Skip to content
Home » [NEW] [สรุปง่ายๆ] หนี้สินหมุนเวียน คืออะไร SME ต้องรู้ ! | ทุนระยะสั้น – NATAVIGUIDES

[NEW] [สรุปง่ายๆ] หนี้สินหมุนเวียน คืออะไร SME ต้องรู้ ! | ทุนระยะสั้น – NATAVIGUIDES

ทุนระยะสั้น: คุณกำลังดูกระทู้

หนี้สินหมุนเวียน คือ หนี้สินของกิจการที่ต้องชำระคืนภายใน 1 ปี หรือภายในรอบระยะเวลาดำเนินการปกติของกิจการ ซึ่งไม่เกิน 12 เดือนนับจากวันที่ระบุในงบแสดงฐานะการเงิน เช่น เงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร, เจ้าหนี้การค้า หรือเงินกู้ระยะยาวที่จะต้องจ่ายภายใน 1 ปี โดยความสามารถในการชำระหนี้สินหมุนเวียน มักจะแปรผันกับสินทรัพย์หมุนเวียน

ปกติแล้วธุรกิจส่วนใหญ่จะไม่สามารถประกอบกิจการได้โดยใช้ส่วนทุนของเจ้าของเพียงอย่างเดียว จำเป็นต้องมีทุนจากการกู้ยืมด้วย โดยสินทรัพย์ของกิจการจะเท่ากับส่วนทุนของเจ้าของรวมกับหนี้สิน

ซึ่งหนี้สินของกิจการจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ หนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไม่หมุนเวียน โดยจะแบ่งตามระยะเวลาที่ต้องจ่ายหนี้คืน พูดง่ายๆคือหนี้หมุนเวียนจะต้อง “ชำระภายใน 1 ปี” ส่วนหนี้ไม่หมุนเวียน “กำหนดชำระ 1 ปีขึ้นไป”

หนี้สินหมุนเวียน มีอะไรบ้าง?

เราสามารถดูหนี้สินหมุนเวียนได้จาก งบการเงิน (Financial Statement) โดยจะอยู่ในส่วนของ งบแสดงฐานะการเงิน หรืองบดุล (Statement of Financial Position) ซึ่งหนี้สินหมุนเวียน (เรียงลำดับ) ที่เห็นกันบ่อยๆได้แก่

1.เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

  • เงินเบิกเกินบัญชี (Bank overdraft หรือ O/D) คือสินเชื่อรูปแบบหนึ่งที่ธนาคารจะให้ผู้กู้จะสามารถเบิกเงินได้เกินกว่ายอดฝากตามวงเงินที่ได้ โดยนำไปใช้เพิ่มสภาพคล่องในแต่ละวัน สามารถเบิกเงินโดยใช้เช็คผ่านบัญชีกระแสรายวัน
  • เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (Short-term loans) คือ เงินกู้ยืมระยะสั้นที่มีกำหนดชำระภายในหนึ่งปี นอกจากหนี้ที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือบริการและเจ้าหนี้อื่น ในงบการเงินมักจะเขียนรวมกับเงินเบิกเกินบัญชี

2. ตั๋วเงินจ่าย

ตั๋วเงินจ่าย (Note Payable) เป็นหนังสือสัญญาที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรที่ระบุจำนวนเงินที่ต้องจ่ายในอนาคต ซึ่งอาจจะออกให้เจ้าหนี้การค้า ธนาคาร หรือผู้ให้กู้ยืมอื่นๆ

3. เจ้าหนี้การค้า

ถ้าอธิบายให้เข้าใจง่ายๆ เจ้าหนี้การค้าจะคล้ายๆกับการที่เรา ซื้อของมาแล้วยังไม่ได้จ่ายเงิน ซึ่งกิจการจะต้องชำระค่าสินค้าและบริการให้กับเจ้าหนี้การค้าตามระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ เจ้าหนี้การค้าก็ถือเป็นหนี้สินหมุนเวียนประเภทหนึ่ง

4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในรอบบัญชีปัจจุบัน แต่ยังไม่ได้จ่ายเงินจนกว่าจะถึงรอบถัดไป เช่น ค่าน้ำค่าไฟ เงินเดือนค้างจ่ายจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย หรือภาษีเงินได้ค้างจ่าย เป็นต้น 

5. เงินปันผลค้างจ่าย

เงินปันผลค้างจ่าย (Accrued Dividend) เป็นการที่บริษัทประกาศว่าจะจ่ายเงินปันผล แต่ยังไม่ได้จ่ายจริงๆ ทำให้เงินปันผลค้างจ่ายกลายเป็นหนี้สินหมุนเวียน และผู้ถือหุ้นมีฐานะเป็นเจ้าหนี้

6. เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี

เป็น ส่วนของหนี้สินระยะยาว ที่จะถึงกำหนดการชำระคืนภายในหนึ่งปี เช่น กู้ธนาคารมา 800,000 บาท ระยะยาวจะผ่อนหมด 10 ปี โดยผ่อนปีละ 80,000 บาท เงินจำนวน 80,000 ที่ต้องชำระในรอบบัญชีจะเป็นหนี้สินหมุนเวียน

7. เงินมัดจำและเงินประกัน

เงินหรือหลักทรัพย์ที่กิจการได้รับจากลูกค้าหรือพนักงานเพื่อเป็นหลักประกันว่าจะปฏิบัติตามสัญญา หรือประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งเมื่อมีการปฏิบัติตามสัญญา จะต้องคืนเงินทั้งหมดหรือบางส่วนภายในไม่เกิน 1 ปี

8. รายได้รับล่วงหน้า

เป็นรายได้ที่กิจการได้รับล่วงหน้า ซึ่งส่วนที่ไม่ใช่รายได้ของรอบบัญชีปัจจุบัน จะถือว่าเป็นหนี้สินหมุนเวียน และจะเป็นรายได้ในรอบบัญชีถัดไป

หนี้สินหมุนเวียน บอกอะไรได้?

หนี้สินหมุนเวียนสามารถนำไปหาสภาพคล่องของกิจการได้ โดยนำไปคำนวณหาอัตราส่วนทางการเงินดังนี้ :

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio) หรืออัตราส่วนสภาพคล่อง สามารถใช้วัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะสั้นของกิจการ โดยดูว่าสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นกี่เท่าของหนี้สินหมุนเวียน

อัตราส่วนนี้จะบอกให้รู้ว่า หากกิจการชำระหนี้ระยะสั้นไปแล้วจะเหลือสินทรัพย์หมุนเวียนไว้หมุนจ่ายดำเนินงานหรือไม่ ยิ่งค่าสูงยิ่งแสดงว่ามีสภาพคล่องค่อนข้างมาก

*สินทรัพย์หมุนเวียน คือสินทรัพย์ที่เปลี่ยนเป็นเงินได้ง่าย ใช้จนหมดได้ภายใน 1 ปี เช่น เงินสด, ลูกหนี้การค้า หรือ สินค่าคงเหลือ

สรุปง่ายๆคือ “จ่ายหนี้ของปีนี้ไปแล้ว ยังจะมีเงินหรือสินทรัพย์ไว้ใช้หมุนต่ออีกหรือเปล่า”

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน ÷ หนี้สินหมุนเวียน

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน มากกว่า 1 แสดงว่ากิจการมีสภาพคล่องดี น้อยกว่า 1 แสดงว่ากิจการมีสภาพคล่องต่ำ แต่ถ้าสูงกว่า 1 มากๆก็อาจหมายถึงว่า กิจการใช้สินทรัพย์หมุนเวียนได้ไม่เกิดประโยชน์สูงสุด

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) จะคล้ายกับอัตราส่วนทุนหมุนเวียน แต่จะบอกสภาพคล่องของกิจการได้ค่อนข้างดีกว่า เพราะ “หักสินค้าคงเหลือ” ที่สามารถเป็นเป็นเงินสดได้ยาก ออกจากสินทรัพย์หมุนเวียน

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ) ÷ หนี้สินหมุนเวียน

โดยการอัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็วไม่ควรน้อยกว่า 1 และสำหรับการบริหารอัตราส่วนนี้ไม่ควรมากเกินไป เพราะจะเหมือนกับการถือเงินสดมากเกินไป ควรนำไปลงทุนดีกว่า

สรุป

หนี้สินหมุนเวียนเป็นหนี้ที่ต้องชำระภายใน 1 ปี สามารถดูได้จากงบแสดงฐานะการเงินในงบการเงิน โดยจะมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับกิจการ และสามารถนำไปคำนวณอัตราส่วนทุนหมุนเวียน และทุนหมุนเวียนเร็ว เพื่อวิเคราะห์กิจการได้

[NEW] กองทุนเปิดทีเอ็มบี อีสท์สปริง ตราสารหนี้ระยะสั้น สำหรับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | ทุนระยะสั้น – NATAVIGUIDES

The pages on the website (‘the website’) are published by Investis Limited (‘us’ or ‘we’) on behalf of Prudential plc (’Prudential plc’).

We respect your right to privacy and will process personal information you provide only in accordance with the General Data Protection Regulation (EU Regulation) 2016, the Privacy and Electronic Communications (EC Directive) Regulations
2003 and other applicable privacy laws.

We will not collect any information about individuals, except where it is specifically and knowingly provided by them.

When you visit our website, our web server collects some basic information such as your internet service provider’s domain name, which pages you accessed on our site, and the time and date you accessed these pages for the cookie
purposes detailed below.


วิธีสมัครทุนCISระยะสั้น | จีมู่ภาษาจีน | 积木汉语


สอนขั้นตอนและวิธีสมัครทุนCISระยะสั้น สำหรับผู้ที่สนใจทุนการศึกษาเรียนภาษาจีน
ดูคลิปอื่น
https://www.youtube.com/channel/UCPLTsgWYLkVaRE_zdCg1Pg?view_as=subscriber

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

วิธีสมัครทุนCISระยะสั้น | จีมู่ภาษาจีน | 积木汉语

เทียบให้ชัด! เศรษฐกิจ – หุ้น “จีน อินเดีย เวียดนาม” | ลงทุนนิยม EP.153


[เทียบให้ชัด! เศรษฐกิจหุ้น “จีน อินเดีย เวียดนาม”]
เจาะลึกทุกมิติ เปรียบเทียบให้ชัด! ทั้งเศรษฐกิจตลาดหุ้นโอกาสความเสี่ยง ของ 3 ตลาดยอดนิยมใน EM (จีน อินเดีย เวียดนาม) ตลาดไหนควรพัก ตลาดไหนไปต่อได้
พูดคุยกับดร.จิติพล พฤกษาเมธานันท์ นักกลยุทธ์การลงทุน บลจ.ยูโอบี
สัมภาษณ์แบบเจาะลึก ตรงประเด็น โดยเฟิร์น ศิรัถยา อิศรภักดี
หมายเหตุ: ภาพผู้นำ 4 ประเทศ ดร.จิติพล วาดเองกับมือเลยนะคะ ^___
นาทีที่ 02:11 เปรียบเทียบเศรษฐกิจ “จีน อินเดีย เวียดนาม”
นาทีที่ 13:35 สิ่งที่ “ขาด” และต้องเติมของ 3 ประเทศเพื่อเดินหน้าเศรษฐกิจ
นาทีที่ 17:51 เจาะลึกตลาดหุ้น “จีน อินเดีย เวียดนาม” ที่ไม่ล้อไปกับเศรษฐกิจ
นาทีที่ 31:33 ณ วันนี้ “จีน อินเดีย เวียดนาม” ซื้อเพิ่มลงทุนต่อขายทำกำไร?
นาทีที่ 47:53 DCA ได้อยู่มั้ย? “จีน อินเดีย เวียดนาม”
ให้เงินทำงาน ลงทุนนิยม
• เจาะลึกกลยุทธ์ ‘นักลงทุนคุณภาพ’ กับซีรี่ย์ https://youtube.com/playlist?list=PLaVAiY_KTBgTaJtmyDQWhyRbP7PVldju
• อยากรู้ ‘วิธีทำ’ ให้มั่งคั่ง ต้องดูซีรี่ย์ 10วันฉันต้องWealth https://youtube.com/playlist?list=PLaVAiY_KTBgQmdyF7HePAfkQQrqkJpCQA
• เรียนรู้เรื่อง Digital Asset ได้ใน ซีรี่ย์ crypto101 https://youtube.com/playlist?list=PLaVAiY_KTBgTOB3HCgvK3IPfIDeqedBq

เทียบให้ชัด! เศรษฐกิจ - หุ้น “จีน อินเดีย เวียดนาม” | ลงทุนนิยม EP.153

ตัดสินใจกันเองครับฟังคำตอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ว่าน่าเชื่อถือหรือไม่ ปดิพัทธ์ สันติภาดา


สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทำคลิป
https://www.youtube.com/channel/UCJ842uu2IftweuYAMDGwKqA/join
เงินส่วนนี้จะไม่เข้าพรรคก้าวไกลหรือคณะก้าวหน้า
Padipat Suntiphada ปดิพัทธ์ สันติภาดา
[ส.ส.อ๋องทวงเงินประกันรายได้ สิทธิ และศักดิ์ศรีของชาวนา]
.
โครงการประกันรายได้
.
รัฐบาลจะมีเงินพอจ่ายตลอดทั้งโครงการหรือไม่
.
จะแก้ไขปัญหาปุ๋ยแพง ต้นทุนการผลิตสูงได้อย่างไร
.
ความขัดแย้งในรัฐบาล ประชาชนขาดความมั่นใจ จะตอบยังไง
.
ทุกคำถามเหล่านี้ ผมรวบรวมเอาเรื่องราว ข้อมูลจากการเดินพื้นที่จริง
.
ฟังคำตอบจากรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ แล้วตัดสินใจกันเองครับ ว่าน่าเชื่อถือหรือไม่
.
ถ้าถูกใจ ขอช่วยกดไลค์ กดแชร์ด้วยครับ
.
ปดิพัทธ์ สันติภาดา (ส.ส.อ๋อง)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.พิษณุโลก เขต 1 พรรคก้าวไกล
ตั้งกระทู้ถามสดในสภาเรื่องนโยบายเงินประกันรายได้เกษตรกร
เมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2564
ช่องก้าวหน้าก้าวต่อไป
จัดทำขึ้นเพื่อกระจายเผยแพร่แนวคิดและอุดมการณ์ประชาธิปไตย
ทางเราไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับ คุณธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ และพรรคอนาคตใหม่ ใดๆ ทั้งสิ้น ตอนนี้ได้เปลี่ยนเป็นพรรคก้าวไกล กับคณะก้าวหน้า เราจึงนำเสนอในหนทางของเรา
ก้าวหน้าก้าวต่อไป อนาคตใหม่การเมือง Thanathorn Juangroongruangkit ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ เอกพรรณิการ์ วานิช ช่อ ปิยบุตร แสงกนกกุล ป๊อก อนาคตใหม่ อนาคตใหม่ล่าสุด พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ รังสิมันต์ โรม ก้าวไกล สู่อนาคตใหม่ ก้าวหน้า เท่าเทียม

ตัดสินใจกันเองครับฟังคำตอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ว่าน่าเชื่อถือหรือไม่ ปดิพัทธ์ สันติภาดา

เทรดเหรียญคริปโต ทำกำไรระยะสั้น รายชั่วโมง ทุน 500 ฿ bitkup


เทรดทำกำไร ระยะสั้น
เปิดบัญชีเทรด เว็บเทรดในไทย Bitkub : (เว็บเทรดอันดับ 1 ของไทย) ถูกต้องตามกฎหมาย ได้รับอนุญาตจาก ก.ล.ต. และ กระทรวงการคลัง
👇🏻👇🏻👇🏻
https://www.bitkub.com/signup?ref=453383
⬇️⬇️⬇️
วิธียืนยันตัวตน Bitkub
https://bit.ly/3tb3eDo
วิธีซื้อขายเหรียญ Bitkub
https://bit.ly/3uFCVW0
วิธีฝากเงิน ถอนเงิน Bitkub
https://bit.ly/3d5SFvN
คู่มือการเริ่มต้นใช้งาน Bitkub
https://bit.ly/3x9z59F
10 ข้อควรรู้ก่อนซื้อ Bitcoin
https://bit.ly/3v4hXR3
เปิดบัญชีเทรด Binance : (เว็บเทรดอันดับ 1 ของโลก)
(รับ Kickback 10%)ทันที!!
👇🏻👇🏻👇🏻
https://www.binance.cc/th/register?ref=NQ1HDE45

bitcoin บิทคอยน์ bitkub ซื้อขายคริปโต

เทรดเหรียญคริปโต ทำกำไรระยะสั้น รายชั่วโมง ทุน 500 ฿ bitkup

6 เคล็ด (ไม่)ลับ พิชิตทุนไปต่างประเทศ ฉบับ “เด็ก(บ้าน)นอก”


Attention Please!
ท่านผู้โดยสารโปรดทราบ … วีดีโอนี้แวนดี้จะมาแชร์ประสบการณ์การสมัครชิงทุนต่างประเทศ
ต้องท้าวความก่อนนะคะว่า เราเป็นคนที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะยากจน (จนจริงๆ) แต่มีความฝันอยากไปเรียนต่างประเทศ
และดูเหมือนว่ามันจะเป็นไปไม่ได้
แต่!!!!
“หนูทำได้แล้วนะแม่” (คำที่พูดกับแม่)
ในวีดีโอนี้ ก็เลยจะมาแชร์เทคนิคการสมัครชิงทุนที่เราใช้ ให้กับคนที่สนใจ
หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับทุกๆคนจ้าา

6 เคล็ด (ไม่)ลับ พิชิตทุนไปต่างประเทศ ฉบับ “เด็ก(บ้าน)นอก”

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ทุนระยะสั้น

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *