Skip to content
Home » [NEW] ว่างงาน-ตกงาน ประกันสังคม แจ้งขั้นตอนลงทะเบียนรับเงินชดเชย | สวัสดิการประกันสังคม – NATAVIGUIDES

[NEW] ว่างงาน-ตกงาน ประกันสังคม แจ้งขั้นตอนลงทะเบียนรับเงินชดเชย | สวัสดิการประกันสังคม – NATAVIGUIDES

สวัสดิการประกันสังคม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

ปี 2564 ประกันสังคมมอบของขวัญให้กับผู้ประกันตนกับ 4 สิทธิที่เพิ่มขึ้นและการลดอัตราการส่งเงินสมทบ


สนใจศึกษาข้อมูลประกันสังคมน่ารู้กับ SSO eservice \u0026 SSO Connect จะแนบลิงค์ไว้ให้นะคะ
SSO Connect แอพประกันสังคม กับ การติดตั้ง ลงทะเบียน และการใช้งาน
https://youtu.be/yVBTEMHfp30
การลงทะเบียนว่างงาน
https://youtu.be/JLNK82fRKNQ
การยื่นรับเงินชราภาพ
https://youtu.be/hJzSMDxylVM
คำนวณบำนาญชราภาพสำหรับผู้ประกันตนมาตรา 33,39 ด้วยสูตร excel ง่าย ๆ พร้อมให้โหลดไปใช้ฟรี ๆ
https://youtu.be/HPKQ6avisGU
การคำนวณฐานเงินเดือนย้อนหลัง 60 เดือน และอายุงานที่ส่งเงินประกันสังคม
https://youtu.be/AXfOIXXZ0k
เมื่อต้องออกจากงานตอนอายุ50จะส่งต่อมาตรา39หรือหยุดส่งเงินสมทบ
https://youtu.be/unzgyNkwVlY
ขั้นตอนการเปลี่ยนสถานพยาบาลสำหรับผู้ประกันตน
https://youtu.be/vUNHVd7NR2s
ขั้นตอนการขอใบเสร็จประกันสังคมสำหรับผู้ประกันตนมาตรา 39
https://youtu.be/iAcSGmLnlw
7 สิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกันตนควรรู้และเมื่อไหร่ถึงใช้สิทธิได้
https://youtu.be/EgjntMyFZtM
ประกันสังคมเพิ่มสิทธิประโยชน์ จาก 40,000 บาทเป็น 50,000 บาท
https://youtu.be/lShQvwJeniI
3 ทางเลือกสำหรับผู้ประกอบอาชีพอิสระกับสวัสดิการรัฐด้านการประกันสังคม มาตรา 40 | ไอทีดีมีคำตอบ
https://youtu.be/i1ypsXCuZ4
ผู้ประกันตนเช็คสิทธิรับเงินเยียวยาเพิ่มคนละ 15,000 บาท ใครได้บ้างเช็คผ่าน 3 ช่องทางง่าย ๆ ด้วยตัวเอง
https://youtu.be/hmVvovVGBoE
3 สิ่งที่ผู้ประกันตนต้องรู้ เมื่อขึ้นทะเบียนว่างงานแล้ว แต่ไม่ได้รับเงิน
https://youtu.be/FvIUXS4Df4
วิธีคำนวณเงินว่างงานเมื่อถูกเลิกจ้างหรือลาออกจากงานสำหรับผู้ประกันตนมาตรา 33
https://youtu.be/kjuGyoMKw34
ประกันสังคมเพิ่มช่องทางตรวจสอบสิทธิรับเงินเยียวยา 15,000 บาท ด้วยตนเองผ่านเว็บไซต์ประกันสังคม
https://youtu.be/GoWoax9Z57w
ปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม
https://youtu.be/ZQ25wVET_34
การขอรับเงินสมทบคืนจากประกันสังคม
https://youtu.be/XTkhlGd0sXw
ผู้ประกันตนรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ฟรี ปีละครั้ง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
https://youtu.be/5gepjfwHoUg
ขึ้นทะเบียนว่างงานและรายงานตัวอย่างไร ให้รับเงินชดเชยว่างงานเต็มเดือน สูงสุด 10,500 บาทต่อเดือน
https://youtu.be/4YCn9VJ3LKQ
ยื่นว่างงานเกิน 30 วัน ได้รับเงินชดเชยว่างงานอย่างไร? จะเสียสิทธิอะไรไหม?
https://youtu.be/4JPjKO3bzBU
สามารถติดตามข้อมูลดีๆได้ที่นี่ เพียงกด ติดตาม!
พูดคุยกันได้ที่เพจ ไอทีดีมีคำตอบ It elearning 24hr นะคะ
https://www.facebook.com/pg/ITDmeekamtob
สิทธิประกันสังคมที่เพิ่มขึ้น ข่าวประกันสังคมล่าสุด ประกันสังคม2564 มติครม. covid19 สิทธิสงเคราะห์บุตร

ปี 2564 ประกันสังคมมอบของขวัญให้กับผู้ประกันตนกับ 4 สิทธิที่เพิ่มขึ้นและการลดอัตราการส่งเงินสมทบ

ทำประกันสังคมมาตรา 40 ไปเพื่ออะไร


ประกันสังคมมาตรา 40 เป็นอีก 1 ทางเลือกสำหรับผู้ที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตน ม.33 และ ม.39 แต่ความคุ้มครองอาจจะแตกต่างจากผู้ประกันตน 2 ประเภทดังกล่าว
คลิปนี้มีตารางสรุปสิทธิประโยชน์ทั้งหมดของการเป็นผู้ประกันตนตามมารตรา 40 มาให้ดูครับ
| บท/บรรยาย ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/
ฟังหนังสือเสียง ใน MEB ที่อ่านโดย ศราวุธ ชัยดี ได้ที่
https://www.mebmarket.com/index.php?action=search_book\u0026type=narrator\u0026search=%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B8%E0%B8%98%20%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%B5\u0026exact_keyword=1\u0026page_no=1

ทำประกันสังคมมาตรา 40 ไปเพื่ออะไร

ประกันสังคมมาตรา 33, 39 และ 40 กรณีบำเหน็จบำนาญ คุณคือใคร/Nathamon channel


1. กองทุนประกันสังคม จัดสรรปั่นส่วนเงินสมทบอย่างไร? เงินสมทบ 5% ที่เราจ่ายไปทุกๆเดือนนั้น จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่
1.1 แบ่งไว้ 1.5% กรณีเจ็บป่วย, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต และคลอดบุตร ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับสิทธิค่ารักษาพยาบาล
1.2 แบ่งไว้ 0.5 % เป็นเงินชดเชยรายได้ช่วงว่างงาน
1.3 แบ่งไว้ 3 % เป็นเงินสมทบกรณีชราภาพและสงเคราะห์บุตร ซึ่งเงินบำเหน็จ+บำนาญชราภาพที่เราได้ยินกันจนเป็นที่คุ้นชินก็อยู่ในส่วนที่ 3 นี้
2. เงินบำเหน็จ+บำนาญชราภาพ ใครมีสิทธิได้รับบ้าง? ผู้ประกันตนทั้ง 3 มาตรา ได้แก่ มาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ในทางเลือกที่ 2 จ่ายเงิน 100 บาท/เดือน และ ทางเลือกที่ 3 จ่ายเงิน 100 บาท/เดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์นี้ ส่วนจะได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและระยะเวลาการส่งเงินสมทบ
3. เงินบำเหน็จหรือบำนาญ จะได้ตอนไหน ? (ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการรับสิทธิประโยชน์)
3.1 กรณีที่จะได้รับเงินบำเหน็จ (รับเงินเป็นก้อนครั้งเดียว) สำหรับมาตรา 33 และ39 เงื่อนไขมีอยู่ว่า
1) มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์
2) ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง หรือเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
3) จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน
ส่วนมาตรา 40 นั้นมีเงื่อนไขอยู่ 2 ข้อนะคะ ก็คืออายุต้องครบ 60 ปีบริบูรณ์และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง 4. สิ่งที่จะบอกได้ว่าตัวเราจะได้รับเป็นบำเหน็จหรือบำนาญ ก็จะมีรายละเอียดย่อยๆ ประมาณ 4 ประเด็น
4.1 กรณีที่จะได้รับเป็นบำเหน็จ มีรายละเอียด อยู่ 2 ประเด็น คือ
1) ส่งเงินสมทบต่ำกว่า 1 ปี (111 ด.) =ได้รับเงินสมทบเฉพาะในส่วนที่เราส่งไป ส่วนใหญ่ก็จะเป็นกลุ่มผู้ประกันตนในมาตรา 33
2) ส่งเงินสมทบตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป (12 – 179 ด.) = ได้รับเงิน 3 ส่วน คือ เงินสมทบของตนเอง+เงินสมทบของนายจ้าง+ผลประโยชน์ตอบแทนจากประกันสังคม ในประเด็นนี้ก็มีทั้งผู้ประกันตนในมาตรา 33 และ39
4.2 กรณีที่จะได้รับเป็นบำนาญ ซึ่งมีทั้งผู้ประกันตนในมาตรา 33 และ39
1) ส่งเงินสมทบครบ 15 ปีหรือ(180 เดือน)พอดี = ได้เงินรายเดือนในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย+เงินสมทบของนายจ้าง+ผลประโยชน์ตอบแทน โดยมาตรา33 ฐานเงินเดือนที่ใช้คำนวณอยู่ที่ 15,000 บาท ส่วนมาตรา39 คำนวณที่ฐานเงินเดือน 48,00 บาท
2) ส่งเงินสมทบเกิน 15 ปี (เกิน 180 เดือน) = ได้เงินเช่นเดียวกันกับประเด็นที่ส่งเงินสมทบครบ 15 ปี+(จำนวนปีที่จ่ายเงินสมทบเกินคูณด้วย 1.5% แล้วค่อยเอาค่าที่ได้ไปคูณฐานเงินเดือน ก็จะได้จำนวนเงินบำนาญที่ได้รับแต่ละเดือนออกมา
5. สำหรับมาตรา 40 นั้นนะคะ จะได้รับเฉพาะบำเหน็จ
ทางเลือก 1. ไม่คุ้มครอง
ทางเลือก 2. =(50×จำนวนเดือน) +เงินออมเพิ่มถ้ามี+ผลประโยชน์ตอบแทนจากประกันสังคม
ทางเลือก 3. =(150×จำนวนเดือน) +เงินออมเพิ่มถ้ามี+ผลประโยชน์ตอบแทนจากประกันสังคม
ประกันสังคมบำเหน็จบำนาญชราภาพ

ประกันสังคมมาตรา 33, 39 และ 40 กรณีบำเหน็จบำนาญ คุณคือใคร/Nathamon channel

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?


การประกันสังคม มาตรา 33 มีหลายคนสงสัยว่า มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงานในกรณีนี้ ประกันสังคม จ่ายยังไง ผู้ประกันตนหลายคน มีข้อสงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์กรณีต่าง ๆ ที่จะได้รับจากกองทุนประกันสังคมเป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือ ผู้ประกันตนมาตรา 33 คืออะไร?
ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือ ลูกจ้างผู้ทำงานให้กับนายจ้างที่อยู่ในสถานประกอบการ หรือพนักงานเอกชนผู้ประกันตนมาตรา 33 จะได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ดังนี้
1. กรณีเจ็บป่วย 1.1. กรณีเจ็บป่วยปกติเมื่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ หรือเครือข่ายของสถานพยาบาลนั้น ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆหากหมดสิทธิได้รับค่าจ้างจากนายจ้างในวันลาป่วยตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานแล้ว จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของคึ่าจ้างจริง สูงสุดแต่ไม่เกิน 15,000 บาท ไม่เกิน 90 วันต่อครั้ง และไม่เกิน 180 วันต่อปีเว้นแต่ ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ ไม่เกิน 365 วัน (กรณีป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เมื่อเสียชีวิตจะได้รับค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์กรณีตายเช่นเดียวกับกรณีตาย)
1.2. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินถ้าเข้ารับรักษากับสถานพยาบาลที่ไม่ใช่สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิหรือเครือข่าย จะได้รับค่าบริการทางการแพทย์อย่างไร? กรณีผู้ประกันตนได้สำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน สามารถเบิกคืนจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราที่กำหนด ดังนี้ เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ไม่ว่าจะประสบอันตราหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ขอรับค่าบริการทางการแพทย์ได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ตามรายละเอียดดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นผู้ป่วยใน เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นภายในระยะเวลาไม่เกิน 72 ชั่วโมงยกเว้น ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชน ทั้งประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถเบิกได้ดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงเกิน 1,000 บาทได้ ถ้ามีการตรวจรักษาตามรายการในประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ดังนี้ การให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด การฉีดสารต่อต้านพิษจากเชื้อบาดทะยัก การฉีดวัคซีนหรือเซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนักบ้า (เฉพาะเข็มแรก) การตรวจอัลตร้าซาวด์กรณีที่มีภาวะฉุกเฉินเฉียบพลันในช่องท้อง การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI จ่ายตามเงื่อนไขที่กำหนด การขูดมดลูกกรณีตกเลือดหลังคลอด หรือตกเลือดจากการแท้งบุตร ค่าฟื้นคืนชีพ และกรณีที่มีการสังเกตอาการในห้องสังเกตอาการตั้งแต่ 3 ชั่วโมงขึ้นไปผู้ป่วยใน ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่ไม่ได้รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 2,000 บาท ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 4,500 บาท กรณีที่มีความจำเป็นต้องผ่าตัดใหญ่เบิกได้ไม่เกินครั้งละ 8,00016,000 บาท ตามระยะเวลาการผ่าตัด ค่าฟื้นคืนชีพรวมค่ายา และอุปกรณ์เบิกได้ไม่เกิน 4,000 บาท ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหรือเอกซเรย์ เบิกได้ไม่เกินรายละ 1,000 บาท กรณีมีความจำเป็นต้องตรวจวินิจฉัยพิเศษ ได้แก่ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง, การตรวจคลื่นสมอง และการตรวจอัลตร้าซาวด์ตามประกาศ การสวนเส้นเลือดหัวใจและเอกซเรย์, การส่องกล้อง, การตรวจด้วยการฉีดสี, การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI ตามประกาศ

1.3. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต สามารถเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลเอกชนที่ใกล้เคียงได้ทุกแห่ง โดยไม่ต้องสำรองค่าใช้จ่าย สำนักงานประกันสังคมจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการรักษาผู้ประกันตนจนพ้นภาวะวิกฤตให้แก่สถานพยาบาลที่รักษาภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง โดยนับรวมวันหยุดราชการ และกรณีที่ผู้ประกันตนได้รับบริการทางการแพทย์จนพ้นภาวะวิกฤตแล้ว จะส่งตัวไปเข้ารับการรักษาต่อ ณ สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์การบำบัดโรคกรณีสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะบางส่วนได้ตามความจำเป็นตามหลักเกณฑ์ และอัตราที่ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ กำหนด

 1.4. กรณีทันตกรรม จะได้รับสิทธิอะไรบ้าง?กรณีถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และผ่าตัดฟันคุด ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 900 บาทต่อปี ในกรณีที่ผู้ประกันตนเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลที่ทำความตกลงกับสำนักงานให้ผู้ประกันตนจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้กับสถานพยาบาล เฉพาะส่วนเกินจากสิทธิที่ได้รับกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน ได้รับค่าบริการทางการแพทย์ และค่าฟันเทียมเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้1) 15 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,300 บาท2) มากกว่า 5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,500 บาทกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปาก ได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ดังนี้1) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,400 บาท2) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท2. กรณีคลอดบุตรได้สิทธิได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ดังนี้

อ่านต่อในคอมเม้นท์นะครับ

มาตรา33ประกันสังคม ประกันสังคมมาตรา33 สิทธิประโยชน์ประกันสังคม

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สวัสดิการประกันสังคม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *