Skip to content
Home » [Update] มรรค 8 (อย่างละเอียด) | ใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง ประกอบด้วย – NATAVIGUIDES

[Update] มรรค 8 (อย่างละเอียด) | ใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง ประกอบด้วย – NATAVIGUIDES

ใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง ประกอบด้วย: คุณกำลังดูกระทู้

มรรค 8 (อย่างละเอียด)

1. สัมมาทิฏฐิ คือ การเห็นชอบ (Right View)
2. สัมมาสังกัปปะ คือ การดำริชอบ (Right Thought)
3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ (Right Speech)
4. สัมมากัมมันตะคือ การประพฤติชอบ (Right Action)
5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ (Right Lifelihood)
6. สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ (Right Effort)
7. สัมมาสติ คือ การตั้งสติชอบ (Right Mindfulness)
8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งมั่นชอบ (Right Concentation

อริยมรรค คือ แนวทางอันประเสริฐของพระอริยะด้วยปัญญาเพื่อนำไปสู่การพ้นจากกิเลสทั้งปวงดั่งเช่นพระพุทธองค์ และพระอรหันต์ทั้งหลาย ประกอบด้วยมรรค 8 ประการ ข้างต้น ดังนั้น อริยมรรค จึงหมายถึงมรรค 8 ประการ แต่เป็นมรรค 8 ประการ ที่ภิกษุหรือปถุชนใช้เป็นแนวทางเพื่อการหลุดพ้นจากวัฏสงสาร

มรรค มาจากรากศัพท์ภาษาบาลี คือ มคฺค อ่าน มัคคะ แปลว่า ทาง แนวทาง หรือ หนทาง

มรรค แนวทางหรือหนทาง ในที่นี้ หมายถึง หนทางแห่งการดับทุกข์

ปัญญาที่เป็นเครื่องมือในการขจัดความเขลาหรือเพื่อละซึ่งกิเลส แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. สุตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียนในตำราเรียน
2. จินตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากกระบวนการคิด การวิเคราะห์ ไตร่ตรองในเหตุ และผล โดยใช้สุตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐาน
3. ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ลงมือทำ ลงมือทดลอง จนรู้เห็นด้วยประสบการณ์ที่แท้จริงของตน โดยมีสุตมยปัญญา และจินตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐาน

มรรคทั้ง 8 แบ่งได้ 3 หมวด คือ
1. หมวดศีล ประกอบด้วย
– สัมมาวาจา
– สัมมากัมมันตะ
– สัมมาอาชีวะ
2. หมวดสมาธิ ประกอบด้วย
– สัมมาวายามะ
– สัมมาสติ
– สัมมาสมาธิ
3. หมวดปัญญา ประกอบด้วย
– สัมมาทิฏฐิ
– สัมมาสังกัปปะ

มรรค

มรรค 8 ประการ สำหรับการดำเนินชีวิต
1. สัมมาทิฏฐิ (การเห็นชอบ)
สัมมาทิฏฐิ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเห็น หรือ การเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง และดีงาม ตามแนวทางแห่งอริยสัจ 4 อันประกอบด้วย
– ทุกข์ คือ สภาวะจิตใจที่เกิดความทุกข์
– สมุทัย คือ สิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ อันได้แก่ โทสะ โมหะ และโลภะ
– นิโรธ คือ สิ่งที่สามารถดับทุกข์ได้ อันประกอบด้วยความเข้าใจในสภาพจริงของธรรมชาติ คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
– มรรค คือ หนทางในการดับทุกข์ ก็คือ มรรค 8

องค์ที่ก่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 อย่าง คือ
– ปรโตโฆสะ คือ ความเห็นชอบที่มาจากปัจจัยรอบด้าน เช่น คำบอกเล่า ข่าวสาร คำสั่งสอน ตำรา เป็นต้นสิ่งเหล่านี้เป็นบ่อเกิดของความรู้ที่ประกอบขึ้นจากภายนอกที่เราต้องขวนขวายหา แต่ความรู้เหล่านี้จำเป็นต้องกรองหรือต้องรู้จักใช้วิจารณญาณให้เกิดความเข้าใจอย่างท่องแท้เสียก่อน การใช้วิจารณญาณนี้ เรียกทางพุทธธรรมว่า โยนิโสมนสิการ
– โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิด วิเคราะห์ในเหตุ และผล อันนำมาซึ่งปัญญา คือ การรู้แจ้ง โดยใช้ข้อมูลข่าวสารหรือแหล่งความรู้ต่างๆจากปรโตโฆสะมาประกอบ

สัมมาทิฏฐิ 2 ระดับ
– โลกิยสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับปุถุชนที่มีความเห็นหรือเข้าใจในสิ่งชั่วดีสอดคล้องกับคันลองคลองธรรมซึ่งยังมิได้เข้าถึงการรู้แจ้งในระดับพระอริยะทำให้ยังเวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสาร
– โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับพระอริยะที่มีความเห็นแจ้ง รู้แจ้งในทุกสรรพสิ่งบนโลก หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง และไม่เวียนว่ายในวัฏสงสาร

2. สัมมาสังกัปปะ (การดำริชอบ การคิดชอบ)
สัมมาสังกัปปะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การรู้จักคิดในทางที่ถูกที่ควรบนพื้นฐานของศีลธรรมอันงามที่ปราศจากการคิดโลภในความอยากของตน การคิดพยาบาท อาฆาตแค้น และการคิดที่จะเบียดเบียนผู้อื่นให้เสียหาย

สัมมาสังกัปปะเป็นธรรมที่พึงเว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 3 ประการ คือ
– กามสังกัปปะ คือ การคิดในกาม อันเป็นความอยาก ความต้องการของตนในทุกด้านโดยไม่สนใจเรื่องศีลธรรมอันดี จนนำไปสู่การแสวงหาแนวทางเพื่อให้บรรลุซึ่งความอยากเหล่านั้น
– พยาบาทสังกัปปะ คือ การคิดพยาบาท อันประกอบขึ้นด้วยจิตที่มีความขุ่นเคือง ความเคียดแค้น และความอาฆาตต่อผู้อื่น
– วิหิงสาสังกัปปะ คือ การคิดเบียดเบียน อันประกอบขึ้นจากพยาบาทสังกัปปะที่ฝังอยู่ในจิตใจจนนำไปสู่การคิดเพื่อแสวงหาทางที่จะเบียดเบียนหรือทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย

3. สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ)
สัมมาวาจา แห่งมรรค 8 หมายถึง การพูดจาชอบในทางที่ถูกที่งาม อันประกอบด้วยเว้นจากการพูดจริง เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ และเว้นจากการพูดกลับคำ

การประพฤติสัมมาวาจา ท่านแนะนำให้พึงเว้นจาก วจีทุจริต 4 ประการ คือ
– มุสาวาทา คือ พึงเว้นจากการพูดคำเท็จ คำหลอกลวง ที่ไม่เป็นจริงดังปรากฏเพียงเพื่อหวังประโยชน์แก่ตน และยังให้ผู้อื่นเสียหาย
– ปิสุณาวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดส่อเสียดเพื่อให้ผู้อื่นเจ็บใจ และการพูดยุแย่เพื่อให้เกิดความแตกแยกในหมู่คณะหรือความแตกร้าวของผู้อื่น
– ผรุสวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดคำหยาบอันเป็นคำที่ไม่รื่นหูเพียงเพื่อทำให้ผู้อื่นเจ็บใจหรือพูดเพราะความคึกคะนอง
– สัมผัปปลาปะ คือ พึงเว้นจากการพูดกลับคำ พูดกลับไปกลับมา จับสาระไม่ได้

4. สัมมากัมมันตะ (การประพฤติชอบ)
สัมมากัมมันตะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้องอันควร

สัมมากัมมันตะในทางโลกท่านพึงให้ละเว้นจากกายทุจริต 3 ประการ คือ
– ปาณาติปาตา คือ การละซึ่งการพรากชีวิตสรรพสัตว์ และชีวิตผู้อื่น
– อทินนาทานา คือ การละซึ่งการลักทรัพย์อันเป็นทรัพย์ที่ผู้อื่นเขาไม่ยินยอมให้
– กาเมสุมิจฉาจารา คือ การละซึ่งการประพฤติผิดในกามในหญิงต้องห้าม และชายต้องห้ามทั้งหลาย

5. สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ)
สัมมาอาชีวะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการหาเลี้ยงชีพด้วยความสุจริต ด้วยการใช้ปัญญา และความรู้ของตนในการประกอบอาชีพบนพื้นฐานของความถูกต้อง ปราศจากการประพฤติอันผิดต่อศีลธรรมอันงาม

ผู้มีสัมมาอาชีวะท่านพึงให้เว้นจากมิจฉาอาชีวะ 5 ประการ คือ
– สัตถวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายอาวุธสงครามหรือวัตถุที่เกี่ยวข้องกับอาวุธ
– สัตตวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายมนุษย์ การใช้แรงงานผิดกฎหมาย การทารุณกรรม การบริการทางเพศ เป็นต้น
– มังสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายสัตว์ ค้าขายเนื้อสัตว์ต้องห้ามที่ผิดต่อหลักกฎหมายหรือศาสนา
– มัชชวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายน้ำเมา และสารเสพติด
– วิสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายยาหรือสารสำหรับการทำพิษต่อคนหรือสัตว์

6. สัมมาวายามะ (การเพียรชอบ)
สัมมาวายามะ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเพียรในการงานหรือความเพียรในการประพฤติต่อคุณงามความดี อันได้แก่
– สังวรประธาน คือ การเพียรป้องกันมิให้ตนประพฤติอยู่ในอกุศลกรรม
– ปหานปธาน คือ การเพียรละซึ่งอกุศลกรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไปจากตน
– ภาวนาปธาน คือ การเพียรสร้างกุศลกรรมอันที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้นแก่ตน และผู้อื่น
– อนุรักขนาปธาน คือ การเพียรรักษาสิ่งที่ดีที่เกิดขึ้นแล้วให้ยังคงอยู่เป็นนิจ และเพียรส่งเสริมพัฒนาให้สิ่งนั้นเกิดยิ่งๆขึ้นไป

7. สัมมาสติ (การตั้งสติชอบ)
สัมมาสติ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งสติได้ การระลึกได้ ไม่ฟั่นเฟือน ไม่เลื่อนลอย สามารถระวังตัวมิให้ประพฤติตนหลงเข้าไปในวังวนของกิเลสทั้งหลาย อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ รวมถึงการตื่นตัวในหน้าที่ การสำนึกในหน้าที่อยู่เสมอ

ลักษณะของการมีสติ
1. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีประโยชน์หรือไม่ เป็นเรื่องดีหรือเรื่องชั่ว
2. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเหมาะกับตนหรือไม่
3. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีผลดีหรือร้าย
4. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเป็นเรื่องงมงายหรือไม่
5. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีโอกาสสำเร็จหรือไม่

8. สัมมาสมาธิ (การตั้งมั่นชอบ)
สัมมาสมาธิ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งมั่นในจิต การมีจิตแน่วแน่ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง คือ มีจิตเป็นหนึ่งรวมกับสิ่งใดๆ
แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
– ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วขณะ เป็นสมาธิที่เกิดขณะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในการดำเนินชีวิต เช่น การทำงาน การท่องหนังสือ เป็นต้น
– อุปจารสมาธิ คือ สมาธิจวนจะแน่วแน่ เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในชั่วขณะ ที่ไม่ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนถึงการมีจิตรวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้น เช่น การกำหนดจิตต่อลมหายใจเข้าออกได้ชั่วครู่ชั่วขณะ เพราะเกิดจิตเลื่อนลอยไปนึกถึงสิ่งอื่น
– อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิที่แน่วแน่เป็นหนึ่ง เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนสามารถกำหนดจิตแน่วแน่รวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้นได้ เช่น จิตรับรู้ และแน่วแน่ต่อลมหายใจเข้าออก

ธรรมอันใช้คู่กับมรรคทั้ง 8
1. สัมมาทิฏฐิ : สมุทัย และนิโธ แห่งอริยสัจ 4
2. สัมมาสังกัปปะ : เว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 3
3. สัมมาวาจา : เว้นจากวจีทุจริต 4
4. สัมมากัมมันตะ : เว้นจากกายทุจริต 3
5. สัมมาอาชีวะ : วิริยะ
6. สัมมาวายามะ : ปธาน 4
7. สัมมาสติ : สติสัมปชัญญะ
8. สัมมาสมาธิ : ฌาน 4

ขอขอบคุณเจ้าของบทความธรรมะนี้ครับ
(จำไม่ได้จากเวปไหน^^)

