกที
เห็นเธอต้องแชร์ด่วน แชร์ด่วน กด like ที
มองแล้วมันสั่น ทำหัวใจปั่น ไม่ให้หวั่น ยังไง

ชอบทำเป็นมาหยอด เดี๊ยะ เดี๊ยะโดนกอด
ชอบชวนมาคุยแบบคนรู้ใจ
อยู่ดีก็จ้องตา ชอบคอยส่งยิ้มมา เอ๊ะ เริ่มเกินไป
ก็แบบว่าขอหน่อย เม้นท์หน่อย ชักไม่โอเค
ทำงี้บ่อย งี้บ่อย ฉันเริ่มคาใจ
จะนับหนึ่งถึงหนึ่ง ถ้ายังกวนใจ อย่าโวยกันนะ

ก็บอกแล้วนะ เตือนแล้วนะ เล่นยังงี้หัวใจชา
ชอบมาตามองตา ชอบเข้ามาใกล้ชิดกัน
หน้ายังงี้ หน้ายังงี้ บอกเลยนะ ระวังตัว
ถ้าเอาจริงสักวัน เดี๋ยวหาว่าไม่เตือน

ถ้าไม่คิดอะไร รบกวนช่วยเกรงใจคนกำลังเหงา
ก็เพิ่งรู้ตัวเองว่ามีปัญหา แค่กับเธอ
โตมากับกามิ โตมากับอาร์เอส ThirdKAMIKAZE เตือนแล้วนะ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

[Official MV] เตือนแล้วนะ (Love Warning) – Third KAMIKAZE

5สัญญาณที่บ่งบอกว่า…เขาไม่สนใจคุณ | Chong Charis


เคยไหมครับ?
คุณกับใครคนนึงอยู่…
เราชอบเขานะ
.
แต่…เราไม่รู้ว่า
การกระทำที่เขาแสดงออกต่อเรา
มันแปลว่าเขาไม่สนใจเรารึเปล่า…
หรือ เราแค่คิดไปเอง
.
เพราะฉะนั้น คลิปนี้
จะมาบอกว่า
5สัญญาณที่บ่งบอกว่า…เขาไม่สนใจคุณ
มีอะไรบ้าง มาดูกัน
► สามารถติดตามฌองได้ที่..
• 📷 INSTAGRAM ‣ https://www.instagram.com/chong.napat/?hl=th
• 🔵 FACEBOOK ‣https://www.facebook.com/chongcharisofficial
• 🔴 YOUTUBE ‣ http://www.youtube.com/c/ChongCharis

5สัญญาณที่บ่งบอกว่า...เขาไม่สนใจคุณ | Chong Charis

ไม่มีเพื่อนเลย กลัวการอยู่คนเดียวไม่มีคนคบ/ Alice Malaikome


EP 2. https://youtu.be/VWCqGutU1a0

ไม่มีเพื่อนเลย กลัวการอยู่คนเดียวไม่มีคนคบ/ Alice Malaikome

อย่าคิดเยอะ ว่าคนอื่นจะคิดยังไงกับเรา | Mission To The Moon Remaster EP.18


ความกลัวของเราเป็นสิ่งที่ก้าวข้ามผ่านยากที่สุด
ในการปลดล็อคทักษะที่ซุกซ่อนอยู่ในใจ
โดยเฉพาะการทำความรู้จักกับคนใหม่ๆ
หรือพูดคุยกับคนที่มีตำแหน่งสูงกว่า
เพราะเราจะรู้สึกว่าเราตัวเล็ก
ซึ่งเป็นอาการ Fear of other people opinion
จนไม่สามารถทำสิ่งที่เราอยากทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาดูวิธีรับมือกับความกลัวดังกล่าว
ไปกับ แทป รวิศ และ อั้ม ศุภกร
ใน MM Remaster EP. นี้
MissionToTheMoonPodcast​
TheRemasterProject

ติดตาม Mission To The Moon Media ได้ที่
Website: https://bit.ly/3oHFe99
Facebook: https://bit.ly/32Oe4nW
Twitter: https://bit.ly/2TyBOH6
Blockdit: https://bit.ly/3jI0pEk
YouTube: https://bit.ly/2TyTXVg
TikTok: https://bit.ly/35Gq8aX
SoundCloud: https://bit.ly/3e4Tzax
Podbean: https://bit.ly/3oCqU1g
Spotify: https://spoti.fi/37MNajh
Apple Podcast: https://apple.co/3oK1JKy
Instragram: https://bit.ly/2OMR30a
Clubhouse: @mttmclub

อย่าคิดเยอะ ว่าคนอื่นจะคิดยังไงกับเรา | Mission To The Moon Remaster EP.18

[Official MV] เพื่อนไม่รัก (Just a friend) – Mr.MIN


ติดต่องานโชว์ สายตรงความมัน!! โทร. 025110555 ต่อ 25652567
Listen on DEEZER :: http://bit.ly/MINjustAfriendDZ
Download This Song :: http://bit.ly/MINjustAfriendMP3
Download on iTunes :: http://bit.ly/MINjustAfriendItunes
โทร. 339079 (ค่าบริการนาทีละ 5 บาทไม่รวมค่าดาวน์โหลด)
เนื้อร้อง (Written) : โปสการ์ด ( Postcard )
ทํานอง(Composed) : TJ จิรายุทธ ผโลประการ, มัชฌา งามสุทธิ
เรียบเรียง(Arranged) : ชลทัศน์ ชาญศิริเจริญกุล
Music : DOGFATHER
Executive Producer : ธานี วงศ์นิวัติขจร, ณรงค์ศักดิ์ ศรีบรรฎาศักดิ์วัชรากรณ์
Producer : TJ จิรายุทธ ผโลประการ
Co Producer : ธรรศ จันทกูล
Lyric Producer : ธานี วงศ์นิวัติขจร

รู้แล้วว่าไม่มีทาง รู้แล้วว่าเธอมองกัน
แค่เพื่อนคนหนึ่ง
รู้แล้วเขาดีมากมาย รู้ไหมฉันแค่น้อยใจ
แต่ยังเหมือนเดิม
ยิ้มให้เธอ อยากให้รู้ว่าฉันน่ะเข้าใจ
แต่ที่เงียบไป เธอจะเคยสงสัยอาการฉันบ้างไหม
เพื่อนไม่รักแต่แอบรักเพื่อน ห้ามไม่ฟังก็ยังเลอะเลือน
ก็เธอไม่เคยคิด ก็ยังไปแอบคิด ก็สมควรเจ็บ
เพื่อนไม่รักแต่แอบรักเพื่อน ใกล้เท่าไรยิ่งอ้างว้าง
ถูกสายตาเธอย้ำเตือน เพื่อนเท่านั้นแค่นี้ที่เธอต้องการให้เป็น

ยังดี ที่ได้ใกล้เธอ ยินดีที่ยังได้เป็น
แค่เพื่อนคนเก่า
(ซ้ำ Hook)
โตมากับกามิ โตมากับอาร์เอส MrMIN เพื่อนไม่รัก

[Official MV] เพื่อนไม่รัก (Just a friend) - Mr.MIN

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ รู้สึกว่าเพื่อนไม่ชอบ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *