Skip to content
Home » ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด – สถานีเดลินิวส์ | ประกันสังคม เบิกค่ารักษาพยาบาล

ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด – สถานีเดลินิวส์ | ประกันสังคม เบิกค่ารักษาพยาบาล

ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด – สถานีเดลินิวส์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สำนักงานประกันสังคม ชี้ชัดผู้ประกันตน ม. 33 และ ม. 39 หากเจ็บป่วยฉุกเฉินเข้ารักษาได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด ระยะเวลา 72 ชม. จนพ้นภาวะวิกฤต

ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด  -  สถานีเดลินิวส์

ผู้ป่วยโควิด-19 ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลใน รพ.เอกชน เอง ? : ชัวร์หรือมั่ว


จากข้อมูลที่มีการส่งต่อกันในสื่อสังคมออนไลน์ ระบุว่าถ้าหากเป็นผู้ป่วยติดเชื้อโควิด19 แล้วไปรักษาในโรงพยาบาลเอกชน ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมดเราต้องเป็นคนรับผิดชอบ เรื่องนี้จะชัวร์ หรือมั่ว มาตรวจสอบไปพร้อมกัน
ชมย้อนหลังรายการ \”วันใหม่วาไรตี้\” ได้ที่ http://www.thaipbs.or.th/WanmaiVariety

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://thaip.bs/YSBht5j
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBS
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

ผู้ป่วยโควิด-19 ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลใน รพ.เอกชน เอง ? : ชัวร์หรือมั่ว

ประกันสังคมแจงสิทธิการรักษาพยาบาลที่คุ้มครองและไม่คุ้มครอง


ประกันสังคมแจงสิทธิการรักษาพยาบาลที่คุ้มครองและไม่คุ้มครอง

EP:16.1​ ​สิทธิประโยชน์ประกันสังคมม.33​ และ​ม.39​ กรณีเจ็บป่วย


สิทธิประโยชน์ประกันสังคมม.33​ และ​ม.39​ กรณีเจ็บป่วย
ผู้ประกันมาตรา 33 และ 39 ของประกันสังคมได้รับสิทธิประโยชน์กรณ๊เจ็บป่วย สามารถแบ่งตามความเข้าใจของตัวเองได้คือ
การรักษาพยาบาล
การดูแลตัวเอง ได้แก่ การตรวจสุขภาพประจำปี และการทำฟัน เคยทำ Clip อธิบายไปแล้ว
ได้รับเงินชดเชยกรณีป่วยรักษาตัว ทำให้ไม่สามารถทำงานได้
สำหร้บ Clip นี้จะพูดถึงเรื่องของการรักษาพยาบาล ได้แก่ การเป็นผู้ป่วยทั่วไป ผู้ป่วยฉุกเฉินหรือได้รับอุบัติเหตุในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน การเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤค
สนใจอ่านบทความ https://sabaijung.com/
สิทธิการทำฟันของผู้ประกันตน
https://www.youtube.com/watch?v=f2617MaF6o0\u0026list=PLEYNFDIwKjBY_R5iMlS5kmaaKlX67M93\u0026index=10
สุภาษิตสอนหญิง
https://www.youtube.com/watch?v=ecLLvqMvE8\u0026list=PLEYNFDIwKjBbxWA6YqqgMiGQvIR5z05r

EP:16.1​ ​สิทธิประโยชน์ประกันสังคมม.33​ และ​ม.39​ กรณีเจ็บป่วย

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!


มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!
ถ้าพูดถึง \”ประกันสังคม\” หลายคนที่ทำงานออฟฟิตคงรู้จักกันเป็นอย่างดีและหลายคนคงกำลังคิดว่า การมีเพียงประกันสังคมก็เกินพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีประกันอื่นๆ อย่าง ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต หรือประกันอุบัติเหตุแล้วก็ได้ แต่รู้หรือไม่ว่า สิทธิประกันสังคมนั้นไม่ได้ครอบคลุมอย่างไปทุกอย่างและยังมีโรคบางชนิดที่ไม่อยู่ในความคุ้มครองของประกันสังคม วันนี้เราได้รวบรวม 14 โรคที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง มาฝากทุกคน จะมีโรคอะไรบ้าง หรืออาการอะไรบ้าง ตามมาเช็คกันได้เลย!
1. โรคหรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
2. การรักษาโรคที่ต้องใช้ระยะเวลาการรักษาตัวในโรงพยาบาล ประเภทคนไข้ เกิน 180 วัน ใน 1 ปี
3. การบำบัดทดแทนไต ในกรณี ไตวายเรื้อรัง ยกเว้น

– กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลารักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มีสิทธิได้รับบริการทางการแพทย์

– กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้สิทธิได้รับบริการทางการแพทย์ โดยการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาอย่างถาวร และด้วยวิธีการปลูกถ่ายไต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการปลูกถ่ายไต และอัตราที่กำหนดในประกาศจากสำนักประกันสังคม
4. การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ (ศัลยกรรม)
5. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง
6. การรักษาภาวะมีบุตรยาก
7. การตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการปลูกถ่ายไขกระดูกของผู้ประกันตน ให้จ่ายค่าตรวจเนื้อเยื่อเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 7,000 บาทต่อราย ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการแพทย์กำหนด
8. การตรวจใดๆ ที่เกินกว่าความจำเป็นในการรักษาโรค
9. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น
– การปลูกถ่ายไขกระดูก ให้จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 750,000 บาทต่อราย แก่สถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ แก่ผู้ประกันตนจนสิ้นสุดกระบวนการปลูกถ่ายไขกระดูก โดยจะต้องเป็นสถานพยาบาลที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง และได้ทำข้อตกลงไว้กับสำนักงานในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน กรณีการปลูกถ่ายไขกระดูกตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
– การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา โดยให้เหมาจ่ายค่าบริการทางการแพทย์แก่สถานพยาบาล 20,000 บาท และให้ศูนย์ดวงตาสภากาชาตไทย 5,000 บาท ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
10. การเปลี่ยนเพศ
11. การผสมเทียม
12. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบพักฟื้น
13. ทันตกรรม ยกเว้น การถอนฟัน การอุดฟัน การขูดหินปูนและผ่าฟันคุด ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 900 บาทต่อครั้งและต่อปี กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี แต่หากเป็นกรณีใส่ฟันเทียมที่ถอดได้ทั้งปาก จะมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี
14. การทำแว่นตา

ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าสิทธิประกันสังคมจะครอบคลุมการรักษาหลากหลายมากมาย แต่ก็ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้คุ้มครองบางส่วน เพื่อความไม่ประมาทควรทำประกันรูปแบบอื่นๆ เพื่อความอุ่นใจในการใช้ชีวิตกันด้วยนะครับ เพราะของบางอย่าง \”มีแล้วอาจไม่ค่อยได้ใช้ ดีกว่าถึงเวลาที่ต้องใช้แต่กลับไม่มี\”

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *