คํานามพหูพจน์: คุณกำลังดูกระทู้
Post on 16 / 02 / 20
2.1K viewed
ในบทความที่แล้ว เราได้อธิบายเรื่องคำนามเอกพจน์ และ คำนามพหูพจน์ไปแล้ว พร้อมทั้งติดค้างเรื่องหลักการการเปลี่ยน “คำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์” ในบทความนี้จึงจะมาเริ่มอธิบายหลักการให้ฟังดังนี้
พจน์ แปลว่า คำพูด/ถ้อยคำ | เอก แปลว่า หนึ่ง | พหู แปลว่า หลาย
การเปลี่ยน “คำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์”
การเปลี่ยนจาก คำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์นั้น จะมีนิยามสรุปต่าง ๆ กันไป ณ ที่นี้เราจะขอสรุปแบบยาว ๆ ให้ดูกันเลยว่ามีอยู่ทั้งหมด 12 ข้อ
แต่เดี๋ยวก่อนถ้าต้องการรู้เลยว่า คำนามเอกพจน์ไหน จะเปลี่ยนร่างเป็นคำนามพหูพจน์ยังไง โดยไม่มีเวลาไล่อ่านหลักการ เราแนะนำแน่เลย เครื่องมือช่วยเปลี่ยน คำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์ หากมีเวลาและอยากเข้าใจหลักการแบบละเอียด ก็อ่านได้ตามด้านล่างกันเลย
1. โดยทั่วไปเติม s หลังนามเอกพจน์ เช่น
Singular
Plural
Singular
Plural
apple ( แอปเปิล )
apples
stamp ( แสตมป์ )
stamps
comb ( หวี )
combs
face (หน้า )
faces
computer ( คอมพิวเตอร์ )
computers
2. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย s, ss, sh, ch, x, z ให้เติม es เช่น
Singular
Plural
Singular
Plural
glass ( แก้ว )
glasses
dish ( จาน )
dishes
bus ( รถประจำทาง )
buses
box ( กล่อง )
boxes
church ( โบสถ์ )
churches
quiz ( การสอบสั้นๆ )
quizes
3. คำนามที่ลงท้ายด้วย o และหน้า o เป็นพยัญชนะ เติม es เช่น
Singular
Plural
Singular
Plural
tomato ( มันฝรั่ง )
tomatoes
echo ( เสียงก้อง )
echoes
potato ( มันฝรั่ง )
potatoes
torpedo ( ตอร์ปิโด )
torpedoes
hero ( วีรบุรุษ )
heroes
ข้อยกเว้น คำนามที่ลงท้ายด้วย o บางคำที่ข้างหน้าเป็นสระหรือพยัญชนะ เติม s เช่น
Singular
Plural
Singular
Plural
auto (รถยนต์ )
autos
casino ( บ่อนการพนัน )
casinos
bamboo ( ไม้ไผ่ )
bamboos
piano ( เปียโน )
pianos
studio (ห้องสตูดิโอ )
studios
tobacco ( ยาสูบ )
tobaccos
kangaroo ( จิงโจ้ )
kangaroos
kilo ( กิโล )
kilos
ข้อยกเว้น นามที่ลงท้ายด้วย o บางคำจะเติม s หรือ es ได้ทั้งสองอย่าง
Singular
Plural
Singular
Plural
cargo ( สินค้า )
cargos,cargoes
buffalo ( ควาย )
buffalos, buffaloes
mango ( มะม่วง)
mangos,mangoes
motto ( ภาษิตประจำใจ )
mottos,mottoes
mosquito ( ยุง )
mosquitos, mosquitoes
zero ( เลขศูนย์ )
zeros, zeroes
4. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es เช่น
Singular
Plural
Singular
Plural
army ( กองทัพ )
armies
lady ( สุภาพสตรี )
ladies
family ( ครอบครัว )
families
library ( ห้องสมุด )
libraries
baby ( เด็ก )
babies
ถ้าหน้า y เป็นสระ ให้เติมเพียง s
Singular
Plural
Singular
Plural
toy ( ของเล่น )
boy ( เด็กชาย )
key ( กุญแจ )
day ( วัน )toys
boys
keys
daysmonkey ( ลิง )
storey ( ชั้น )
valley ( หุบเขา )monkeys
storeys
valleys
5. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe เปลี่ยนให้เป็น v แล้วเติม es เช่น
Singular
Plural
Singular
Plural
calf ( ลูกวัว)
calves
wolf ( หมาป่า )
wolves
thief ( ขโมย )
thieves
life ( ชีวิต )
lives
knife ( มีด )
knives
wife ( ภรรยา )
wives
half ( ครึ่ง )
halves
ยกเว้นคำต่อไปนี้เติม s เท่านั้น
Singular
Plural
Singular
Plural
belief ( ความเชื่อถือ)
beliefs
dwarf ( คนแคระ )
dwarfs
brief ( สำนวนคดีความ )
briefs
grief ( ความเศร้าโศก )
griefs
chef ( หัวหน้าพ่อครัว )
chefs
gulf ( อ่าว )
gulfs
chief ( หัวหน้า)
chiefs
reef (หินโสโครก )
reefs
cliff ( หน้าผา )
cliffs
safe ( ตุ้นิรภัย)
safes
คำต่อไปนี้ทำได้ 2 แบบคือ
Singular
Plural
Singular
Plural
scarf ( ผ้าพันคอ )
scarfs,scarves
roof ( หลังคา )
roofs,rooves
staff (คณะบุคคล )
staffs,staves
wharf (ท่าเรือ )
wharfs ,wharves
6. ทำเป็นนามพหุพจน์โดยเปลี่ยนภายในคำ
Singular
Plural
Singular
Plural
goose ( ห่าน )
geese
man ( ผู้ชาย )
men
louse ( เหา,หมัด )
lice
woman (ผู้หญิง )
women
mouse ( หนู )
mice
ox ( วัว )
oxen
foot ( เท้า )
feet
child ( เด็ก )
children
tooth ( ฟัน )
teeth
7. คำต่อไปนี้เหมือนกันทั้งรูปพหูพจน์ และ เอกพจน์
Singular &
PluralSingular &
PluralSingular &
PluralSingular &
Pluralaircraft ( เครื่องบิน )
herring ( ปลาเฮอริง )
deer ( กวาง )
species ( ชนิด )
carp ( ปลาคาร์พ )
salmon ( ปลาซาลมอน )
bison ( วัวกระทิง )
corps ( กองร้อย )
fish ( ปลา )
mackerel ( ปลาแมคเคอเรล )
shellfish( สัตว์น้ำที่มีเปลือก )
series ( ชุด )
sheep ( แกะ )
trout ( ปลาเทร้า )
barracks ( โรงเรือนทหาร )
8. คำนามต่อไปนี้มีรูปพหูพจน์แต่ใช้อย่างเอกพจน์
economics (วิชา เศรษฐศาสตร์ )
civics ( วิชาหน้าที่พลเมือง )
works ( โรงงาน ผลงาน )
ethics (วิชาศีลธรรม)
mumps ( คางทูม)
news ( ข่าว )
mathematics ( คณิตศาสตร์ )
teens ( คนวัย 13 – 19 ปี )
ashes ( ขี้เถ้า )
mechanics ( กลสาสตร์ )
twenties ( คนวัย 20-29 )
measles ( หัด )
politics ( การเมือง )
thirties ( คนวัย 30 – 39 )
tactics ( กลยุทธ )
sciences ( วิทยาศาสตร์ )
headquarters ( สำนักงานใหญ่)
means ( วิธี )
statistics (วิชาสถิติ )
whereabouts ( ที่อยู่ )
เช่น Mathematics is my favorite subject.
Measles is still a fairly serious childhood disease in some countries.
9. คำนามต่อไปนี้มีรูปพหูพจน์และใช้อย่างความหมายพหูพจน์ เช่น
arms ( อาวุธ )
pajamas ( ชุดนอน )
thanks ( ความขอบคุณ )
assets (ทรัพย์สิน )
scissors ( กรรไกร )
shorts ( กางเกงขาสั้น )
auspices ( ฤกษ์ )
drawers ( ลิ้นชัก )
wages ( ค่าจ้าง )
biceps ( กล้ามเนื้อแขน )
sheers ( กรรไกรยาว )
intestines ( ลำใส้ใหญ่ )
clothes ( เสื้อผ้า )
suds ( ฟองสบู่ )
goods ( สินค้า )
contents ( สารบัญ )
spectacles ( แว่นตา )
eyeglasses ( แว่นตา )
customs ( ภาษีศุลกากร )
earnings ( รายได้ )
trousers,pants ( กางเกง )
jeans ( กางเกงจีนส์ )
binoculars ( กล้องส่องทางไกล )
sandals ( รองเท้าแตะ )
remains ( ซากที่เหลืออยู่ )
credentials ( หนังสือรับรอง )
เช่น My trousers are too long.
The company’s earings have increased for the last five years.
10. นามต่อไปนี้มีรูปเป็นเอกพจน์ แต่ใช้ในความหมายพหูพจน์
people( ประชาชน )
cattle ( ปศุสัตว์ )
youth ( คนหนุ่มสาว )
police ( ตำรวจ )
majority ( คนส่วนมาก )
swine ( สัตว์พันธุ์หมู รวมทั้งหมูป่า)
poultry ( สัตว์ปีก )
minority ( คนส่วนน้อย )
clergy ( พระฝรั่ง )
offspring ( ลูก )
เช่น They are nice people.
The police are looking for the Olympic Park bomber.
11. นามต่อไปนี้ เมื่อเป็นเอกพจน์มีความหมายอย่างหนึ่ง และเมื่อเป็นพหูพจน์มีความหมายอีกอย่างหนึ่ง
Singular
Plural
advice ( คำแนะนำ )
advices ( รายงาน )
air ( อากาศ )
airs (การวางท่าหยิ่ง )
color ( สี )
colors ( ธงประจำกองทหาร ธงชาติ )
compass ( เข็มทิศ )
compasses ( วงเวียน )
content ( ความพอใจ )
contents ( สารบัญ )
copper ( ทองแดง )
coppers ( เหรียญทองแดง )
custom ( ธรรมเนียม ประเพณี )
customs ( ศุลกากร )
draught ( กระแสลม )
draughts ( หมากรุกฝรั่ง )
dump (ที่ทิ้งขยะ )
dumps ( ความหดหู่ )
effect ( ผลกระทบ )
effects ( ทรัพย์สิน )
force ( อิทธิพล )
forces ( กองทัพ )
good ( ดี )
goods ( สินค้า )
ground ( ดิน )
grounds ( เหตุผล )
iron ( เหล็ก )
irons ( โซ่ตรวน )
manner ( วิธี อาการ)
manners ( มารยาท )
minute ( นาที )
minutes ( รายงานการประชุม )
physic ( ยา )
physics ( วิชาฟิสิกส์ )
quarter ( หนึ่งในสี่ )
quarters ( ที่อยู่อาศัย )
return ( การกลับ )
returns ( ผลกำไร ผลตอบแทน )
sand ( ทราย )
sands ( หาดทราย )
spirit ( น้ำใจนักกีฬา,วิญญาณ )
spirits ( เหล้า ปีศาจ )
water ( น้ำ )
waters ( แหล่งน้ำ น่านน้ำ )
work ( งาน ผลงาน )
works ( โรงงาน )
12. คำนามที่มาจากภาษาอื่น ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาใช้
Singular
Plural
มาจากภาษาลาติน เช่น
agendum (ระเบียบวาระ )
agenda
alumnus ( ศิษย์เก่าชาย )
alumni
appendix (ไส้ติ่ง,ภาคผนวก )
appendixes ( ไส้ติ่ง )
appendices ( ภาคผนวก )
bacterium ( แบคทีเรีย )
bacteria
curriculum ( หลักสูตร )
curricula
fungus ( รา )
fungi
focus ( จุดรวม )
foci, focuses
genius ( อัจฉริยะ )
genii
index ( ดรรชนี เลขชี้กำลัง)
indexes ( ดรรชนี ) fungi
matrix ( เบ้าแบบ )
matrices
maximum ( มากที่สุด )
indices ( เลขชี้กำลัง )maxima
medium ( สื่อ )
media ( สื่อมวลชน )
mediums ( ตัวกลาง )
memorandum ( บันทึกช่วยจำ )
memoranda
ovum ( รังไข่ )
ova
radius ( รัศมี )
radii
spectrum ( แสงสเปคตรัม )
spectra
มาจากภาษากรีก เช่น
axis ( แกน )
axes
analysis ( บทวิเคราะห์ )
analyses
basis ( หลักเกณฑ์ )
bases
crisis ( วิกฤตการณ์ )
crises
criterion ( สิ่งที่เป็นเกณฑ์ )
criteria
diagnosis ( ข้อวินิจฉัย)
diagnoses
parenthesis ( วงเล็บ)
parentheses
phenomenon ( ปรากฏการณ์ )
phenomena
hypothesis ( สมมุติฐาน )
hypotheses
synthesis ( บทสังเคราะห์ )
syntheses
synopsis ( บทสรุป )
synopses
[Update] หลักการเติม s และ es หลังคำนาม พร้อมตัวอย่าง | คํานามพหูพจน์ – NATAVIGUIDES
ในภาษาอังกฤษ การเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ เรามักจะเติม s หรือ es ต่อท้าย อย่างเช่น boy เป็น boys, cat เป็น cats, dish เป็น dishes
แต่ก็มีบางคำที่ต้องเปลี่ยนตัวอักษรก่อนแล้วค่อยเติม es อย่างเช่น candy เป็น candies, fly เป็น flies หรือบางคำก็เปลี่ยนตัวอักษรอย่างเดียว โดยที่ไม่ต้องเติม s หรือ es อย่างเช่น foot เป็น feet, man เป็น men
จากที่เขียนมานี้ หลายๆคนก็คงสงสัยว่า แล้วเราจะรู้ได้ยังไง ว่าคำไหนต้องใช้รูปพหูพจน์แบบไหน
สำหรับใครที่ยังไม่รู้ก็ขอให้วางใจได้ เพราะในบทความนี้ ชิววี่ได้เรียบเรียงเนื้อหาเกี่ยวกับกฏการเติม s และ es หลังคำนาม มาให้ได้เรียนรู้กันแบบง่ายๆแล้ว ถ้าเพื่อนๆพร้อมแล้ว เราไปดูกันเลย
ทบทวนความรู้
คำนามเอกพจน์ คือคำนามที่แสดงถึงสิ่งที่มีจำนวนหนึ่งหน่วย ซึ่งก็คือคำนามรูปปกติทั่วไป เช่น friend, pen, bus, foot, ox
คำนามพหูพจน์ คือคำนามที่แสดงถึงสิ่งที่มีจำนวนตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไป มักจะเป็นคำนามรูปที่เติม s หรือ es ต่อท้าย เช่น friends, pens, buses แต่ก็มีบางคำที่ใช้การเปลี่ยนหรือเติมตัวอักษรอื่นแทน เช่น feet, oxen
หลักการเติม s และ es หลังคำนาม
การเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ หลักๆแล้วจะแบ่งได้เป็น 5 แบบ คือ
- เติม s ได้เลย เช่น cat เป็น cats, girl เป็น girls
- เติม es ได้เลย เช่น dish เป็น dishes, potato เป็น potatoes
- เปลี่ยนตัวอักษรท้ายคำแล้วค่อยเติม es เช่น wolf เป็น wolves, enemy เป็น enemies
- เปลี่ยนหรือเพิ่มตัวอักษรบางตัวหรือเปลี่ยนทั้งคำ เช่น tooth เป็น teeth, ox เป็น oxen, person เป็น people
- บางคำก็ใช้รูปพหูพจน์เหมือนเอกพจน์ เช่น deer, sheep
ซึ่งถ้าเจาะรายละเอียด จะแบ่งได้เป็นหลักการ 10 ข้อดังนี้
1. คำนามทั่วไปเติม s ต่อท้ายได้เลย
คำนามที่ไม่เข้าข่ายหลักการข้ออื่น เราสามารถเติม s ต่อท้ายตรงๆได้เลย ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAntAntsมดBookBooksหนังสือGirlGirlsเด็กผู้หญิงHouseHousesบ้านTableTablesโต๊ะ, ตารางTreeTreesต้นไม้
2. คำนามที่ลงท้ายด้วย s, ss, sh, ch, x หรือ z ให้เติม es ต่อท้าย
คำนามที่ลงท้ายด้วย s, ss, sh, ch, x หรือ z เราจะต้องเติม es ต่อท้ายแทน s ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBusBusesรถโดยสารประจำทางLensLensesเลนส์ClassClassesชั้นเรียน, คาบเรียนDressDressesชุดเดรสBrushBrushesแปรงDishDishesจานBeachBeachesชายหาดWatchWatchesนาฬิกาBoxBoxesกล่องFoxFoxesสุนัขจิ้งจอกBlitzBlitzesการโจมตีแบบสายฟ้าแลบBuzzBuzzesความรู้สึกตื่นเต้น, เสียงหึ่ง เช่น เสียงผึ้ง
3. คำนามบางคำที่ลงท้ายด้วย s หรือ z ต้องซ้ำ s หรือ z แล้วค่อยเติม es
คำนามที่ลงท้ายด้วย s หรือ z ปกติแล้วจะเติม es ได้เลย แต่ก็มีบางคำที่เราจะต้องซ้ำ s หรือ z ก่อน แล้วค่อยเติม es ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายGasGassesแก๊สQuizQuizzesแบบทดสอบWhizWhizzesผู้มากความสามารถในบางด้าน
4. คำนามที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe ให้เปลี่ยน f หรือ fe เป็น v แล้วค่อยเติม es
คำนามที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe เราจะเปลี่ยน f หรือ fe เป็น v ก่อน แล้วค่อยเติม es ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายLeafLeavesใบไม้ShelfShelvesชั้นวางของWolfWolvesหมาป่าKnifeKnivesมีดLifeLivesชีวิตWifeWivesภรรยา
แต่บางคำที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe ก็จะเติม s โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยน f หรือ fe เป็น v
คำพวกนี้ส่วนใหญ่มักจะเป็นคำที่หน้า f เป็นสระ 2 ตัวติดกัน (a, e, i, o, u) แต่บางคำก็ไม่ใช่ อย่างเช่น chef, safe
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBeliefBeliefsความเชื่อChefChefsเชฟทำอาหารProofProofsหลักฐานReefReefsแนวหินโสโครกใต้ทะเลRoofRoofsหลังคาSafeSafesตู้เซฟ
5. คำนามที่ลงท้ายด้วย y ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es ยกเว้นถ้าหน้า y เป็นสระ (a, e, i, o, u) ให้เติม s ได้เลย
คำนามที่ลงท้ายด้วย y เราจะเปลี่ยน y เป็น i แล้วค่อยเติม es ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBabyBabiesเด็กทารกCityCitiesเมืองขนาดใหญ่EnemyEnemiesศัตรูFlyFliesแมลงวันLibraryLibrariesห้องสมุดPuppyPuppiesลูกสุนัข
แต่ถ้าหน้า y เป็นสระ (a, e, i, o, u) เราจะเติม s ได้เลย
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBoyBoysเด็กผู้ชายDayDaysวันMonkeyMonkeysลิงToyToysของเล่นTrayTraysถาดWayWaysหนทาง, วิธี
6. คำนามที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es
คำนามที่ลงท้ายด้วย o เราจะเติม es ต่อท้าย ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายDominoDominoesโดมิโน่EchoEchoesเสียงสะท้อนHeroHeroesฮีโร่MosquitoMosquitoesยุงPotatoPotatoesมันฝรั่งTomatoTomatoesมะเขือเทศ
แต่ก็มีบางคำที่ใช้การเติม s แทน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคำที่หน้า o เป็นสระ (a, e, i, o, u) แต่บางคำก็ไม่ใช่ อย่างเช่น piano
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAudioAudiosเสียงBambooBamboosต้นไผ่, ไม้ไผ่PianoPianosเปียโนStudioStudiosสตูดิโอVideoVideosวิดีโอZooZoosสวนสัตว์
นอกจากนี้ ยังมีบางคำที่สามารถเติมได้ทั้ง s และ es คือใช้ได้ทั้ง 2 แบบเลย อย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBuffalo*Buffalos
BuffaloesควายCargoCargos
Cargoesสินค้าที่บรรทุกโดยยานพาหนะขนาดใหญ่ เช่น เรือ เครื่องบินMangoMangos
Mangoesมะม่วงMottoMottos
Mottoesคติพจน์TornadoTornados
Tornadoesพายุทอร์นาโดVolcanoVolcanos
Volcanoesภูเขาไฟ
*คำว่า buffalo สามารถใช้รูปพหูพจน์ได้หลายแบบ ทั้ง buffalos (แบบเติม s), buffaloes (แบบเติม es) และ buffalo (เหมือนรูปเอกพจน์)
7. คำนามที่มาจากภาษาอื่น บางคำจะมีรูปพหูพจน์เฉพาะ
คำนามที่มาจากภาษากรีกที่ลงท้ายด้วย sis เมื่อเป็นรูปพหูพจน์ เราจะเปลี่ยนให้เป็น ses ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAnalysisAnalysesการวิเคราะห์, ผลวิเคราะห์BasisBasesหลักสำคัญ, ส่วนประกอบหลักCrisisCrisesช่วงวิกฤติNeurosisNeurosesโรคประสาทOasisOasesโอเอซิส, แหล่งน้ำกลางทะเลทรายThesisThesesวิทยานิพนธ์
คำนามที่มาจากภาษาลาตินที่ลงท้ายด้วย us เราจะเปลี่ยนให้เป็น i ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAlumnusAlumniศิษย์เก่าCactusCacti (หรือ cactuses)ต้นกระบองเพชรFungusFungiเห็ด, เชื้อรา
แต่คำที่มาจากภาษาอื่นบางคำก็ใช้รูปพหูพจน์ได้หลายแบบ อย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAppendixAppendices
AppendixesภาคผนวกCactusCacti
Cactusesต้นกระบองเพชรCurriculumCurricula
CurriculumsหลักสูตรFormulaFormulae
Formulasสูตร เช่น สูตรคณิตฯStadiumStadia
Stadiumsสนามกีฬาขนาดใหญ่ThesaurusThesauri
Thesaurusesพจนานุกรมคำพ้อง
นอกจากตัวอย่างเหล่านี้แล้ว ยังมีคำต่างประเทศลักษณะอื่นอีก ที่มีรูปพหูพจน์เฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นคำที่พบเจอได้ไม่บ่อย หรือไม่ก็เป็นคำที่มักจะใช้รูปพหูพจน์เป็นปกติอยู่แล้ว (เช่น data, criteria ซึ่งเป็นรูปพหูพจน์ของ datum และ criterion ตามลำดับ)
8. คำนามบางคำใช้การเปลี่ยนหรือเติมตัวอักษรบางตัว โดยที่ไม่ต้องเติม s หรือ es
คำนามบางคำจะใช้การเปลี่ยนตัวอักษรที่เป็นสระ (a, e, i, o, u) เช่น เปลี่ยนจาก o เป็น e หรือเปลี่ยนจาก a เป็น e ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายFiremanFiremenพนักงานดับเพลิงFootFeetเท้าGooseGeeseห่านManMenผู้ชายToothTeethฟันWomanWomenผู้หญิง
และบางคำก็ใช้การเติมตัวอักษรอื่นที่ไม่ใช่ s หรือ es อย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายChildChildrenเด็กOxOxenวัว
9. คำนามบางคำจะเปลี่ยนแทบทั้งคำ โดยที่ไม่ได้เติม s หรือ es
คำนามบางคำจะมีรูปพหูพจน์ที่แตกต่างจากเดิมมาก เหมือนเป็นคนละคำกันเลย ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายMouseMiceหนูPersonPeopleคน
10. คำนามบางคำมีรูปเอกพจน์และพหูพจน์เหมือนกัน
คำนามบางคำจะมีรูปเอกพจน์และพหูพจน์เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น
เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAircraftAircraftอากาศยานDeerDeerกวางDiceDiceลูกเต๋าFish*FishปลาSheepSheepแกะSpeciesSpeciesสายพันธุ์
*คำว่า fish จริงๆแล้วมีรูปพหูพจน์ 2 แบบ คือ fish และ fishes แต่ในกรณีทั่วไป เช่นการบอกว่ามีปลาหลายตัว เราจะนิยมใช้ fish มากกว่า ส่วน fishes นั้นมักจะใช้เมื่อพูดถึงปลาหลายๆสายพันธุ์
เป็นยังไงบ้างครับกับกฏการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ ทีนี้เพื่อนๆก็คงจะเข้าใจและสามารถเปลี่ยนพจน์ของคำนามได้ถูกต้องมากขึ้นแล้วนะครับ
อย่าลืมนะครับ ภาษาอังกฤษยิ่งเรียนรู้ ยิ่งฝึก ก็ยิ่งเก่ง สำหรับบทความนี้ ชิววี่ต้องขอตัวลาไปก่อน See you next time
คำนามเอกพจน์ และ คำนามพหูพจน์ | พิชิตอังกฤษใน 10 นาที
ฝากกดไลค์ กดแชร์ กด subscribe เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะครับ
BG music: Afternoon Tea (extended) by Mona Wonderlick
https://soundcloud.com/monawonderlick
Creative Commons — Attribution 3.0 Unported — CC BY 3.0
Free Download / Stream: https://bit.ly/3el4H54
Music promoted by Audio Library https://youtu.be/Qe9RP9q535s
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
Easy English – Lesson 17.1 การทำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ การเติม s,es,ies ตอน 1
รายการ Easy English เรียนภาษาอังกฤษ สนุก ง่าย กว่าที่คิด
playlist :
https://www.youtube.com/playlist?list…
คำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์
Grammar ไม่น่าเบื่อ EP06 : คำนามเอกพจน์และพหูพจน์
เล่า Grammar แบบเข้าใจง่าย ไม่น่าเบื่อ ได้ฝึกฝนจริงจัง
ติดตามผลงานอื่นๆ ของทีมเราได้ที่
http://www.proudbookshop.com
IG : https://www.instagram.com/proudbook
Facebook : https://www.facebook.com/proudbook
twitter : https://www.twitter.com/proudbook
(คลิปเต็ม) กกต. จ่อคัดคำวินิจฉัยศาล รธน. ประกอบพิจารณายุบพรรค | ฟังหูไว้หู (11 พ.ย. 64)
ฟังหูไว้หู | 11 พ.ย. 64 On Air
จับตาเศรษฐกิจสหรัฐฯ เงินเฟ้อพุ่ง , เปิดลงทะเบียนฉีดวัคซีนเข็ม 3 , 10 วัน ต่างชาติเข้าไทย 3 หมื่น คนติดโควิด 35 คน , กกต. จ่อคัดคำวินิจฉัยศาล รธน. ประกอบพิจารณายุบพรรค , เว็บศาลรัฐธรรมนูญถูกแฮก เปลี่ยนชื่อเว็บ ขึ้นเพลงความหมายลบ , เป้าหมายยุบพรค กำจัด \”ก้าวไกล เพื่อไทย\” , ไทยฉีดวัคซีนได้เร็วกว่าแผน คาดทะลุ 100 ล้านโดส ก่อนสิ้นปี
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE
ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ คํานามพหูพจน์