Skip to content
Home » นามรูปปริจเฉทญาณ – หลวงพ่อพระราชปริยัตยากร (บุญเรือง สารโท) | นาม รูป

นามรูปปริจเฉทญาณ – หลวงพ่อพระราชปริยัตยากร (บุญเรือง สารโท) | นาม รูป

นามรูปปริจเฉทญาณ – หลวงพ่อพระราชปริยัตยากร (บุญเรือง สารโท)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ธรรมะ เรื่อง \”นามรูปปริจเฉทญาณปัจจยปริคคหญาณ\” โดย พระเดชพระคุณ พระราชปริยัตยากร (บุญเรือง สารโท) อดีตเจ้าอาวาสวัดพิชโสภาราม ต.แก้งเหนือ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
Website : http://www.watpitch.com
Facebook : https://www.facebook.com/WatPitchVipassana
GooglePlus : https://plus.google.com/+WatPitchVipassana
Youtube : https://www.youtube.com/c/watpitchvipassana
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

นามรูปปริจเฉทญาณ - หลวงพ่อพระราชปริยัตยากร (บุญเรือง สารโท)

ความเกิด แก่ ตาย จุติ และอุปบัติ ของวิญญาณและนามรูป โดย พระสมบูรณ์ ปวโร


สถานปฏิบัติธรรมสวนเวฬุวัน อุดรธานี
เผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้า
บ้านหนองหลอด หมู่ 9 ตำบลเชียงยืน อำเภอเมือง อุดรธานี 41000
(ในสังกัดวัดป่าศรีอุดม สาขาวัดหนองป่าพงที่ 62)
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่. คุณศราวุธ บุตตะราช โทร. 0936199563
โดยยึดหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า อันมีหลักฐานปรากฏในพระไตรปิฏก

ความเกิด แก่ ตาย จุติ และอุปบัติ ของวิญญาณและนามรูป โดย พระสมบูรณ์ ปวโร

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช☯ฝึกแยกรูปแยกนามcd63/ 590116A


☯ฝึกแยกรูปแยกนาม
พระธรรมเทศนาโดย
หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช
วัดสวนสันติธรรม
อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
ดาวโหลดเสียง MP3 ที่ http://www.dhamma.com/tag/cd63/ 590116A

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช☯ฝึกแยกรูปแยกนามcd63/ 590116A

พุทธวจน – วิญญาณ การเกิด-ดับ ของวิญญาณ ทำอย่างไรเพื่อการดับทุกข์ที่ถูกต้อง


พุทธวจน ปฏิจจสมุปบาท วิญญาณ การเกิดดับของวิญญาณ
วิญญาณ เกิดดับอย่างไร

วิญญาณ เป็นปัจจัย จึงมี นามรูป
เมื่อเกิดวิญญาณ การรับรู้ในสังขารที่เกิดขึ้น
ย่อมทำให้นามรูปครบองค์หรือตื่นตัว กล่าวคือ ครบองค์ของขันธ์ ๕ สมบูรณ์ จึงยังให้ดำเนินกระบวนการของชีวิตสืบเนื่องไป
วิญญาณนั้น ความจริงแล้วเป็นส่วนหนึ่งของนามอยู่แล้ว (นาม หรือ จิต เกิดแต่เหตุปัจจัยของขันธ์ทั้ง ๔ คือประกอบด้วย เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์) ดังนั้นเมื่อวิญญาณเกิดขึ้นมาแล้วจึงมีขันธ์อื่นๆเป็นปัจจัยร่วมเกิดขึ้นด้วย(ที่หมายถึงเกิดร่วมทำงาน)ด้วยเป็นธรรมดา คือเหล่า เวทนา สัญญา และสังขาร นั่นเอง เพราะวิญญาณหรือระบบประสาทต่างๆจักอยู่ หรือทำงานแต่โดยโดดเดี่ยวย่อมไม่ได้ ดังนั้นนามส่วนอื่นๆที่เหลืออันนอนเนื่องอยู่เช่นกัน ดุจเดียวกันกับวิญญาณหรืออาสวะกิเลส จึงเกิด การทํางานขึ้น จึงครบองค์ประกอบของชีวิตฝ่ายจิตเช่นเดียวกันกับการเกิดขึ้นของวิญญาณ, และเมื่อมีนาม(จิต)ก็ต้องมีรูปหรือกายร่วมเกิด การทํางานประสานกัน เพื่อเป็นที่อาศัยและใช้ทํางานของฝ่ายนามด้วย จึงเกิดครบองค์ของชีวิตหรือรูปนาม, นามรูปในปฏิจจสมุปบาท จึงหมายถึง การตื่นตัวของฝ่ายนามและรูป หรือชีวิตขึ้น พร้อมทำงานตามหน้าที่ในสังขารที่เกิดขึ้นมาก่อนนั้น ไม่ใช่นอนเนื่องเนือยๆเป็นแมวนอนหวดอย่างเดิมอีกแล้ว แต่เป็นแมวที่เห็นหนู จึงตื่นตัวพร้อมทำงานตามหน้าที่ตน, เพราะรูปนามหรือชีวิตหรือขันธ์ทั้ง ๕ นั้น ก็เกิดแต่เหตุปัจจัยต่างๆมาประชุมกัน ของรูป(ธาตุ๔) และนามทั้ง ๔ และมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องทํางานประสานกันอย่างสอดคล้องเนื่องสัมพันธ์กันอีกด้วย, ด้วยเหตุดังนี้ท่านจึงตรัสว่า วิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
ถ้าจะเปรียบเทียบนามธรรมสิ่งที่รับรู้ได้ด้วยใจนี้ อันรู้เห็นได้ยากให้เป็นรูปธรรม เพื่อให้พิจารณาได้ง่ายและแจ่มแจ้งขึ้น ก็เปรียบเสมือนได้ดั่ง รถยนต์ที่ครบบริบูรณ์ทั้งคัน(เปรียบเสมือนดั่งนามรูป) ปกตินั้นย่อมจอดอยู่กับที่ แต่ล้วนมีอุปกรณ์อย่างครบถ้วน ไม่ได้ตายไม่ได้พังดับสูญไปไหน เพียงยังไม่ทําหน้าที่ คือออกไปโลดแล่น เหตุเพราะพลขับ(วิญญาณ)ยังหลับไหลอยู่ อันเสมือนหนึ่งนามรูปที่ยังไม่มีวิญญาณเกิดขึ้น จึงยังไม่ตื่นตัวทำงานนั่นเอง อันอุปมาได้ดังที่กล่าวคือ พลขับหรือวิญญาณยังนั่งหลับไหลหรือนอนเนื่องอยู่ในรถ แต่เมื่อใดที่พลขับอันเปรียบเสมือนวิญญาณ ได้ถูกกระตุ้นให้เกิดตื่นขึ้นมาทําหน้าที่แห่งตนคือรับรู้, รถยนต์คันนั้นจึงครบองค์ประกอบสมบูรณ์พร้อมในการเกิดขึ้นทํางานตามหน้าที่ คือครบองค์ธรรมของยานพาหนะ ที่มีจริงๆเพื่อไว้ใช้ในการขับเคลื่อนขนส่งไปสู่จุดหมายต่างๆ อันเป็นการทําหน้าที่โดยบริบูรณ์ ตามฐานะของตน คือ รถที่ทำหน้าที่เป็นยานพาหนะขนส่ง ไม่ใช่รถที่มีไว้จอดแช่นิ่ง ที่นอนเนื่อง เช่นเดียวกับรูปนามที่ปราศจากการตื่นตัวทำงานของวิญญาณก็เหมือนรถที่จอดไว้ แต่เมื่อมีวิญญาณเกิดมาทำหน้าที่แล้ว ก็ย่อมครบองค์ของเหตุปัจจัยในการทำงานของชีวิต จึงเปรียนเสมือนรถยนต์ที่ขับออกไปโลดแล่นตามกิจที่ตั้งใจได้นั่นเอง
ดังนั้นอย่าได้พยายามหาทางดับ รูปนาม โดยความเข้าใจทางรูปธรรมหรือภาษาสมมุติ ซึ่งเป็นการเข้าใจกันผิดๆเพราะสมมุติทางภาษาที่นอนเนื่องแอบแฝงอยู่ในจิตว่า ดับคือไม่มี, ดับสูญ, สูญสิ้น อันเกิดขึ้นเพราะความไม่เข้าใจในอนัตตาโดยถ่องแท้
ดับ ในที่นี้จึงเป็นภาษาธรรม ที่หมายถึง ไม่ได้ทําหน้าที่ หรือยังไม่ได้ทํากิจตามหน้าที่ตน กล่าวคือ นอนเนื่องอยู่นั่นเอง ไม่ได้ดับชนิดขาดสูญสิ้นหรือสูญหายตายจากไปไหนอย่างแท้จริง
เกิด ในที่นี้จึงเป็นภาษาธรรมเช่นเดียว ที่หมายถึง เริ่มการทําหน้าที่หรือทํางานตามหน้าที่, ทํางานตามกิจอันควรของตน
นาม รูป ก็เป็นไปในลักษณาการเดียวกัน คือ อยู่ในสภาวะเกิดดับๆ…ที่หมายถึง ทําๆ หยุดๆ นั่นเอง ดับจึงไม่ใช่หมายถึงตายหรือการดับอย่างดับสูญ หรืออย่างความหมายว่าไม่มีตัวไม่มีตนชนิดรูปธรรมตามที่ตีความหรือเข้าใจกันทั่วๆไป อันจักยังให้ไม่สามารถเข้าใจในปฏิจจสมุปบาทธรรมได้ ตลอดจนทําให้หลงไปปฏิบัติแบบผิดๆนอกลู่ผิดทางเสียอีกด้วย เช่น พยายามปฏิบัติไปในแนวทางดับรูปดับนามแบบผิดๆ แบบให้ขาดสูญ หรือไปตีความไปในรูปแบบข้ามภพข้ามชาติเสียแต่ฝ่ายเดียวอีกด้วย
บ้านขนมนันทวัน เพชรบุรี วันพฤหัสฯที่ 29 ธันวาคม 2554

พุทธวจน - วิญญาณ การเกิด-ดับ ของวิญญาณ ทำอย่างไรเพื่อการดับทุกข์ที่ถูกต้อง

นามรูป – 13 ก.ค.60


กำหนดการเวลา ณ ธรรมสุขวิหาร แตะที่ลิงค์นี้ https://bit.ly/2XRzf5C
กฎระเบียบในการอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ แตะที่ลิงค์นี้ https://bit.ly/33Y4a3U
กฎระเบียบในการฟังธรรม ณ อุปัฏฐานศาลา แตะที่ลิงค์นี้ https://bit.ly/3dq2brX
แผนที่ธรรมสุขวิหาร แตะที่ลิงค์นี้ https://goo.gl/maps/af5Jq9VfGXJE2stu8
เข้าสู่เว็บไซต์ ธรรมสุขวิหาร แตะที่ลิงค์นี้ https://sites.google.com/view/dhammasukviharn
Facebook ธรรมสุขวิหาร แตะที่ลิงค์นี้ https://www.facebook.com/Dhammasukviharn
Line ธรรมสุขวิหาร แตะที่ลิงค์นี้ https://lin.ee/cnSGkAB
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น ธรรมสุขวิหาร ได้ที่ Play Store (Android) แตะที่ลิงค์นี้
https://play.google.com/store/apps/details?id=com.gmail.dhammasukviharn1
ติดต่อธรรมสุขวิหาร แตะที่ลิงค์นี้ http://bit.ly/2Y6kcX3

นามรูป - 13 ก.ค.60

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *