วิธีแก้เปิดโปรแกรมโอนย้าย/โปรแกรมยื่นแบบผ่านเน็ต,บันทึกข้อมูลใบแนบ ภงด.1,353,ภพ.30 ไม่ได้
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
คลิปนี้เป็นวิธีการแก้ไขให้เปิดใช้งานโปรแกรมยื่นแบบภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายของกรมสรรพากรให้ใช้งานได้ตามปกติ เหมาะสำหรับหน่วยงาน บริษัท ห้างร้านที่ได้ทำการดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรมยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ตของกรมสรรพากรแล้ว ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมโอนย้ายข้อมูลใบแนบ ภ.ง.ด.1, ภ.ง.ด.3,ภ.ง.ด.53 หรือโปรแกรมบันทึกข้อมูลใบแนบ ภ.ง.ด.1, ภ.ง.ด.3,ภ.ง.ด.53 ,ภพ.30 แล้วแต่ไม่สามารถเปิดใช้งานโปรแกรมได้
……………………………………………………….
สามารถพูดคุย แนะนำ ติดตาม และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้
Facebook : https://www.facebook.com/kalataxes
EP2.วิธีติดตั้งอัพโหลดไฟล์ ภงด1,ภงด3,ภงด53 กรมสรรพากร windowe 10 2020
LINK ดาวน์โหลดโปรแกรม ภงด1,3,53
https://rdserver.rd.go.th/publish/index.php?page=progdownload
LINK อัพพโหลด ภงด3
https://rdserver.rd.go.th/publish/index.php?page=taxonline\u0026type=pnd3
LINK อัพโหลด ภงด53
https://rdserver.rd.go.th/publish/index.php?page=taxonline\u0026type=pnd53
ดาวน์โหลดโปรแกรม AIMP 3 โปรแกรมฟังเพลงเมนูภาษาไทยตัวเต็มใช้งานได้ 100%
ดาวน์โหลดโปรแกรม AIMP 3 โปรแกรมฟังเพลงเมนูภาษาไทยตัวเต็มใช้งานได้ 100%
ลิ้งค์โหลดโปรแกรม
http://www.imomsmile.com/topic/33AIMP3%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9F%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B9%87%E0%B8%A1.html
ขอบคุณทุกๆท่าน ที่รับชมนะครับผม ขอบคุณมากมายครับ
ผิดพลาดประการใดต้อง ขออภัยด้วยนะครับถ้าชอบคลิปนี้ฝากกดไลท์กันเยอะๆด้วยนะครับ กดซับสไคร์เพื่อท่านจะได้เห็นคลิปใหม่ๆของช่องเราก่อนใครครับและกดกระดิ่งเพื่อเป็นการแจ้งเตือนไว้ด้วยนะครับ
คริปโต เสียภาษียังไง ? | มีกำไรจากการเทรด Bitcoin และ Cryptocurrency ต้องเสียภาษีหรือเปล่านะ ?
คริปโต เสียภาษียังไง ? เทรดที่ไหนต้องเสีย ภาษี บ้าง ถูกหักภาษีไว้ 15% คืออะไร หักแล้วจบเลยหรือเปล่า สรุปแล้วหลักการภาษีของบ้านเราเป็นอย่างไร พรี่หนอมวิเคราะห์และอธิบายให้ฟังในคลิปนี้ครับผม
สรุปประเด็นสั้น ๆ คือ
1. กรณีมีกำไรจากการเทรดในประเทศ กำไรต้องนำมาเสียภาษีในประเทศไทย แม้ว่าผู้จ่ายเงินได้จะหัก 15% หรือไม่ก็ไม่ใช่ประเด็น
2. กรณีมีกำไรจากการเทรดในต่างประเทศ หากเราเข้าเงื่อนไข 2 ข้อดังนี้ นั่นคือ ในปีไหนถ้าอยู่ในประเทศไทยรวมกันถึง 180 วัน และ ได้นำเงินได้ที่เกิดขึ้นในปีนั้น (กำไร) มาเข้าประเทศไทย ก็แปลว่าต้องเสียภาษีตามหลักการเดียวกันกับข้อ 1
อย่างไรก็ดี หลักการของการคิดกำไร ต้นทุน และอื่น ๆ ยังไม่ชัดเจนเช่นเดียวกัน
ส่วนกรณีอื่น ๆ ยังเป็นที่สงสัยว่าหลักการของกฎหมายจะคิดยังไงกับเรื่องภาษีบ้าง เช่น การ Staking Farming หรือ Miner สายขุด อันนี้ก็ต้องบอกกันตรงๆ ว่า สำหรับประเทศไทยยังไม่มีใครบอกได้ชัดว่า สรุปแล้วต้องเป็นอย่างไร เนื่องจากข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการจัดเก็บภาษี Cryptocurrency นั้น เริ่มต้นมาจากการออก พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรฉบับที่ 19 เพื่อแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติมในมาตรา 40 และมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฏากร ในปี 2561 ซึ่งยังไม่ครอบคลุมประเด็นอื่นๆ เท่าไรนัก
และถึงแม้ตอนนี้หลักการจัดเก็บภาษีตามกฎหมายนั้น ยังมีข้อคลุมเครือในหลายจุดที่ทำให้นักลงทุนสงสัย แต่โดยส่วนตัวแล้ว ผมมองว่าเป็นหน้าที่ของทางรัฐว่าในอนาคตจะหาทางเก็บภาษีส่วนนี้อย่างไรให้ถูกต้องและเป็นธรรมมากที่สุดครับ
ส่วนนักลงทุนทุกท่าน สิ่งสำคัญคือการเก็บยอดกำไรที่เราได้รับ และหลักฐานต่างๆ ให้ครบถ้วนครับ
0:00 Intro
0:50 กำไรที่ได้กับการเสียภาษี
1:56 การหักภาษี 15%
2:25 กำไรเกิดขึ้นที่ไหน?
3:55 ปัญหามีอะไรบ้าง?
5:52 ใครมีหน้าที่หักภาษี?
8:27 สรุปสิ่งที่ต้องทำ
วิธีแปลงไฟล์เก่าผ่านโปรแกรม RD Prep เพื่อยื่นภาษี | NEW e-Filing ยื่นภาษีออนไลน์แบบใหม่ EP.04
ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากร ได้เริ่มใช้งานระบบ ยื่นภาษี ใหม่ new efiling ซึ่งหลายคนอาจจะติดปัญหาการยื่นภาษีผ่านระบบใหม่ ว่ามีอะไรหลายอย่างที่ต้องรู้
พรี่หนอมทำตัวอย่างวิธีเแปลงไฟล์ผ่านระบบ RDPrep ของกรมสรรพากร โดยแปลงไฟล์จากโปรแกรมใบแนบเดิม TxT เป็น Rdx เพื่อใช้ประกอบการยื่นภาษีผ่านอินเตอร์เน็ตในระบบใหม่
โดยโปรแกรม RD Prep คือ โปรแกรมสำหรับใช้บันทึก/โอนย้ายใบแนบแบบภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย หรือแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม/ภาษีธุรกิจเฉพาะ ที่ใช้แทนโปรแกรมใบแนบแบบเก่าของกรมสรรพากรครับ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE A WEBSITE