1. สัมมาทิฏฐิ คือ การเห็นชอบ (Right View)2. สัมมาสังกัปปะ คือ การดำริชอบ (Right Thought)3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ (Right Speech)4. สัมมากัมมันตะคือ การประพฤติชอบ (Right Action)5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ (Right Lifelihood)6. สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ (Right Effort)7. สัมมาสติ คือ การตั้งสติชอบ (Right Mindfulness)8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งมั่นชอบ (Right Concentationอริยมรรค คือ แนวทางอันประเสริฐของพระอริยะด้วยปัญญาเพื่อนำไปสู่การพ้นจากกิเลสทั้งปวงดั่งเช่นพระพุทธองค์ และพระอรหันต์ทั้งหลาย ประกอบด้วยมรรค 8 ประการ ข้างต้น ดังนั้น อริยมรรค จึงหมายถึงมรรค 8 ประการ แต่เป็นมรรค 8 ประการ ที่ภิกษุหรือปถุชนใช้เป็นแนวทางเพื่อการหลุดพ้นจากวัฏสงสารมรรค มาจากรากศัพท์ภาษาบาลี คือ มคฺค อ่าน มัคคะ แปลว่า ทาง แนวทาง หรือ หนทางมรรค แนวทางหรือหนทาง ในที่นี้ หมายถึง หนทางแห่งการดับทุกข์ปัญญาที่เป็นเครื่องมือในการขจัดความเขลาหรือเพื่อละซึ่งกิเลส แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ1. สุตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียนในตำราเรียน2. จินตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากกระบวนการคิด การวิเคราะห์ ไตร่ตรองในเหตุ และผล โดยใช้สุตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐาน3. ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ลงมือทำ ลงมือทดลอง จนรู้เห็นด้วยประสบการณ์ที่แท้จริงของตน โดยมีสุตมยปัญญา และจินตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐานมรรคทั้ง 8 แบ่งได้ 3 หมวด คือ1. หมวดศีล ประกอบด้วย– สัมมาวาจา– สัมมากัมมันตะ– สัมมาอาชีวะ2. หมวดสมาธิ ประกอบด้วย– สัมมาวายามะ– สัมมาสติ– สัมมาสมาธิ3. หมวดปัญญา ประกอบด้วย– สัมมาทิฏฐิ– สัมมาสังกัปปะมรรคมรรค 8 ประการ สำหรับการดำเนินชีวิต1. สัมมาทิฏฐิ (การเห็นชอบ)สัมมาทิฏฐิ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเห็น หรือ การเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง และดีงาม ตามแนวทางแห่งอริยสัจ 4 อันประกอบด้วย– ทุกข์ คือ สภาวะจิตใจที่เกิดความทุกข์– สมุทัย คือ สิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ อันได้แก่ โทสะ โมหะ และโลภะ– นิโรธ คือ สิ่งที่สามารถดับทุกข์ได้ อันประกอบด้วยความเข้าใจในสภาพจริงของธรรมชาติ คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา– มรรค คือ หนทางในการดับทุกข์ ก็คือ มรรค 8องค์ที่ก่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 อย่าง คือ– ปรโตโฆสะ คือ ความเห็นชอบที่มาจากปัจจัยรอบด้าน เช่น คำบอกเล่า ข่าวสาร คำสั่งสอน ตำรา เป็นต้นสิ่งเหล่านี้เป็นบ่อเกิดของความรู้ที่ประกอบขึ้นจากภายนอกที่เราต้องขวนขวายหา แต่ความรู้เหล่านี้จำเป็นต้องกรองหรือต้องรู้จักใช้วิจารณญาณให้เกิดความเข้าใจอย่างท่องแท้เสียก่อน การใช้วิจารณญาณนี้ เรียกทางพุทธธรรมว่า โยนิโสมนสิการ– โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิด วิเคราะห์ในเหตุ และผล อันนำมาซึ่งปัญญา คือ การรู้แจ้ง โดยใช้ข้อมูลข่าวสารหรือแหล่งความรู้ต่างๆจากปรโตโฆสะมาประกอบสัมมาทิฏฐิ 2 ระดับ– โลกิยสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับปุถุชนที่มีความเห็นหรือเข้าใจในสิ่งชั่วดีสอดคล้องกับคันลองคลองธรรมซึ่งยังมิได้เข้าถึงการรู้แจ้งในระดับพระอริยะทำให้ยังเวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสาร– โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับพระอริยะที่มีความเห็นแจ้ง รู้แจ้งในทุกสรรพสิ่งบนโลก หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง และไม่เวียนว่ายในวัฏสงสาร2. สัมมาสังกัปปะ (การดำริชอบ การคิดชอบ)สัมมาสังกัปปะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การรู้จักคิดในทางที่ถูกที่ควรบนพื้นฐานของศีลธรรมอันงามที่ปราศจากการคิดโลภในความอยากของตน การคิดพยาบาท อาฆาตแค้น และการคิดที่จะเบียดเบียนผู้อื่นให้เสียหายสัมมาสังกัปปะเป็นธรรมที่พึงเว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 3 ประการ คือ– กามสังกัปปะ คือ การคิดในกาม อันเป็นความอยาก ความต้องการของตนในทุกด้านโดยไม่สนใจเรื่องศีลธรรมอันดี จนนำไปสู่การแสวงหาแนวทางเพื่อให้บรรลุซึ่งความอยากเหล่านั้น– พยาบาทสังกัปปะ คือ การคิดพยาบาท อันประกอบขึ้นด้วยจิตที่มีความขุ่นเคือง ความเคียดแค้น และความอาฆาตต่อผู้อื่น– วิหิงสาสังกัปปะ คือ การคิดเบียดเบียน อันประกอบขึ้นจากพยาบาทสังกัปปะที่ฝังอยู่ในจิตใจจนนำไปสู่การคิดเพื่อแสวงหาทางที่จะเบียดเบียนหรือทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย3. สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ)สัมมาวาจา แห่งมรรค 8 หมายถึง การพูดจาชอบในทางที่ถูกที่งาม อันประกอบด้วยเว้นจากการพูดจริง เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ และเว้นจากการพูดกลับคำการประพฤติสัมมาวาจา ท่านแนะนำให้พึงเว้นจาก วจีทุจริต 4 ประการ คือ– มุสาวาทา คือ พึงเว้นจากการพูดคำเท็จ คำหลอกลวง ที่ไม่เป็นจริงดังปรากฏเพียงเพื่อหวังประโยชน์แก่ตน และยังให้ผู้อื่นเสียหาย– ปิสุณาวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดส่อเสียดเพื่อให้ผู้อื่นเจ็บใจ และการพูดยุแย่เพื่อให้เกิดความแตกแยกในหมู่คณะหรือความแตกร้าวของผู้อื่น– ผรุสวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดคำหยาบอันเป็นคำที่ไม่รื่นหูเพียงเพื่อทำให้ผู้อื่นเจ็บใจหรือพูดเพราะความคึกคะนอง– สัมผัปปลาปะ คือ พึงเว้นจากการพูดกลับคำ พูดกลับไปกลับมา จับสาระไม่ได้4. สัมมากัมมันตะ (การประพฤติชอบ)สัมมากัมมันตะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้องอันควรสัมมากัมมันตะในทางโลกท่านพึงให้ละเว้นจากกายทุจริต 3 ประการ คือ– ปาณาติปาตา คือ การละซึ่งการพรากชีวิตสรรพสัตว์ และชีวิตผู้อื่น– อทินนาทานา คือ การละซึ่งการลักทรัพย์อันเป็นทรัพย์ที่ผู้อื่นเขาไม่ยินยอมให้– กาเมสุมิจฉาจารา คือ การละซึ่งการประพฤติผิดในกามในหญิงต้องห้าม และชายต้องห้ามทั้งหลาย5. สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ)สัมมาอาชีวะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการหาเลี้ยงชีพด้วยความสุจริต ด้วยการใช้ปัญญา และความรู้ของตนในการประกอบอาชีพบนพื้นฐานของความถูกต้อง ปราศจากการประพฤติอันผิดต่อศีลธรรมอันงามผู้มีสัมมาอาชีวะท่านพึงให้เว้นจากมิจฉาอาชีวะ 5 ประการ คือ– สัตถวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายอาวุธสงครามหรือวัตถุที่เกี่ยวข้องกับอาวุธ– สัตตวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายมนุษย์ การใช้แรงงานผิดกฎหมาย การทารุณกรรม การบริการทางเพศ เป็นต้น– มังสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายสัตว์ ค้าขายเนื้อสัตว์ต้องห้ามที่ผิดต่อหลักกฎหมายหรือศาสนา– มัชชวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายน้ำเมา และสารเสพติด– วิสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายยาหรือสารสำหรับการทำพิษต่อคนหรือสัตว์6. สัมมาวายามะ (การเพียรชอบ)สัมมาวายามะ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเพียรในการงานหรือความเพียรในการประพฤติต่อคุณงามความดี อันได้แก่– สังวรประธาน คือ การเพียรป้องกันมิให้ตนประพฤติอยู่ในอกุศลกรรม– ปหานปธาน คือ การเพียรละซึ่งอกุศลกรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไปจากตน– ภาวนาปธาน คือ การเพียรสร้างกุศลกรรมอันที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้นแก่ตน และผู้อื่น– อนุรักขนาปธาน คือ การเพียรรักษาสิ่งที่ดีที่เกิดขึ้นแล้วให้ยังคงอยู่เป็นนิจ และเพียรส่งเสริมพัฒนาให้สิ่งนั้นเกิดยิ่งๆขึ้นไป7. สัมมาสติ (การตั้งสติชอบ)สัมมาสติ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งสติได้ การระลึกได้ ไม่ฟั่นเฟือน ไม่เลื่อนลอย สามารถระวังตัวมิให้ประพฤติตนหลงเข้าไปในวังวนของกิเลสทั้งหลาย อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ รวมถึงการตื่นตัวในหน้าที่ การสำนึกในหน้าที่อยู่เสมอลักษณะของการมีสติ1. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีประโยชน์หรือไม่ เป็นเรื่องดีหรือเรื่องชั่ว2. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเหมาะกับตนหรือไม่3. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีผลดีหรือร้าย4. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเป็นเรื่องงมงายหรือไม่5. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีโอกาสสำเร็จหรือไม่8. สัมมาสมาธิ (การตั้งมั่นชอบ)สัมมาสมาธิ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งมั่นในจิต การมีจิตแน่วแน่ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง คือ มีจิตเป็นหนึ่งรวมกับสิ่งใดๆแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ– ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วขณะ เป็นสมาธิที่เกิดขณะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในการดำเนินชีวิต เช่น การทำงาน การท่องหนังสือ เป็นต้น– อุปจารสมาธิ คือ สมาธิจวนจะแน่วแน่ เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในชั่วขณะ ที่ไม่ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนถึงการมีจิตรวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้น เช่น การกำหนดจิตต่อลมหายใจเข้าออกได้ชั่วครู่ชั่วขณะ เพราะเกิดจิตเลื่อนลอยไปนึกถึงสิ่งอื่น– อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิที่แน่วแน่เป็นหนึ่ง เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนสามารถกำหนดจิตแน่วแน่รวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้นได้ เช่น จิตรับรู้ และแน่วแน่ต่อลมหายใจเข้าออกธรรมอันใช้คู่กับมรรคทั้ง 81. สัมมาทิฏฐิ : สมุทัย และนิโธ แห่งอริยสัจ 42. สัมมาสังกัปปะ : เว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 33. สัมมาวาจา : เว้นจากวจีทุจริต 44. สัมมากัมมันตะ : เว้นจากกายทุจริต 35. สัมมาอาชีวะ : วิริยะ6. สัมมาวายามะ : ปธาน 47. สัมมาสติ : สติสัมปชัญญะ8. สัมมาสมาธิ : ฌาน 4ขอขอบคุณเจ้าของบทความธรรมะนี้ครับ(จำไม่ได้จากเวปไหน^^)

[Update] มรรค 8 (อย่างละเอียด) | ใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง ประกอบด้วย – NATAVIGUIDES

มรรค 8 (อย่างละเอียด)

1. สัมมาทิฏฐิ คือ การเห็นชอบ (Right View)
2. สัมมาสังกัปปะ คือ การดำริชอบ (Right Thought)
3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ (Right Speech)
4. สัมมากัมมันตะคือ การประพฤติชอบ (Right Action)
5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ (Right Lifelihood)
6. สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ (Right Effort)
7. สัมมาสติ คือ การตั้งสติชอบ (Right Mindfulness)
8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งมั่นชอบ (Right Concentation

อริยมรรค คือ แนวทางอันประเสริฐของพระอริยะด้วยปัญญาเพื่อนำไปสู่การพ้นจากกิเลสทั้งปวงดั่งเช่นพระพุทธองค์ และพระอรหันต์ทั้งหลาย ประกอบด้วยมรรค 8 ประการ ข้างต้น ดังนั้น อริยมรรค จึงหมายถึงมรรค 8 ประการ แต่เป็นมรรค 8 ประการ ที่ภิกษุหรือปถุชนใช้เป็นแนวทางเพื่อการหลุดพ้นจากวัฏสงสาร

มรรค มาจากรากศัพท์ภาษาบาลี คือ มคฺค อ่าน มัคคะ แปลว่า ทาง แนวทาง หรือ หนทาง

มรรค แนวทางหรือหนทาง ในที่นี้ หมายถึง หนทางแห่งการดับทุกข์

ปัญญาที่เป็นเครื่องมือในการขจัดความเขลาหรือเพื่อละซึ่งกิเลส แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. สุตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียนในตำราเรียน
2. จินตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากกระบวนการคิด การวิเคราะห์ ไตร่ตรองในเหตุ และผล โดยใช้สุตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐาน
3. ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ลงมือทำ ลงมือทดลอง จนรู้เห็นด้วยประสบการณ์ที่แท้จริงของตน โดยมีสุตมยปัญญา และจินตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐาน

มรรคทั้ง 8 แบ่งได้ 3 หมวด คือ
1. หมวดศีล ประกอบด้วย
– สัมมาวาจา
– สัมมากัมมันตะ
– สัมมาอาชีวะ
2. หมวดสมาธิ ประกอบด้วย
– สัมมาวายามะ
– สัมมาสติ
– สัมมาสมาธิ
3. หมวดปัญญา ประกอบด้วย
– สัมมาทิฏฐิ
– สัมมาสังกัปปะ

มรรค

มรรค 8 ประการ สำหรับการดำเนินชีวิต
1. สัมมาทิฏฐิ (การเห็นชอบ)
สัมมาทิฏฐิ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเห็น หรือ การเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง และดีงาม ตามแนวทางแห่งอริยสัจ 4 อันประกอบด้วย
– ทุกข์ คือ สภาวะจิตใจที่เกิดความทุกข์
– สมุทัย คือ สิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ อันได้แก่ โทสะ โมหะ และโลภะ
– นิโรธ คือ สิ่งที่สามารถดับทุกข์ได้ อันประกอบด้วยความเข้าใจในสภาพจริงของธรรมชาติ คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
– มรรค คือ หนทางในการดับทุกข์ ก็คือ มรรค 8

องค์ที่ก่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 อย่าง คือ
– ปรโตโฆสะ คือ ความเห็นชอบที่มาจากปัจจัยรอบด้าน เช่น คำบอกเล่า ข่าวสาร คำสั่งสอน ตำรา เป็นต้นสิ่งเหล่านี้เป็นบ่อเกิดของความรู้ที่ประกอบขึ้นจากภายนอกที่เราต้องขวนขวายหา แต่ความรู้เหล่านี้จำเป็นต้องกรองหรือต้องรู้จักใช้วิจารณญาณให้เกิดความเข้าใจอย่างท่องแท้เสียก่อน การใช้วิจารณญาณนี้ เรียกทางพุทธธรรมว่า โยนิโสมนสิการ
– โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิด วิเคราะห์ในเหตุ และผล อันนำมาซึ่งปัญญา คือ การรู้แจ้ง โดยใช้ข้อมูลข่าวสารหรือแหล่งความรู้ต่างๆจากปรโตโฆสะมาประกอบ

สัมมาทิฏฐิ 2 ระดับ
– โลกิยสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับปุถุชนที่มีความเห็นหรือเข้าใจในสิ่งชั่วดีสอดคล้องกับคันลองคลองธรรมซึ่งยังมิได้เข้าถึงการรู้แจ้งในระดับพระอริยะทำให้ยังเวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสาร
– โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับพระอริยะที่มีความเห็นแจ้ง รู้แจ้งในทุกสรรพสิ่งบนโลก หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง และไม่เวียนว่ายในวัฏสงสาร

2. สัมมาสังกัปปะ (การดำริชอบ การคิดชอบ)
สัมมาสังกัปปะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การรู้จักคิดในทางที่ถูกที่ควรบนพื้นฐานของศีลธรรมอันงามที่ปราศจากการคิดโลภในความอยากของตน การคิดพยาบาท อาฆาตแค้น และการคิดที่จะเบียดเบียนผู้อื่นให้เสียหาย

สัมมาสังกัปปะเป็นธรรมที่พึงเว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 3 ประการ คือ
– กามสังกัปปะ คือ การคิดในกาม อันเป็นความอยาก ความต้องการของตนในทุกด้านโดยไม่สนใจเรื่องศีลธรรมอันดี จนนำไปสู่การแสวงหาแนวทางเพื่อให้บรรลุซึ่งความอยากเหล่านั้น
– พยาบาทสังกัปปะ คือ การคิดพยาบาท อันประกอบขึ้นด้วยจิตที่มีความขุ่นเคือง ความเคียดแค้น และความอาฆาตต่อผู้อื่น
– วิหิงสาสังกัปปะ คือ การคิดเบียดเบียน อันประกอบขึ้นจากพยาบาทสังกัปปะที่ฝังอยู่ในจิตใจจนนำไปสู่การคิดเพื่อแสวงหาทางที่จะเบียดเบียนหรือทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย

3. สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ)
สัมมาวาจา แห่งมรรค 8 หมายถึง การพูดจาชอบในทางที่ถูกที่งาม อันประกอบด้วยเว้นจากการพูดจริง เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ และเว้นจากการพูดกลับคำ

การประพฤติสัมมาวาจา ท่านแนะนำให้พึงเว้นจาก วจีทุจริต 4 ประการ คือ
– มุสาวาทา คือ พึงเว้นจากการพูดคำเท็จ คำหลอกลวง ที่ไม่เป็นจริงดังปรากฏเพียงเพื่อหวังประโยชน์แก่ตน และยังให้ผู้อื่นเสียหาย
– ปิสุณาวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดส่อเสียดเพื่อให้ผู้อื่นเจ็บใจ และการพูดยุแย่เพื่อให้เกิดความแตกแยกในหมู่คณะหรือความแตกร้าวของผู้อื่น
– ผรุสวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดคำหยาบอันเป็นคำที่ไม่รื่นหูเพียงเพื่อทำให้ผู้อื่นเจ็บใจหรือพูดเพราะความคึกคะนอง
– สัมผัปปลาปะ คือ พึงเว้นจากการพูดกลับคำ พูดกลับไปกลับมา จับสาระไม่ได้

4. สัมมากัมมันตะ (การประพฤติชอบ)
สัมมากัมมันตะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้องอันควร

สัมมากัมมันตะในทางโลกท่านพึงให้ละเว้นจากกายทุจริต 3 ประการ คือ
– ปาณาติปาตา คือ การละซึ่งการพรากชีวิตสรรพสัตว์ และชีวิตผู้อื่น
– อทินนาทานา คือ การละซึ่งการลักทรัพย์อันเป็นทรัพย์ที่ผู้อื่นเขาไม่ยินยอมให้
– กาเมสุมิจฉาจารา คือ การละซึ่งการประพฤติผิดในกามในหญิงต้องห้าม และชายต้องห้ามทั้งหลาย

5. สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ)
สัมมาอาชีวะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการหาเลี้ยงชีพด้วยความสุจริต ด้วยการใช้ปัญญา และความรู้ของตนในการประกอบอาชีพบนพื้นฐานของความถูกต้อง ปราศจากการประพฤติอันผิดต่อศีลธรรมอันงาม

ผู้มีสัมมาอาชีวะท่านพึงให้เว้นจากมิจฉาอาชีวะ 5 ประการ คือ
– สัตถวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายอาวุธสงครามหรือวัตถุที่เกี่ยวข้องกับอาวุธ
– สัตตวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายมนุษย์ การใช้แรงงานผิดกฎหมาย การทารุณกรรม การบริการทางเพศ เป็นต้น
– มังสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายสัตว์ ค้าขายเนื้อสัตว์ต้องห้ามที่ผิดต่อหลักกฎหมายหรือศาสนา
– มัชชวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายน้ำเมา และสารเสพติด
– วิสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายยาหรือสารสำหรับการทำพิษต่อคนหรือสัตว์

6. สัมมาวายามะ (การเพียรชอบ)
สัมมาวายามะ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเพียรในการงานหรือความเพียรในการประพฤติต่อคุณงามความดี อันได้แก่
– สังวรประธาน คือ การเพียรป้องกันมิให้ตนประพฤติอยู่ในอกุศลกรรม
– ปหานปธาน คือ การเพียรละซึ่งอกุศลกรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไปจากตน
– ภาวนาปธาน คือ การเพียรสร้างกุศลกรรมอันที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้นแก่ตน และผู้อื่น
– อนุรักขนาปธาน คือ การเพียรรักษาสิ่งที่ดีที่เกิดขึ้นแล้วให้ยังคงอยู่เป็นนิจ และเพียรส่งเสริมพัฒนาให้สิ่งนั้นเกิดยิ่งๆขึ้นไป

7. สัมมาสติ (การตั้งสติชอบ)
สัมมาสติ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งสติได้ การระลึกได้ ไม่ฟั่นเฟือน ไม่เลื่อนลอย สามารถระวังตัวมิให้ประพฤติตนหลงเข้าไปในวังวนของกิเลสทั้งหลาย อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ รวมถึงการตื่นตัวในหน้าที่ การสำนึกในหน้าที่อยู่เสมอ

ลักษณะของการมีสติ
1. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีประโยชน์หรือไม่ เป็นเรื่องดีหรือเรื่องชั่ว
2. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเหมาะกับตนหรือไม่
3. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีผลดีหรือร้าย
4. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเป็นเรื่องงมงายหรือไม่
5. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีโอกาสสำเร็จหรือไม่

8. สัมมาสมาธิ (การตั้งมั่นชอบ)
สัมมาสมาธิ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งมั่นในจิต การมีจิตแน่วแน่ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง คือ มีจิตเป็นหนึ่งรวมกับสิ่งใดๆ
แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
– ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วขณะ เป็นสมาธิที่เกิดขณะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในการดำเนินชีวิต เช่น การทำงาน การท่องหนังสือ เป็นต้น
– อุปจารสมาธิ คือ สมาธิจวนจะแน่วแน่ เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในชั่วขณะ ที่ไม่ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนถึงการมีจิตรวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้น เช่น การกำหนดจิตต่อลมหายใจเข้าออกได้ชั่วครู่ชั่วขณะ เพราะเกิดจิตเลื่อนลอยไปนึกถึงสิ่งอื่น
– อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิที่แน่วแน่เป็นหนึ่ง เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนสามารถกำหนดจิตแน่วแน่รวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้นได้ เช่น จิตรับรู้ และแน่วแน่ต่อลมหายใจเข้าออก

ธรรมอันใช้คู่กับมรรคทั้ง 8
1. สัมมาทิฏฐิ : สมุทัย และนิโธ แห่งอริยสัจ 4
2. สัมมาสังกัปปะ : เว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 3
3. สัมมาวาจา : เว้นจากวจีทุจริต 4
4. สัมมากัมมันตะ : เว้นจากกายทุจริต 3
5. สัมมาอาชีวะ : วิริยะ
6. สัมมาวายามะ : ปธาน 4
7. สัมมาสติ : สติสัมปชัญญะ
8. สัมมาสมาธิ : ฌาน 4

ขอขอบคุณเจ้าของบทความธรรมะนี้ครับ
(จำไม่ได้จากเวปไหน^^)

1. สัมมาทิฏฐิ คือ การเห็นชอบ (Right View)2. สัมมาสังกัปปะ คือ การดำริชอบ (Right Thought)3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ (Right Speech)4. สัมมากัมมันตะคือ การประพฤติชอบ (Right Action)5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ (Right Lifelihood)6. สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ (Right Effort)7. สัมมาสติ คือ การตั้งสติชอบ (Right Mindfulness)8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งมั่นชอบ (Right Concentationอริยมรรค คือ แนวทางอันประเสริฐของพระอริยะด้วยปัญญาเพื่อนำไปสู่การพ้นจากกิเลสทั้งปวงดั่งเช่นพระพุทธองค์ และพระอรหันต์ทั้งหลาย ประกอบด้วยมรรค 8 ประการ ข้างต้น ดังนั้น อริยมรรค จึงหมายถึงมรรค 8 ประการ แต่เป็นมรรค 8 ประการ ที่ภิกษุหรือปถุชนใช้เป็นแนวทางเพื่อการหลุดพ้นจากวัฏสงสารมรรค มาจากรากศัพท์ภาษาบาลี คือ มคฺค อ่าน มัคคะ แปลว่า ทาง แนวทาง หรือ หนทางมรรค แนวทางหรือหนทาง ในที่นี้ หมายถึง หนทางแห่งการดับทุกข์ปัญญาที่เป็นเครื่องมือในการขจัดความเขลาหรือเพื่อละซึ่งกิเลส แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ1. สุตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียนในตำราเรียน2. จินตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากกระบวนการคิด การวิเคราะห์ ไตร่ตรองในเหตุ และผล โดยใช้สุตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐาน3. ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ลงมือทำ ลงมือทดลอง จนรู้เห็นด้วยประสบการณ์ที่แท้จริงของตน โดยมีสุตมยปัญญา และจินตมยปัญญาเป็นปัญญาพื้นฐานมรรคทั้ง 8 แบ่งได้ 3 หมวด คือ1. หมวดศีล ประกอบด้วย– สัมมาวาจา– สัมมากัมมันตะ– สัมมาอาชีวะ2. หมวดสมาธิ ประกอบด้วย– สัมมาวายามะ– สัมมาสติ– สัมมาสมาธิ3. หมวดปัญญา ประกอบด้วย– สัมมาทิฏฐิ– สัมมาสังกัปปะมรรคมรรค 8 ประการ สำหรับการดำเนินชีวิต1. สัมมาทิฏฐิ (การเห็นชอบ)สัมมาทิฏฐิ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเห็น หรือ การเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง และดีงาม ตามแนวทางแห่งอริยสัจ 4 อันประกอบด้วย– ทุกข์ คือ สภาวะจิตใจที่เกิดความทุกข์– สมุทัย คือ สิ่งที่ทำให้เกิดทุกข์ อันได้แก่ โทสะ โมหะ และโลภะ– นิโรธ คือ สิ่งที่สามารถดับทุกข์ได้ อันประกอบด้วยความเข้าใจในสภาพจริงของธรรมชาติ คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา– มรรค คือ หนทางในการดับทุกข์ ก็คือ มรรค 8องค์ที่ก่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 อย่าง คือ– ปรโตโฆสะ คือ ความเห็นชอบที่มาจากปัจจัยรอบด้าน เช่น คำบอกเล่า ข่าวสาร คำสั่งสอน ตำรา เป็นต้นสิ่งเหล่านี้เป็นบ่อเกิดของความรู้ที่ประกอบขึ้นจากภายนอกที่เราต้องขวนขวายหา แต่ความรู้เหล่านี้จำเป็นต้องกรองหรือต้องรู้จักใช้วิจารณญาณให้เกิดความเข้าใจอย่างท่องแท้เสียก่อน การใช้วิจารณญาณนี้ เรียกทางพุทธธรรมว่า โยนิโสมนสิการ– โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิด วิเคราะห์ในเหตุ และผล อันนำมาซึ่งปัญญา คือ การรู้แจ้ง โดยใช้ข้อมูลข่าวสารหรือแหล่งความรู้ต่างๆจากปรโตโฆสะมาประกอบสัมมาทิฏฐิ 2 ระดับ– โลกิยสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับปุถุชนที่มีความเห็นหรือเข้าใจในสิ่งชั่วดีสอดคล้องกับคันลองคลองธรรมซึ่งยังมิได้เข้าถึงการรู้แจ้งในระดับพระอริยะทำให้ยังเวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสาร– โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือ การเข้าใจในระดับพระอริยะที่มีความเห็นแจ้ง รู้แจ้งในทุกสรรพสิ่งบนโลก หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง และไม่เวียนว่ายในวัฏสงสาร2. สัมมาสังกัปปะ (การดำริชอบ การคิดชอบ)สัมมาสังกัปปะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การรู้จักคิดในทางที่ถูกที่ควรบนพื้นฐานของศีลธรรมอันงามที่ปราศจากการคิดโลภในความอยากของตน การคิดพยาบาท อาฆาตแค้น และการคิดที่จะเบียดเบียนผู้อื่นให้เสียหายสัมมาสังกัปปะเป็นธรรมที่พึงเว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 3 ประการ คือ– กามสังกัปปะ คือ การคิดในกาม อันเป็นความอยาก ความต้องการของตนในทุกด้านโดยไม่สนใจเรื่องศีลธรรมอันดี จนนำไปสู่การแสวงหาแนวทางเพื่อให้บรรลุซึ่งความอยากเหล่านั้น– พยาบาทสังกัปปะ คือ การคิดพยาบาท อันประกอบขึ้นด้วยจิตที่มีความขุ่นเคือง ความเคียดแค้น และความอาฆาตต่อผู้อื่น– วิหิงสาสังกัปปะ คือ การคิดเบียดเบียน อันประกอบขึ้นจากพยาบาทสังกัปปะที่ฝังอยู่ในจิตใจจนนำไปสู่การคิดเพื่อแสวงหาทางที่จะเบียดเบียนหรือทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย3. สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ)สัมมาวาจา แห่งมรรค 8 หมายถึง การพูดจาชอบในทางที่ถูกที่งาม อันประกอบด้วยเว้นจากการพูดจริง เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ และเว้นจากการพูดกลับคำการประพฤติสัมมาวาจา ท่านแนะนำให้พึงเว้นจาก วจีทุจริต 4 ประการ คือ– มุสาวาทา คือ พึงเว้นจากการพูดคำเท็จ คำหลอกลวง ที่ไม่เป็นจริงดังปรากฏเพียงเพื่อหวังประโยชน์แก่ตน และยังให้ผู้อื่นเสียหาย– ปิสุณาวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดส่อเสียดเพื่อให้ผู้อื่นเจ็บใจ และการพูดยุแย่เพื่อให้เกิดความแตกแยกในหมู่คณะหรือความแตกร้าวของผู้อื่น– ผรุสวาจา คือ พึงเว้นจากการพูดคำหยาบอันเป็นคำที่ไม่รื่นหูเพียงเพื่อทำให้ผู้อื่นเจ็บใจหรือพูดเพราะความคึกคะนอง– สัมผัปปลาปะ คือ พึงเว้นจากการพูดกลับคำ พูดกลับไปกลับมา จับสาระไม่ได้4. สัมมากัมมันตะ (การประพฤติชอบ)สัมมากัมมันตะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้องอันควรสัมมากัมมันตะในทางโลกท่านพึงให้ละเว้นจากกายทุจริต 3 ประการ คือ– ปาณาติปาตา คือ การละซึ่งการพรากชีวิตสรรพสัตว์ และชีวิตผู้อื่น– อทินนาทานา คือ การละซึ่งการลักทรัพย์อันเป็นทรัพย์ที่ผู้อื่นเขาไม่ยินยอมให้– กาเมสุมิจฉาจารา คือ การละซึ่งการประพฤติผิดในกามในหญิงต้องห้าม และชายต้องห้ามทั้งหลาย5. สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ)สัมมาอาชีวะ แห่งมรรค 8 หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการหาเลี้ยงชีพด้วยความสุจริต ด้วยการใช้ปัญญา และความรู้ของตนในการประกอบอาชีพบนพื้นฐานของความถูกต้อง ปราศจากการประพฤติอันผิดต่อศีลธรรมอันงามผู้มีสัมมาอาชีวะท่านพึงให้เว้นจากมิจฉาอาชีวะ 5 ประการ คือ– สัตถวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายอาวุธสงครามหรือวัตถุที่เกี่ยวข้องกับอาวุธ– สัตตวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายมนุษย์ การใช้แรงงานผิดกฎหมาย การทารุณกรรม การบริการทางเพศ เป็นต้น– มังสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายสัตว์ ค้าขายเนื้อสัตว์ต้องห้ามที่ผิดต่อหลักกฎหมายหรือศาสนา– มัชชวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายน้ำเมา และสารเสพติด– วิสวณิชชา คือ การประกอบอาชีพด้วยการค้าขายยาหรือสารสำหรับการทำพิษต่อคนหรือสัตว์6. สัมมาวายามะ (การเพียรชอบ)สัมมาวายามะ แห่งมรรค 8 หมายถึง ความเพียรในการงานหรือความเพียรในการประพฤติต่อคุณงามความดี อันได้แก่– สังวรประธาน คือ การเพียรป้องกันมิให้ตนประพฤติอยู่ในอกุศลกรรม– ปหานปธาน คือ การเพียรละซึ่งอกุศลกรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไปจากตน– ภาวนาปธาน คือ การเพียรสร้างกุศลกรรมอันที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้นแก่ตน และผู้อื่น– อนุรักขนาปธาน คือ การเพียรรักษาสิ่งที่ดีที่เกิดขึ้นแล้วให้ยังคงอยู่เป็นนิจ และเพียรส่งเสริมพัฒนาให้สิ่งนั้นเกิดยิ่งๆขึ้นไป7. สัมมาสติ (การตั้งสติชอบ)สัมมาสติ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งสติได้ การระลึกได้ ไม่ฟั่นเฟือน ไม่เลื่อนลอย สามารถระวังตัวมิให้ประพฤติตนหลงเข้าไปในวังวนของกิเลสทั้งหลาย อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ รวมถึงการตื่นตัวในหน้าที่ การสำนึกในหน้าที่อยู่เสมอลักษณะของการมีสติ1. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีประโยชน์หรือไม่ เป็นเรื่องดีหรือเรื่องชั่ว2. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเหมาะกับตนหรือไม่3. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีผลดีหรือร้าย4. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำเป็นเรื่องงมงายหรือไม่5. ระลึกได้ว่า สิ่งที่จะกระทำหรือกำลังกระทำมีโอกาสสำเร็จหรือไม่8. สัมมาสมาธิ (การตั้งมั่นชอบ)สัมมาสมาธิ แห่งมรรค 8 หมายถึง การตั้งมั่นในจิต การมีจิตแน่วแน่ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง คือ มีจิตเป็นหนึ่งรวมกับสิ่งใดๆแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ– ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วขณะ เป็นสมาธิที่เกิดขณะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในการดำเนินชีวิต เช่น การทำงาน การท่องหนังสือ เป็นต้น– อุปจารสมาธิ คือ สมาธิจวนจะแน่วแน่ เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในชั่วขณะ ที่ไม่ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนถึงการมีจิตรวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้น เช่น การกำหนดจิตต่อลมหายใจเข้าออกได้ชั่วครู่ชั่วขณะ เพราะเกิดจิตเลื่อนลอยไปนึกถึงสิ่งอื่น– อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิที่แน่วแน่เป็นหนึ่ง เป็นสมาธิที่เกิดจากการกำหนดจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนสามารถกำหนดจิตแน่วแน่รวมเป็นหนึ่งกับสิ่งนั้นได้ เช่น จิตรับรู้ และแน่วแน่ต่อลมหายใจเข้าออกธรรมอันใช้คู่กับมรรคทั้ง 81. สัมมาทิฏฐิ : สมุทัย และนิโธ แห่งอริยสัจ 42. สัมมาสังกัปปะ : เว้นจากมิจฉาสังกัปปะ 33. สัมมาวาจา : เว้นจากวจีทุจริต 44. สัมมากัมมันตะ : เว้นจากกายทุจริต 35. สัมมาอาชีวะ : วิริยะ6. สัมมาวายามะ : ปธาน 47. สัมมาสติ : สติสัมปชัญญะ8. สัมมาสมาธิ : ฌาน 4ขอขอบคุณเจ้าของบทความธรรมะนี้ครับ(จำไม่ได้จากเวปไหน^^)


#FlowAccountAudioBlog : เอกสารที่กิจการต้องมี เพื่อให้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีที่ถูกต้อง


เอกสารที่ใช้ประกอบค่าใช้จ่ายของกิจการ ในกรณีที่หลักฐานไม่เพียงพอนั้น ต้องมีอะไรบ้าง? พร้อมกับฟังแนวคิดเรื่องการจัดการค่าใช้จ่ายที่ FlowAccountAudioBlog by @TAXBugnoms ตอนนี้ได้เลย
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/35MdGGm
♥ สมัครใช้งาน โปรแกรมบัญชีออนไลน์ FlowAccount ฟรี! ได้ที่ https://flowaccount.com
♥ ร่วมเป็นสำนักงานบัญชีพาร์ทเนอร์กับเรา https://flowaccount.com/accountingfir…
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น New FlowAccount ทั้งทาง iOS และ Andriod
📱 App Store: https://apple.co/2PoDikS
📱 Play Store: http://bit.ly/354gFcf

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

#FlowAccountAudioBlog : เอกสารที่กิจการต้องมี เพื่อให้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีที่ถูกต้อง

ออกสลิปใบเสร็จรับเงิน – ทำธุรกิจด้วย FlowAccount


ฟังก์ชั่นใหม่! ออกสลิปใบเสร็จรับเงินผ่าน FlowAccount
.
ให้เจ้าของธุรกิจขนาดเล็กที่ยังไม่ได้จด VAT และธุรกิจที่จด VAT แล้วและต้องการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อสามารถออกสลิปใบเสร็จรับเงินให้กับลูกค้าได้อย่างง่ายๆ 3 ขั้นตอน คือ
.
เข้ามาที่เมนูขาย ใส่ข้อมูลสินค้าและจำนวนที่ขาย จากนั้นสั่งพิมพ์ผ่านเครื่องปรินต์เทอร์มอล ก็จะได้สลิปใบเสร็จรับเงินให้ลูกค้าแล้วค่ะ
ระบบบัญชี FlowAccount ยังช่วยตัดสต็อกและอัพเดตรายได้ให้อัตโนมัติ ช่วยให้เจ้าของธุรกิจสามารถจัดการหน้าร้านและบริหารธุรกิจได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายดาย
.
💻 ทดลองใช้งาน โปรแกรมบัญชีออนไลน์ FlowAccount ฟรี 30 วันได้ที่ https://flowaccount.com
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น New FlowAccount ทั้งทาง iOS และ Andriod
📱 App Store: https://apple.co/2PoDikS
📱 Play Store: http://bit.ly/354gFcf
👉 อัพเกรดมาใช้ New FlowAccount https://bit.ly/39q6Pml
📞 ติดต่อสอบถาม 020268989
📢 ติดตามข่าวสาร Line: @flowaccount
.
FlowAccount สลิปใบเสร็จรับเงิน POS

ออกสลิปใบเสร็จรับเงิน - ทำธุรกิจด้วย FlowAccount

ค่าใช้จ่ายทางภาษี ใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง ป้องกันภาษีต้องห้าม


ค่าใช้จ่ายทางภาษี ใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง
ป้องกัน ภาษีต้องห้าม
บิลเงินสดส่วนใหญ่นั้นมักจะมีข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน
ทำให้สรรพากรมักจะไม่ยอมรับเอกสารที่เป็นบิลเงินสด
.
ดังนั้นเมื่อผู้ประกอบการได้รับเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีที่มีหลักฐานไม่เพียงพอ
.
ควรจะปฏิบัติตามแนวทางของสรรพากรเพิ่มเติมเพื่อให้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้
.
สรรพากรได้ออกแนวทางช่วยเหลือผู้ประกอบการในกรณีซื้อสินค้าหรือบริการจากบุคคลธรรมดาหรือหลักฐานไม่เพียงพอ
.
ให้สามารถนำค่าใช้จ่ายดังกล่าวมาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีที่สรรพากรยอมรับ ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
1.จัดทำเอกสารใบแทนการรับเงิน (เลือกใช้ให้ถูกต้องตามแต่ละสถานการณ์)
• เอกสารใบสำคัญรับเงิน + แนบบัตรประชาชน
ใบสำคัญรับเงิน : ใช้กรณีผู้รับเงินไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงินสดที่ถูกต้องให้ได้ แต่ยินยอมจะลงรายมือชื่อในช่อง “ผู้รับเงิน” และแนบสำเนาบัตรประชาชนผู้ขายด้วย
.
• หรือเอกสารใบรับรองแทนใบสำคัญรับเงิน
ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน : ใช้กรณีใช้ในกรณีกิจการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหรือบริการเบ็ดเตล็ด (ยอดเงินน้อยๆ) แต่ไม่สามารถเรียกใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงินสดที่ถูกต้องจากผู้ขายหรือผู้ให้บริการได้ต้องให้พนักงานของกิจการเป็นผู้รับรองการจ่ายเงินดังกล่าว
.
2.แนบหลักฐานการจ่ายเงินเช่น สำเนาเช็ค, หลักฐานการโอนเงิน (ถ้ามี)
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
⭐คอร์สออนไลน์⭐
1. บัญชีภาษีขายของออนไลน์ LAZADA SHOPEE FACEBOOK
2. วางแผนภาษี เลิกกิจการ บริษัท ห้างหุ้นส่น บุคคลธรรมดา
3. เปิดบริษัทใหม่ ต้องทำอะไรบ้าง
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
สมัครเรียน:
📌 อินบ้อค: https://m.me/aomsinleader
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
บัญชีภาษีขายของออนไลน์ บัญชีภาษีวันละคลิป ขายของออนไลน์ แม่ค้า แม่ค้าออนไลน์ พ่อค้าออนไลน์ ธุรกิจออนไลน์ หาเงินออนไลน์

ค่าใช้จ่ายทางภาษี ใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง ป้องกันภาษีต้องห้าม

เตือนภัยจองรถใหม่ป้ายแดง และวิธีการจองรถใหม่ที่ถูกต้อง


เตือนภัยจองรถใหม่ป้ายแดง และวิธีการจองรถใหม่ที่ถูกต้อง
==========================================
เนื่องจากงาน motor expo 2018 ที่ผ่านมา มีมิจฉาชีพแฝงเข้ามาเป็นที่ปรึกษาการขาย หรือ เซลล์ นั่นเอง มาหลอกเอาเงินจองจากลูกค้าที่มาซื้อรถใหม่ป้ายแดง แต่ตอนนี้ขั้นตอนดำเนินคดีแล้ว ระวังกันด้วย อย่าหลงกลนะครับ
linkไปเรื่อย รถใหม่ จองรถใหม่
================================
ติดตามได้ที่
YouTube : https://www.youtube.com/user/2882link?sub_confirmation=1
FB : https://www.facebook.com/linknonstop
IG : https://www.instagram.com/link_non_stop/
====================================
ติดต่องาน 📲 : 0969626156 , 0991682888
Line : link2524
email ✉️ : [email protected]

เตือนภัยจองรถใหม่ป้ายแดง และวิธีการจองรถใหม่ที่ถูกต้อง

รู้จักและเข้าใจภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แบบง่ายๆ ภายใน 10 นาที!!


คลิปสั้นๆ อธิบายเรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่าย หลักการการหักภาษี ณ ที่จ่าย พร้อมตัวอย่างประกอบ โดย TAXBugnoms คนเดิม เพิ่มเติมด้วยสาระ 🙂
เข้าใจเงินได้ 8 ประเภท : http://goo.gl/k9YSdh
เอกสารประกอบอัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
https://goo.gl/Pkp8L2
https://goo.gl/oNWe4d
อย่าลืมกด Subscribed Channel นี้ด้วยนะครับ!!
ติดตามกันได้ที่ : http://goo.gl/jwkQuV

รู้จักและเข้าใจภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แบบง่ายๆ ภายใน 10 นาที!!

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง ประกอบด้วย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *