Skip to content
Home » [NEW] | ข้างหน้า – NATAVIGUIDES

[NEW] | ข้างหน้า – NATAVIGUIDES

ข้างหน้า: คุณกำลังดูกระทู้

สมดุลเคมี (Chemical equilibrium) คือสภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงอีกแม้เวลาผ่านไป เราจะเรียกว่าปฏิกิริยาเคมีนั้นอยู่ในสมดุล (equilibrium)

ภาพการเข้าสู่สมดุลเคมีของสารอินทรีย์ Methyl tert-butyl ether (MTBE) ที่สกัดด้วยสารละลายโซเดียมไบคาร์บอร์เนตในน้ำ
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/สมดุลเคมี

กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์มี  3  รูปแบบ  คือ  การเปลี่ยนสถานะ  การละลาย  และการเกิดปฏิกิริยาเคมี  จำแนกเป็น  2  ลักษณะคือ

  1. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางเดียวไม่ย้อนกลับ  (Inreversible reaction) หมายถึงเมื่อสิ่งหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปเป็นอีกสิ่งหนึ่งแล้ว  สิ่งที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนี้จะไม่สามารถเปลี่ยนกลับมาสู่ภาวะเดิมได้โดยทันที  เช่น  การเผาไหม้ของสิ่งต่าง ๆ   เราไม่สามารถทำให้สิ่งที่เกิดจากการเผาไหม้  เปลี่ยนกลับไปเป็นสารเดิมเหมือนก่อนการเผาไหม้ได้อีก  การเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้ไม่มีภาวะสมดุล เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้ดังสมการ

CH4(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(g)                                                                                                                          

  1. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้หรือย้อนกลับได้ (Reversible reaction) มีลักษณะที่สำคัญคือเมื่อสิ่งหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปเป็นสิ่งใหม่แล้ว  สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นก็สามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นสิ่งเดิมได้ทันที การเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้จะเกิดภาวะสมดุลขึ้นได้  เช่น  การผลิต ก๊าซแอมโมเนีย (NH3) จากปฏิกิริยาระหว่างก๊าซไฮโดรเจน (H2) กับก๊าซไนโตรเจน (N2) ดังสมการ

                                                               3 H2(g)   +  N2(g)    ↔    2NH3(g)

                ในการเกิดปฏิกิริยานี้  ก๊าซ H2  และ N2  เป็นสารตั้งต้น  ทำปฏิกิริยากันกลายเป็นก๊าซ NH3  และในทันทีที่เกิดก๊าซ  NH3   ก๊าซ NH3  ที่เกิดขึ้นจะสลายตัวกลับไปเป็นก๊าซ  H2  และ N2  อย่างเดิม  ฉะนั้นในเวลาเดียวกันจึงมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น  2    กระบวนการพร้อมกัน  ได้แก่

                        2.1  ก๊าซ H2  กับ N2  ทำปฏิกิริยากันกลายเป็นก๊าซ NH3  ดังสมการ

                                           3 H2(g)   +  N2(g)    →    2NH3(g)

            กระบวนการนี้เกิดขึ้นก่อน  เรียกว่าการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า  (forward change  หรือ forward reaction)

                       2.2  ก๊าซ NH3  บางส่วนสลายตัวกลับมาเป็นก๊าซ  H2  กับ N2  ตามเดิม  ดังสมการ

                                            2NH3(g)      →     3H2(g)  +  N2(g)

                กระบวนการนี้เกิดขึ้นทีหลัง  เรียกว่าการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ (reverse change  หรือ reverse reaction)     เมื่อนำการเปลี่ยนแปลงทั้ง  2  มาเขียนไว้ในสมการเดียวกัน  รูปของสมการจะเป็นดังนี้

                                           2NH3(g)        ⇌      3H2(g) +  N2(g)

                                   

ภาวะสมดุล  หมายถึง  ภาวะที่ระบบมีสมบัติคงที่  หรือภาวะที่สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ทุกชนิดมีปริมาณหรือความเข้มข้นคงที่  หรือภาวะที่อัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ

          สมบัติของระบบ  ณ ภาวะสมดุล

  1. ต้องเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ โดย  ต้องเกิดในระบบปิด

  2. มีปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับเกิดขึ้นตลอดเวลา โดยจำนวนโมลของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์คงที่แต่อาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้  และ  อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับปฏิริยาย้อนกลับ

  3. สมบัติของระบบคงที่ (จำนวนโมลคงที่  สีของสารคงที่  ความดันคงที่  และอุณหภูมิคงที่)

          ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ  สารต่างๆสามารถเปลี่ยนสถานะได้ โดยมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานควบคู่ไปด้วย  ดังแผนภาพนี้

                            

          ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาเคมีระบบยังมิได้หยุดนิ่ง  ยังมีทั้งการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า  และเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับตลอดเวลาโดยเกิดในอัตราที่เท่ากัน  เรียกภาวะสมดุลนี้ว่า  ภาวะสมดุลไดนามิก        

          ภาวะสมดุลในสารละลายอิ่มตัว  เมื่อให้ตัวถูกละลาย ละลายในตัวทำละลาย ตัวถูกละลายก็จะละลายได้เร็วในตอนแรกแล้วละลายได้ช้าลงและเมื่อเกิดสารละลายอิ่มตัว เราจะพบว่าตัวถูกละลายไม่ละลายต่อไปอีก  ไม่ว่าจะคนสารละลายเป็นเวลานานเท่าใดถ้าอุณหภูมิคงที่ เมื่อตั้งสารละลายอิ่มตัวไว้จะเกิดผลึกขึ้นและปริมาณของผลึกจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนในที่สุดผลึกคงที่ เรายังดูเหมือนว่าไม่เกิดผลึกอีก แต่ในระบบผลึกยังคงเกิดขึ้นเรื่อยๆแล้วก็ละลายในสารละลายอีกด้วย

          สมดุลในปฏิกิริยาเคมี  คือ  ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดภาวะสมดุลจะต้องเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้  และ  สมบัติของระบบต้องคงที่  การศึกษาภาวะสมดุลของปฏิกิริยาเคมี  ตรวจสอบดังนี้

  • ทดสอบปฏิกิริยาไปข้างหน้า (สารตั้งต้นทำปฏิกิริยากันแล้วเกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์หรือไม่)

  • ทดสอบปฏิกิริยาย้อนกลับ (นำสารผลิตภัณฑ์มาทำปฏิกิริยากันแล้วกลับไปเป็นสารตั้งต้นหรือไม่)

  • สังเกตสมบัติของระบบว่าคงที่หรือไม่ (อาจสังเกตสีว่าคงที่หรือไม่)

          การเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดสมดุลเคมีต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้

         1.) การเปลี่ยนสถานะ

เช่น การกลายเป็นไอของน้ำในภาชนะปิด น้ำเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส

            H2O(l)  ⇌    H2O(g)

              หรือการระเหิดของไอโอดีนในภาชนะปิด ซึ่งเปลี่ยนสถานะไอโอดีนจากของแข็งเป็นแก๊ส

             I2(s) ⇌    I2 (g)

            ดังนั้น ในระบบอาจมีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว หรือจากของเหลวเป็นแก๊ส หรือจากแก๊สเป็นของแข็งอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนั้นการเปลี่ยนสถานะที่จะก่อให้เกิดสมดุลเคมีได้ต้องเกิดในระบบปิดเท่านั้น

2) การเกิดสารละลาย

          การเกิดสารละลายที่จะก่อให้เกิดสมดุลเคมี เช่น การละลายของเกลือ NaCl  ในน้ำได้สารละลาย แต่เมื่อให้ความร้อนจะเกิดเป็นสารละลายอิ่มตัว เมื่ออุณหภูมิลดลงจะเกิดการตกผลึกของเกลือ NaCl  กลับมา การเกิดสารละลายลักษณะนี้จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ การละลายของเกลือแกงแสดงดังสมการข้างล่าง(จะต้องละลายจนอิ่มตัวจึงจะเกิดสมดุล)

          NaCl (s)  +  H2O   ⇌      Na+(aq)   +  Cl- (aq)

3) การเกิดปฏิกิริยาเคมี

          การเกิดปฏิกิริยาบางปฏิกิริยาสามารถผันกลับได้ และก่อให้เกิดสมดุลเคมี  เช่น การละลายของก๊าซ  CO2  ในน้ำ อาจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะการแพร่ของแก๊ส  CO2 ในน้ำ หรืออาจเกิดปฏิกิริยาเคมีกับน้ำได้กรดคาร์บอนิก และกรดคาร์บอนิกสามารถสลายตัวกลับมาเป็นแก๊ส CO2 และ H2O เหมือนเดิม

          CO2 (g)  +  H2O (l)  ⇌    H2CO3

แหล่งที่มา

บัญชา  แสนทวี และคณะ .(2551). หนังสือเรียนรายวิชาเคมีเพิ่มเติมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สำนักงานพิมพ์วัฒนาพานิช.

พงศธร  นันทธเนศ และคณะ .(2556). หนังสือเสริมสร้างศักยภาพและทักษะ เคมี เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6. กรุงเทพฯ : บริษัทไทยร่มเกล้า จำกัด.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

 

 


Return to contents

Table of Contents

[NEW] อีก 10 ปีข้างหน้าอยากเป็นแบบไหน? : ชวนออกแบบตัวเองในอนาคตผ่านหลักจิตวิทยา Future Self | ข้างหน้า – NATAVIGUIDES

ยังจำตัวเองเมื่อ 10 ปีที่แล้วได้ไหม? ตัวเราในวันนี้ เปลี่ยนไปจากในวันนั้นมากหรือเปล่า? แล้วในอีก 10 ปีข้างหน้า คิดว่าตัวเองจะเปลี่ยนแปลงมากไปกว่านี้ไหม?

 

หลายๆ ครั้งที่เรามักได้ยินคำพูดที่ว่า “ตัวเราในวันนี้ จะเป็นคนกำหนดตัวเราในวันหน้า” ซึ่งนั่นอาจจะไม่จริงเสมอไป ลองคิดย้อนเทียบตัวเราวันนี้กับในอดีตดูสิ เราอาจจะพบว่ามีความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกิดขึ้นจนแทบไม่เหลือบางอย่างที่เคยมีเมื่อ 10 ปีก่อนเลยด้วยซ้ำ

เช่นกัน.. ตัวเราในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้า อาจไม่ได้ถูกกำหนดจากตัวเราในวันนี้ทั้งหมด ถึงวันนี้ เราอาจจะรู้สึกว่าตัวเราในอนาคตอาจจะไม่ได้เปลี่ยนไปจากวันนี้มากนัก แต่จริงๆ เรากำหนดอนาคตได้ โดยไม่ต้องอ้างอิงจากประสบการณ์ในปัจจุบันเสมอไป และนั่นคือ ‘Psychology of Future Self’ วิธีออกแบบตัวเราอนาคตที่นักจิตวิทยาเสนอไว้

 

ทำไมต้อง Psychology of Future Self?

นั่นก็เพราะงานศึกษาในสาขาจิตวิทยาที่ผ่านมาและการคาดการณ์ถึงอนาคตของคนส่วนใหญ่ มักติดอยู่ในกรงขังของประสบการณ์ในอดีตและปัจจุบัน (อาจเพราะได้รับอิทธิพลแบบฟรอยด์) นั่นทำให้ “มนุษย์มักคิดว่าตัวเราในปัจจุบันคือเวอร์ชั่นที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว แม้ว่ามันจะไม่จริงก็ตาม” (Human beings are works in progress that mistakenly think they are finished.) ตามที่ Daniel Gilbert หนึ่งในนักจิตวิทยาที่ตีพิมพ์งานวิจัยเรื่อง ‘The End of History Illusion’ อธิบายไว้

งานวิจัยชิ้นนี้ ได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของชาวอเมริกันเกือบสองหมื่นคน ในช่วงอายุตั้งแต่ 18-68 ปี แล้วพบว่า คนส่วนใหญ่มักคิดว่าความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกิดขึ้นกับพวกเขาไปแล้วในอดีต ส่วนอนาคตนั้นคงจะไม่ค่อยเกิดการเปลี่ยนแปลงเท่าไรนัก รวมถึงยังคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตต่ำกว่าความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงทั้งนั้น

ตัวอย่างเช่น คนอายุ 30 ส่วนใหญ่ บอกว่าพวกเขาไม่ได้ชอบอาหารที่พวกเขาเคยชอบตอนอายุ 20 แต่คนอายุ 20 คิดว่าตัวเองจะยังชอบอาหารที่ชอบอยู่ในอีกสิบปีข้างหน้า หรือคนอายุ 50 บอกว่ามีหลายสิ่งหลายอย่างที่เขาไม่ได้เชื่อเหมือนตอนที่เขาเคยเชื่อตอนอายุ 40 ส่วนคนอายุ 40 กลับคิดว่าพวกเขาจะยังมีความเชื่อหลายอย่างเหมือนเดิมอยู่ในตอนอายุ 50

แต่ในความเป็นจริงแล้ว เราต่างมีศักยภาพในการจินตนาการและจำลองเหตุการณ์ในอนาคตมากกว่านั้น ซึ่งอธิบายได้ด้วยจิตวิทยาสาขา Prospective Psychology ที่บอกว่า มนุษย์เราสามารถเห็นโอกาสและจินตนาการได้ถึงสิ่งที่ยังไม่มี ยังไม่เกิดขึ้น ผ่านบุคลิกภาพแบบเปิดใจรับประสบการณ์ใหม่ๆ (Openness to experience) แถมยังสามารถใช้มันช่วยขับเคลื่อนปัจจุบัน ไปสู่อนาคตแบบที่เราอยากเป็นได้อีกด้วย

นอกจากนี้ Hal Hershfield นักจิตวิทยาจาก UCLA ยังเคยลองศึกษาผลของการสร้าง Future Self กับการตัดสินใจเรื่องต่างๆ ของคน แล้วพบว่าการมองหาสิ่งที่เราอยากเปลี่ยนแปลง แล้วสร้าง Future Self ให้เป็นคนละคนกับตัวเราในปัจจุบัน ช่วยสร้างเป้าหมายให้การตัดสินใจง่ายขึ้น แตกต่างออกไป และได้ผลลัพธ์ที่ต้องการมากขึ้น

 

ทำอย่างไรให้ Future Self เกิดขึ้นได้จริง?

Benjamin Hardy เสนอวิธีในการทำ Future Self ใน Harvard Business Review ไว้ 3 ขั้นตอนเบื้องต้นง่ายๆ คือ

1.แยกอดีต ปัจจุบัน และอนาคตออกจากกันให้ได้ : เป็นปกติที่เราจะมองปัจจุบันเป็นภาพใหญ่ และยึดมั่นกับสิ่งที่เราเป็นในวันนี้ แต่ Dr. Ellen Langer นักจิตวิทยาจาก Harvard บอกว่าการแปะป้ายหรือแม้แต่ใช้คำบอกว่า “ฉันเป็น..” ก็มีส่วนทำให้เราปิดประตูใส่ความเป็นไปได้อื่นๆ ที่จะเข้ามา ดังนั้น ดีกว่าการที่บอกว่าตัวเองเป็นอะไรในวันนี้ คือการบอกว่าฉันเปลี่ยนแปลงจากเมื่อวานมายังไงบ้าง

ทางหนึ่งที่ช่วยให้สังเกตและใส่ใจความเปลี่ยนแปลงได้ คือการติดตามและบันทึกความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวเอง อาจจะเป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปี เมื่อไหร่ที่เราเริ่มแยกแยะความเปลี่ยนแปลงตัวเองจากอดีตมาปัจจุบันได้ การมองการเปลี่ยนแปลงไปสู่อนาคตได้ก็จะง่ายขึ้นเช่นกัน

 

2.คิดถึงตัวเองที่อยากให้เป็นในอนาคตให้ออก : การจินตนาการถึงอนาคตนั้นเป็นเรื่องยากสำหรับหลายคน ถามว่าให้คิดถึงตัวเองใน 3 ปี 5 ปี 10 ปี อาจจะนึกไม่ออกทันที (แค่ปีหน้า บางทียังเป็นเรื่องยากเลย) แต่หากเราไม่ลองทำ ชีวิตเราก็จะไหลไปแบบเลยตามเลย จนรู้ตัวก็เสียดายที่พลาดอะไรไปหลายอย่าง

หนึ่งในตัวช่วยที่จะก่อร่างสร้างภาพตัวเองในอนาคตได้คือ ‘Deliberate Practice’ ที่มีหลักการ 5 อย่างคือ 1) ตั้งเป้าหมายให้ชัดเจนและเป็นไปได้ 2) ตัดสิ่งรบกวนออกไปให้หมด 3) ทำให้สำเร็จไปทีละอย่างและวัดผลอยู่เสมอ 4) ปรับวิธีการอยู่เสมอ และ 5) จินตนาการภาพตัวเองทำสำเร็จซ้ำๆ โดยอาจจะทำให้เป็นบันทึก (Journaling) อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้ชัดเจนมากขึ้น

แรงจูงใจและความหวังในการทำอะไรสักอย่าง ไม่ได้มาจากการฟังหรือเห็นอะไรบันดาลใจเพียงอย่างเดียว แต่มักจะมาจากผลลัพธ์ที่วัดผลและจับต้องได้ บวกกับการมองเห็นวิธีการไปถึงเป้าหมายและความเป็นไปได้ที่จะทำสำเร็จต่างหาก

3.เปลี่ยนวิธีอธิบายตัวตนของคุณ (Identity) : ก่อนอื่นต้องแยกให้ออกก่อนระหว่างอัตลักษณ์ (Identity) และบุคลิกภาพ (Personality) อัตลักษณ์นั้นทรงพลังกว่า มันสามารถขับเคลื่อนทัศนคติและพฤติกรรมต่างๆ จนกลายมาเป็นบุคลิกภาพ

สังเกตว่าเวลาคนให้เราแนะนำตัว วิธีอธิบายตัวตนของเรานั้น มักจะยึดโยงอยู่กับอดีตและปัจจุบัน จนถ้ามันถูกจำกัดไว้แค่นั้น มันอาจจะส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมต่างๆ จนกลายเป็นบุคลิกภาพในอนาคตของเราได้ แต่ถ้าเรามีตัวตนในอนาคตที่คิดภาพไว้ชัดเจน เราอาจเปลี่ยนวิธีอธิบายตัวตนของเรา จนทำให้บุคลิกภาพเราเปลี่ยนแปลงไปสู่อนาคตที่เราอยากเป็นได้ (State of Becoming)

 

อย่างที่บอก แม้การจินตนาการถึงอนาคตนั้นเป็นเรื่องยาก แต่ลองท้าทายตัวเองด้วยการคิดถึง Future Self สิ่งที่เราอยากในอีก 10 ปีข้างหน้า นี่อาจจะเป็นจุดเริ่มต้นให้เราได้หลุดจากวิธีคิดและชีวิตแบบเดิมๆ กล้าหวังกับอนาคตแบบใหม่ๆ และเปลี่ยนอนาคตให้เป็นแบบที่เราอยากเป็นได้ ไม่ว่าเมื่อวานและวันนี้ของเราจะเป็นแบบไหนก็ตาม

 

 

อ้างอิงข้อมูลจาก

www.fastcompany.com

hbr.org

www.nytimes.com

 

อ่านเพิ่มเติม

– The End of History Illusion:  https://wjh-www.harvard.edu/~dtg/Quoidbach%20et%20al%202013.pdf

– Shaping One’s Future Self – The Development of Deliberate Practice:  https://www.researchgate.net/publication/281428331_Shaping_One%27s_Future_Self_-_The_Development_of_Deliberate_Practice

– Pragmatic Prospection: How and Why People Think about the Future: https://journals.sagepub.com/doi/10.1037/gpr0000060

– Future self-continuity: how conceptions of the future self transform intertemporal choice: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3764505/

Share this article



ไม่มีหรอกเพลงคลั่งรัก มีแต่คลั่งน้ำตา [ BOXX MUSIC LONGPLAY ]


\”เราคลั่งรักเขา ส่วนเขาคลั่งรักแต่คนอื่น\”
LONGPLAY \”ไม่มีหรอกเพลงคลั่งรัก มีแต่คลั่งน้ำตา\”
00:00 ไม่อยากเป็นเพื่อนกับแฟนเก่า BEAN NAPASON
03:57 เป็นได้แค่เพื่อน COPTER
07:51 ไม่อยากฟัง SERIOUS BACON
12:30 ช่วยทำว่ายังรัก MARC TATCHAPON
16:23มีปัญหาปรึกษาดาว SERIOUS BACON
20:22 อยากเริ่มต้นใหม่กับคนเดิม (repeat) INK WARUNTORN
24:20 ชาตินี้พอ OPAVEE
28:26 ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม (Erase) INK WARUNTORN
32:11 อยากกลับไปเป็นคนเหงา PORTRAIT
36:16 เจ็บแต่ดี ONEONE
40:00 กลับมาทำไม…หา COPTER
43:04 ดีใจด้วยนะ (Glad) INK WARUNTORN
47:44 ลืมได้แล้ว OPAVEE
52:07 เพลงที่เธอทิ้งไว้ PORTRAIT
55:54 ที่เก่า MARC TATCHAPON
59:43 ติด (stuck) ONEONE
1:03:53 เธอบอกว่าฉันไม่ดี COPTER
1:07:17 ชีวิตเธอดีอยู่แล้ว THE KASTLE
1:10:48 ยังคิดถึง…(same) MARC TATCHAPON
1:14:10 พอเสียที OPAVEE
ไม่มีหรอกเพลงคลั่งรักมีแต่คลั่งน้ำตา BoxxMusicLongplay

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ไม่มีหรอกเพลงคลั่งรัก มีแต่คลั่งน้ำตา [ BOXX MUSIC LONGPLAY ]

เด็กๆไปดูกันมีอะไรอยู่ข้างหน้ารถไถนารถแม็คโคร รถบรรทุกรถแทรกเตอร์รถขุดดินรถดั้มเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง


เด็กๆไปดูกันมีอะไรอยู่ข้างหน้ารถไถนารถแม็คโคร รถบรรทุกรถแทรกเตอร์รถขุดดินรถดั้มเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง

เด็กๆไปดูกันมีอะไรอยู่ข้างหน้ารถไถนารถแม็คโคร รถบรรทุกรถแทรกเตอร์รถขุดดินรถดั้มเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง

ไรเดอร์คนใหม่ อีก 50 ปีข้างหน้า หน้าตาเป็นแบบนี้ วิวัฒนการดีไซน์ไรเดอร์ในอนาคต KAMENRIDER FUTUREᴴᴰ


⏩ติดตามข่าวสาร และร่วมพูดคุยกับเราที่ได้ที่
👉https://www.facebook.com/4OFFUNClub
⏩สนับสนุนโดเนทเป็นอัลเฟน็อค
👉True Wallet 0985318727
🐌พร้อมเพย์ 0985318727
💜 True Money https://goo.gl/t4AB9Z
⏩ ติดต่อสปอนเซอร์ โฆษณา
🐌tel 0985318727
👉https://goo.gl/36GfDG
👉https://goo.gl/ZJt1sd
⏩หรือจะเป็นการติดต่อผ่านอีเมล
👌 [email protected]

💜ติดตามพวกเราเกี่ยวกับเกม https://goo.gl/198Wa6
kamenrider ultraman supersentai

ไรเดอร์คนใหม่ อีก 50 ปีข้างหน้า หน้าตาเป็นแบบนี้ วิวัฒนการดีไซน์ไรเดอร์ในอนาคต  KAMENRIDER FUTUREᴴᴰ

ไม่มีอารมณ์หายใจ


ไม่มีอารมณ์หายใจ

กินอาหารตามคนข้างหน้า ได้เมนูสุดแปลกประหลาด?!! | Meijimill


ฝากกด like และกด subscribe
อย่าลืมกดกระดิ่งแจ้งเตือนด้วยน้า☺
ติดตามเมจิได้ที่
Fb : https://www.facebook.com/mmeiji.lucksika
IG : @meijimill
Fanpage : https://www.facebook.com/meijimills

กินอาหารตามคนข้างหน้า ได้เมนูสุดแปลกประหลาด?!! | Meijimill

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ข้างหน้า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *