Skip to content
Home » [NEW] สัญลักษ์แสดงอันตรายสารเคมี (Hazard Pictogram) | รูปเครื่องหมายตกใจ – NATAVIGUIDES

[NEW] สัญลักษ์แสดงอันตรายสารเคมี (Hazard Pictogram) | รูปเครื่องหมายตกใจ – NATAVIGUIDES

รูปเครื่องหมายตกใจ: คุณกำลังดูกระทู้

United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods จำแนกสารที่เป็นอันตรายและเป็นเหตุให้ถึงแก่ชีวิตได้ หรือก่อให้เกิดความเสียหาย ออกเป็น 9 ประเภท (UN-Class) ตามลักษณะที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตราย

ประเภท 1 : ระเบิดได้
Class 1 : Explosives

ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวมันเอง ทำให้เกิดแก๊สที่มีความดัน และความร้อนอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการระเบิดสร้างความเสียหายแก่บริเวณโดยรอบได้ ซึ่งรวมถึงสารที่ใช้ทำดอกไม้เพลิงและสิ่งของที่ระเบิดได้ด้วย แบ่งเป็น 6 กลุ่มย่อย ได้แก่

1.1 สารหรือสิ่งของที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดอย่างรุนแรงทันทีทันใดทั้งหมด (Mass Explosive) เช่น เชื้อปะทุ ลูกระเบิด เป็นต้น
1.2 สารหรือสิ่งของที่มีอันตรายจากการระเบิดแตกกระจาย แต่ไม่ระเบิดทันทีทันใด ทั้งหมด เช่น กระสุนปืน ทุ่นระเบิด ชนวนปะทุ เป็นต้น
1.3 สารหรือสิ่งของที่เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และอาจมีอันตรายบ้าง จากการระเบิด หรือการระเบิดแตกกระจาย แต่ไม่ระเบิดทันทีทันใดทั้งหมด เช่น กระสุนเพลิง เป็นต้น
1.4 สารหรือสิ่งของที่ไม่แสดงความเป็นอันตรายอย่างเด่นชัด หากเกิดการปะทุหรือปะทุในระหว่างการขนส่ง จะเกิดความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ เช่น พลุอากาศ เป็นต้น
1.5 สารที่ไม่ไวต่อการระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมีอันตรายจากการระเบิดทั้งหมด
1.6 สิ่งของที่ไวต่อการระเบิดน้อยมากและไม่ระเบิดทันทีทั้งหมด มีความเสี่ยงต่อการระเบิดอยู่ในวงจำกัด เฉพาะในตัวสิ่งของนั้นๆ ไม่มีโอกาสที่จะเกิดการปะทุหรือแผ่กระจาย

ประเภทที่ 2 : แก๊ส
Class 2 : Gases

สารที่อุณหภูมิ 50°C มีความดันไอมากกว่า 300 kP หรือมีสภาพเป็นแก๊สอย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20°C และมีความดัน 101.3 kP ได้แก่ แก๊สอัด แก๊สพิษ แก๊สในสภาพของเหลว แก๊สในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ และรวมถึงแก๊สที่ละลายในสารละลายภายใต้ความดัน เมื่อเกิดการรั่ว ไหลสามารถก่อให้เกิดอันตรายจากการลุกติดไฟและ/หรือเป็นพิษและแทนที่ออกซิเจนในอากาศ แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย ดังนี้

2.1 แก๊สไวไฟ (Flammable Gases) หมายถึง แก๊สที่อุณหภูมิ 20°C  และมีความดัน 101.3 kP สามารถติดไฟได้เมื่อผสมกับ อากาศ 13% หรือต่ำกว่าโดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟได้ 12% ขึ้นไป เมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คำนึงถึง ความเข้มข้นต่ำสุดของการผสม โดยปกติแก๊สไวไฟ หนักกว่าอากาศ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มนี้ เช่น อะเซทิลีน ก๊าซหุงต้มหรือก๊าซแอลพีจี เป็นต้น
2.2 แก๊สไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (Non-flammable Non-toxic Gases) หมายถึง แก๊สที่มีความดันไม่น้อยกว่า 280 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 20°C หรืออยู่ ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ ส่วนใหญ่เป็นก๊าซหนักกว่าอากาศ ไม่ติดไฟและ ไม่เป็นพิษหรือแทนที่ออกซิเจนในอากาศและทำให้เกิด สภาวะขาดแคลน ออกซิเจนได้ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มนี้ เช่น ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน เป็นต้น
2.3 แก๊สพิษ (Poison Gases) หมายถึง แก๊สที่มีคุณสมบัติเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือถึงแก่ชีวิตได้จาก การหายใจ โดยส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ มีกลิ่นระคายเคือง ตัวอย่างของแก๊สในกลุ่มนี้ เช่น คลอรีน เมทิลโบรไมด์ เป็นต้น

ประเภทที่ 3 : ของเหลวไวไฟ
Class 3 : Flammable Liquids
ของเหลวหรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5°C  จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด หรือไม่เกิน 65.6°C จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด ไอของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเมื่อมีแหล่งประกายไฟ เช่น แอซีโตน น้ำมันเชื้อเพลิง ทินเนอร์ เป็นต้น

ประเภทที่ 4 : ของแข็งไวไฟ
Class 4 : Flammable solid

สารที่ลุกไหใ้ได้เองและสารที่สัมผัสกับน้ำแล้วให้แก๊สไวไฟ
4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) หมายถึง ของแข็งที่สามารถติดไฟได้ง่ายจากการได้รับความร้อน จากประกายไฟ/เปลวไฟ หรือเกิดการลุกไหม้ได้จากการเสียดสี เช่น กำมะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไนโตรเซลลูโลส เป็นต้น หรือเป็นสารที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนที่รุนแรง เช่น เกลือไดอะโซเนียม หรือเป็นสารระเบิดที่ถูกลดความไวต่อการเกิดระเบิด เช่น แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ไดไนโตรฟีนอล (เปียก) เป็นต้น
4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) หมายถึง สารที่มีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่งตามปกติ หรือเกิดความร้อนสูงขึ้นได้เมื่อ สัมผัสกับอากาศและ มีแนวโน้มจะลุกไหม้ได้ 
4.3 สารที่สัมผัสกับน้ำแล้วทำให้เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable Gases) หมายถึง สารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำแล้ว มีแนวโน้มที่จะเกิดการติดไฟได้เองหรือทำให้เกิด แก๊สไวไฟในปริมาณที่เป็นอันตราย

ประเภทที่ 5 :สารออกซิไดซ์และสารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์
Class 5 : Oxidizing and Organic peroxide

5.1 สารออกซิไดส์ (Oxidizing) หมายถึง ของแข็ง ของเหลวที่ตัวของสารเองไม่ติดไฟ แต่ให้ออกซิเจนซึ่งช่วยให้วัตถุอื่นเกิดการลุกไหม้และอาจจะก่อให้เกิดไฟ เมื่อสัมผัสกับสารที่ลุกไหม้และ เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง เช่น แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็นต้น
5.2 สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Organic Peroxides) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่มีโครงสร้าง ออกซิเจนสองอะตอม -O-O- และช่วยในการเผาสารที่ลุกไหม้ หรือทำปฏิกิริยากับสารอื่นแล้วก่อให้เกิดอันตรายได้ หรือเมื่อได้รับความร้อนหรือลุกไหม้แล้วภาชนะบรรจุสารนี้อาจระเบิดได้ เช่น แอซีโตนเปอร์ออกไซด์ เป็นต้น

ประเภทที่ 6 : สารพิษและสารติดเชื้อ
Class 6 : Toxic 

 

 6.1 สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่สามารถทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ รุนแรงต่อสุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารนี้เข้าไป หรือเมื่อสารนี้ได้รับความร้อนหรือลุกไหม้จะ ปล่อยแก๊สพิษ เช่น โซเดียมไซยาไนด์ กลุ่มสารกำจัดแมลงศัตรูพืชและสัตว์ เป็นต้น
6.2 สารติดเชื้อ (Infectious Substances) หมายถึง สารที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนหรือสารที่มีตัวอย่าง การตรวจสอบของพยาธิ สภาพปนเปื้อนที่เป็นสาเหตุของ การเกิดโรคในสัตว์และคน เช่น แบคทีเรียเพาะเชื้อ เป็นต้น 

ประเภทที่ 7 : วัสดุกัมมันตรังสี
Class 7 : Radioactivity

วัสดุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็นอย่างต่อเนื่องมากกว่า 0.002 ไมโครคูรีต่อกรัม เช่น โมนาไซด์ ยูเรเนียม โคบอลต์-60 เป็นต้น

ประเภทที่ 8 : สารกัดกร่อน
Class 8 : Corrosion

ของแข็งหรือของเหลวซึ่งโดย ปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์กัดกร่อนทำความเสียหาย ต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรงหรือ ทำลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทำการขนส่ง เมื่อเกิดการรั่วไหลของสารไอระเหยของ สารประเภทนี้ บางชนิดก่อให้เกิดการ ระคายเคืองต่อจมูกและตา เช่น HCl, H2SO4, NaOH เป็นต้น

ประเภทที่ 9 : วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด
Class 9 : Miscellaneous Dangerous Substances and Articles

สารหรือสิ่งของที่ในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทที่ 1 ถึง 8 เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต เป็นต้น และให้รวมถึงสารที่ต้องควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 100°C ในสภาพของเหลวหรือมีอุณหภูมิ ไม่ต่ำกว่า 240°C  ในสภาพของแข็งในระหว่างการขนส่

[NEW] อัศเจรีย์ คืออะไร แปลภาษา แปลว่า หมายถึง (พจนานุกรมไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน) | รูปเครื่องหมายตกใจ – NATAVIGUIDES

The player will be placed here.

an exclamation mark, an interjection point (อ่านต่อ…)

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-อังกฤษ อ. สอ เสถบุตร


Network cable unplugged fix bahasa indonesia


instal dulu driver usb nya silahkan cari di google

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Network cable unplugged fix bahasa indonesia

11 ไฟเตือนบนหน้าปัดรถยนต์ ที่คุณควรรู้ ที่ไม่ควรมองข้าม


1.สัญลักษณ์เตือนความร้อน ว่ารถกำลังมีความร้อนสูง
เมื่อเกิดสัญญาณไฟนี้ขึ้น ให้นำรถจอดข้างทางทันทีก่อนเครื่องยนต์จะน็อค เบื้องต้นให้ดับเครื่องยนต์และรอจนกว่าเครื่องยนต์รถจะเย็นตัวขึ้น เมื่อเย็นแล้วให้เช็คระดับน้ำในหม้อน้ำ หากน้ำแห้งให้เติม แล้วจึงใช้งานรถต่อได้ครับ
2.สัญลักษณ์เตือนรูปเครื่องยนต์
สำหรับเครื่องยนต์นั้น เมื่อโชว์บนหน้าปัดและไม่ดับลง แสดงว่าเครื่องยนต์เริ่มมีปัญหานะครับ ต้องนำไปตรวจเช็คที่ศูนย์หรืออู่ซ่อมรถครับ
3.สัญลักษณ์แสดงแรงดันน้ำมันเครื่อง
เมื่อสัญลักษณ์นี้โชว์บนหน้าปัด ควรจอดตรวจเช็คทันที เพราะสัญลักษณ์นี้บ่งบอกถึงน้ำมันเครื่องอยู่ในระดับต่ำเกินไป หากน้ำมันเครื่องผิดปกติควรเติมไปอย่างน้อย 1 ลิตร เป็นการป้องกันปัญหาเบื้องต้น แต่ถ้าน้ำมันเครื่องอยู่ในระดับที่ปกติอยู่แล้วเมื่อเช็ค แสดงว่ามีการอุดตัน ควรน้ำไปเข้าศูนย์หรืออู่เพื่อซ่อมทันที
4.ไฟเตือนระบบเบรก/เบรคมือ
หากมีการแสดงสัญลักษณ์ระบบเบรก หมายถึง ยังไม่ได้เอาเบรกมือลง แต่เมื่อเอาลงแล้วยังแสดงอยู่ แปลว่า น้ำมันเบรกอาจจะผิดปกติ หรืออาจจะเกี่ยวข้องถึงระบบล็อคล้อ ถ้ามีการใช้สัญญาณร่วมกัน4.
5.ไฟเตือนเกี่ยวกับแบตเตอรี่
หากรถของผู้ขับขี่ มีการแสดงสัญลักษณ์ระบบแบตเตอรี่ หมายถึง แบตเตอรี่ใกล้หมด หรือ ไดชาร์จไม่ทำงาน ทำให้ระดับกำลังไฟลดลง จนเครื่องยนต์ดับได้ หากเกิดเหตุการณ์ที่มีสัญลักษณ์แบตเตอรี่แสดง ให้นำรถไปเช็คที่ศูนย์หรืออู่ซ่อมรถทันที เพื่อไม่ให้ปัญหารถดับระหว่างทาง
6.ไฟเตือนระบบล็อคล้ออัติโนมัติ ABS
เมื่อระบบล็อคล้อเกิดความผิดปกติ หรือแสดงสัญลักษณ์ขึ้นมาระหว่างขับขี่ แนะนำให้เข้าศูนย์หรืออู่ซ่อมรถทันที เพราะอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับระบบ ABS อยู่ครับ
7.สัญลักษณ์เตือนการควบคุมการทรงตัวของรถ VSA
รถทุกคันจะได้รับการติดตั้งระบบการทรงตัวมาแล้ว หากรูปดังกล่าวโชว์หน้าปัด เป็นการแจ้งว่าระบบกำลังถูกปิดใช้งานอยู่ ซึ่งเมื่อรถมีการเสียหลักระบบจะไม่ช่วยควมคุมการทรงตัวนั้นเอง แต่เมื่อสัญลักษณ์นี้ กระพริบระหว่างฝนตกถนนลื่น แสดงว่า กำลังช่วยควบคุมการทรงตัว จะทำให้ผู้ขับขี่ปลอดภัยในการขับขี่ขึ้นมาอีกระดับครับ
8.สัญญาณเตือนระบบพวงมาลัยไฟฟ้า
เมื่อพวงมาลัยไฟฟ้าได้เกิดปัญหาจะทำให้การควบคุมพวงมาลัยยากขึ้น เกิดเหตุการณ์แบบนี้ควรประคองรถยนต์ให้เข้าศูนย์ไวที่สุด เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้นั้นเอง
9.สัญลักษ์ไฟตัดหมอกหน้า
แนะนำให้ใช้ในกรณีจำเป็นเท่านั้น เช่น ฝนตก หมอก ทัศนวิศัยน์ไม่ดี เพื่อเป็นการไม่รบกวนเพื่อนร่วมทาง และหากใช้ไม่ถูกเวลาอาจถูกจับโดยตำรวจ ตามพรบ.จราจร อีกด้วย
10.สัญลักษ์ไฟตัดหมอกหลัง
แนะนำให้ใช้ในกรณีจำเป็นเท่านั้น เช่น ฝนตก หมอก ทัศนวิศัยน์ไม่ดี เพื่อเป็นการไม่รบกวนเพื่อนร่วมทาง และหากใช้ไม่ถูกเวลาอาจถูกจับโดยตำรวจ ตามพรบ.จราจร อีกด้วย
11.สัญลักษ์ไฟสูง
บางทีหลายๆท่านลืม ถ้าเห็นก็รีบปรับเป็นไฟต่ำปกติ สัญลักษ์ไฟ เพื่อเป็นการไม่รบกวนเพื่อนร่วมทาง
เครดิต https://unseencar.com/
Shopee https://shp.ee/rb854ma หรือ
Lazada https://c.lazada.co.th/t/c.bgvUYg
(ถ้าซื้อสินค้าผ่าน Link นี้ใน Shopee Lazada
จะเป็นการสนับสนุมผม ขอบคุนล่วงหน้าครับ)
▲ช่องทาง Facebook : https://bit.ly/2CxjusS
กลุ่ม facebook สอบถามปัญหารถยนต์ shorturl.at/xALMO
รีวิว Honda Civic FK 1.5 Turbo ใช้งานครบ 1ปี Hatchback 5ประตู ข้อดี ข้อเสีย
https://youtu.be/Z00A6eu5Uw
รีวิว Honda HRV มีข้อดี ข้อเสีย อะไร วิ่งมา 100,000km ใครจะซื้อ มือสอง ห้ามพลาด !
https://youtu.be/k9zOkIk1fIQ
รีวิว Xpander GT 1ปี 1หมื่นโล พ่อบ้านลูกหนึ่ง
https://youtu.be/GeNFtbXFAo4
รีวิว Pajero Sport มือสอง ข้อดี ข้อเสีย ปัญหา คลิปเดียวจบ การบำรุงรักษา
https://youtu.be/8uD9MXOZt4U
jobnakub
ไฟโชว์
ไฟรูปเครื่อวยนต์

11 ไฟเตือนบนหน้าปัดรถยนต์ ที่คุณควรรู้  ที่ไม่ควรมองข้าม

เกม จับผิดภาพ 10 ข้อ Photo Hunt Game


เกม จับผิดภาพ 10 ข้อ Photo Hunt Game

เกม จับผิดภาพ 10 ข้อ Photo Hunt Game

แก้ไข wifi ขึ้นสีเหลือง เครื่องหมายตกใจ windows 10 แก้ง่ายๆ ได้จริง ไม่เกิน 5 นาที


รหัสที่ใช้พิมพ์ ในช่อง สี่เหลี่ยม 129 168 1 100
ช่องที่ 2 รหัสชึ้นเอง
1

แก้ไข wifi ขึ้นสีเหลือง เครื่องหมายตกใจ windows 10 แก้ง่ายๆ ได้จริง ไม่เกิน 5 นาที

How to enable your network connection in Windows 7


This Mhelp clip will show you how to enable your network connection in Windows 7.\r
\r
This Mhelp clip has eight steps.\r
1 Click the Windows 7 Start button. A menu will appear.\r
2 Click Control Panel. A window will appear.\r
3 Click Network and Internet.\r
4 Under Network and Sharing Center, click View network status and tasks.\r
5 Click Change adapter settings.\r
6 Click the disabled network adapter that you want to work with.\r
7 Click Enable this network device.\r
8 Close the Network Connections window when finished.\r
\r
This concludes the Mhelp clip.

How to enable your network connection in Windows 7

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ รูปเครื่องหมายตกใจ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *