Skip to content
Home » ระบบ e-PaySLF ep:8 การจัดการบริษัทสาขา/โอนย้ายลูกหนี้ภายในสาขา/ข้อมูลหักเงินเดือน/ข้อมูลผู้กู้ | ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย ออก แทน บันทึก บัญชี

ระบบ e-PaySLF ep:8 การจัดการบริษัทสาขา/โอนย้ายลูกหนี้ภายในสาขา/ข้อมูลหักเงินเดือน/ข้อมูลผู้กู้ | ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย ออก แทน บันทึก บัญชี

ระบบ e-PaySLF ep:8 การจัดการบริษัทสาขา/โอนย้ายลูกหนี้ภายในสาขา/ข้อมูลหักเงินเดือน/ข้อมูลผู้กู้


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ระบบรับชำระเงินกู้ยืมคืนกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาผ่านกรรมสรรพากร
(ePaySLF)
ep:8 การจัดการบริษัทสาขา/โอนย้ายลูกหนี้ภายในสาขา/ข้อมูลหักเงินเดือน/ข้อมูลผู้กู้

รับชม VDO แนะนำการใช้งานระบบ ePaySLF
ep:1 การเข้าระบบ ePaySLF
คลิก… https://youtu.be/Y1BqauLtqac
ep:2 การจัดการข้อมูล Profile หน่วยงานนายจ้าง ข้อมูลผู้ใช้งาน
คลิก… https://youtu.be/BdbTTr8_kL0
ep:3 การแก้ไขข้อมูลส่วนตัวและรหัสผ่าน
คลิก…https://youtu.be/b0EunE_H6LA
ep:4 การตรวจสอบข้อมูลเงินงวดที่จะต้องนำส่งคืนกองทุน และการบันทึกข้อมูลการหักเงินเดือนบนหน้าจอ
คลิก…https://youtu.be/myXdsOBkcVo
ep:5การตรวจสอบข้อมูลเงินงวดที่จะต้องนำส่งคืนกองทุนและการบันทึกข้อมูลผ่านการ Upload File
คลิก…https://youtu.be/1Fd6GGg7EcM
ep:6 การยืนยันข้อมูลหักเงินและการยกเลิก การพิมพ์ใบ Pay in Slip เพื่อชำระเงิน
คลิก…https://youtu.be/G1A22zZ42kY
ep:7 ประวัติการออกใบเสร็จรับเงิน การตรวจสอบรายการค่าปรับเงินเพิ่ม
คลิก…https://youtu.be/KcwFk_TyuDU
ep:8 การจัดการบริษัทสาขา/โอนย้ายลูกหนี้ภายในสาขา/ข้อมูลหักเงินเดือน/ข้อมูลผู้กู้
คลิก…https://youtu.be/EwcPIap5wJM

ระบบ e-PaySLF ep:8 การจัดการบริษัทสาขา/โอนย้ายลูกหนี้ภายในสาขา/ข้อมูลหักเงินเดือน/ข้อมูลผู้กู้

16การบันทึกบัญชีกรณีจ่ายภาษีหัก ณ ที่จ่าย


16การบันทึกบัญชีกรณีจ่ายภาษีหัก ณ ที่จ่าย

การบันทึกบัญชี : เมื่อจ่ายค่าใช้จ่ายและออกภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนผู้ให้บริการ 2/2


รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 430 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ

การบันทึกบัญชี : เมื่อจ่ายค่าใช้จ่ายและออกภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนผู้ให้บริการ 2/2

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?


ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ถ้าว่ากันแบบง่ายๆ คือ จำนวนเงินที่กฎหมายกำหนดให้ผู้จ่ายเงินหักออกจากเงินได้ก่อนจ่ายให้แก่ผู้รับ และถือเป็น \”เครดิตภาษี\” ของผู้ถูกหัก สำหรับการคำนวณภาษีที่ต้องยื่นในแบบแสดงรายการภาษี โดยทางผู้จ่ายเงินจะมีหลักฐานที่เรียกว่า \”หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย\” ให้แก่ผู้รับไว้เป็นหลักฐาน
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากเรามีภาษีที่ต้องเสียทั้งหมดในปี จำนวน 15,000 บาท แต่เรามีภาษีหัก ณ ที่่จ่ายที่ถูกหักไว้แล้วระหว่างจำนวน 10,000 บาท แปลว่าในปีนั้นเราจะต้องเสียภาษีเพิ่มเติมแค่เพียง 15,000 10,000 = 5,000 บาทเท่านั้นเอง (10,000 บาทที่ถูกหักไว้ นำไปเครดิตออกจากภาษีที่ต้องชำระตอนปลายปี)
หรือสรุปง่ายๆว่า หลักการของภาษีหัก ณ ทีจ่ายเป็นแบบนี้ครับ คือ
1. คนจ่ายหักภาษีไว้ เอาเงินไปส่งสรรพากร
2. คนมีรายได้ ได้ใบเอกสารหลักฐานการหักภาษี
3. ตอนยื่นภาษี คำนวณออกมาได้เท่าไร ให้เอาภาษีที่ถูกหักไว้ไปลบออก ส่วนต่างก็เสียเพิ่มหรือได้คืนแล้วแต่กรณีไป
อย่าลืมนะครับว่า รายได้ที่ถูกหักภาษีไว้นี่ ไม่ยื่นไม่ได้นะครับ เพราะถ้าไม่ยื่นก็แปลว่ามีสิทธิโดนตรวจสอบแน่นอนจ้า เพราะสรรพากรมีข้อมูลแล้วจากข้อ 1 แล้วก็ไม่ใช่การเสียภาษีด้วย มันเป็นการจ่ายล่วงหน้าเฉยๆ
ภาษี10นาที ภาษีเงินได้หักณทีจ่าย ภาษีหัก ภาษีหักณที่จ่าย ถูกหักภาษี จ่ายภาษีล่วงหน้า ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำนวณภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?

ขั้นตอนสอบถามการขอคืนเงินภาษี ง่ายๆแค่1นาที


มนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ นั้นต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในทุกๆ ปี โดยช่วงเวลาการเสียภาษีก็คือช่วงประมาณหลังปีใหม่ ซึ่งเหล่ามนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ นั้นก็ต้องเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับการยื่นแบบแสดงรายได้ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 นอกจากนี้พวกเราบางคนก็มีการถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายในทุกเดือน เมื่อได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีรายการต่างๆ ก็มีโอกาสที่จะได้รับเงินภาษีที่เสียไปกลับคืนมาด้วย
การขอเงินภาษีคืนนั้น ถ้าใครอยากได้เงินภาษีคืนแบบรวดเร็วทันใจละก็ ขอแนะนำให้สมัครบริการพร้อมเพย์และผูกบัญชีเข้ากับบัตรประจำตัวประชาชน ก่อนทำการยื่นภาษี เพราะหากไม่มีการเรียกตรวจเอกสารเพิ่มเติม จะได้รับเงินคืนเร็วกว่า

ขั้นตอนสอบถามการขอคืนเงินภาษี ง่ายๆแค่1นาที

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *