22 วัน เปิดประเทศ คึกคักต่อเนื่อง! ขาเข้า มากันแน่นๆ สนามบินสุวรรณภูมิ 22 พ.ย. 2021
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
อาคารผู้โดยสารขาเข้าทั้งระหว่างประเทศและภายในประเทศคึกคักต่อเนื่อง 22 วันที่ประเทศไทยเริ่มทยอยเปิดให้ผู้โดยสารแบบกักตัวรอผลเพียง 1 วัน ทำให้อาคารผู้โดยสารขาเข้าระหว่างประเทศ สนามบินสุวรรณภูมิคึกคักต่อเนื่องจริงๆ สำหรับอาคารผู้โดยสารขาเข้าภายในประเทศก็มีผู้โดยสารเดินทางเข้ามาแบบเรื่อยๆ เช่นกัน เป็นสัญญาณที่ดีมากๆ
จ่ายเงินค่านายหน้าให้คนต่างชาติอาจไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 881 Yellowการบัญชี
โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ โทร 0970091656 หรือไลน์ @Yellowtraining
ค่าอะไหล่ ค่าซ่อม หักณที่จ่าย อย่างไร 2564-2565
ค่าอะไหล่ ค่าซ่อม หักณที่จ่าย อย่างไร 25642565
.
กรณี การขายสินค้าพร้อมบริการติดตั้ง
โดยออกใบกำกับภาษีหรือใบแจ้งหนี้ค่าสินค้าและค่าบริการติดตั้งแยกออก
จากกันเป็น 2 ฉบับ คือ ค่าสินค้าหนึ่งฉบับและค่าบริการติดตั้งหนึ่งฉบับหรือออกใบกำกับภาษี ฉบับเดียวแต่แยกรายการคือสินค้า หนึ่งรายการและค่าบริการติดตั้งอีกหนึ่งรายการ
.
เฉพาะค่าบริการที่แยกออกจากราคาสินค้า เข้าลักษณะเป็นเงินได้จากการรับจ้างทำของผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย โดยคำนวณหักไว้ในอัตราร้อยละ 3.0 .
ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับข้อ 8 ของคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.4/2528 ฯ ลงวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2528
.
กรณี การให้บริการซ่อมแซมบำรุงรักษา
โดยออกใบกำกับภาษีหรือใบแจ้งหนี้
ค่าอุปกรณ์และบริการติดตั้งฉบับเดียวกันแต่แยกราคาค่าอุปกรณ์และค่าบริการออกจากกันเข้าลักษณะเป็นเงินได้จากการรับจ้างทำของ
.
ผู้จ่ายเงินได้จะต้องหักภาษี เงินได้ ณ ที่จ่าย จากยอดรวมมูลค่าสินค้าและค่าซ่อมแซม โดยคำนวณหักไว้ในอัตราร้อยละ 3.0
.
ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวล รัษฎากร ประกอบกับข้อ 8 ของคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. 4/2528 ฯ ลงวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2528
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
⭐คอร์สออนไลน์⭐
1. บัญชีภาษีขายของออนไลน์ LAZADA SHOPEE FACEBOOK
2. วางแผนภาษี เลิกกิจการ บริษัท ห้างหุ้นส่น บุคคลธรรมดา
3. เปิดบริษัทใหม่ ต้องทำอะไรบ้าง
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
สมัครเรียน:
📌 อินบ้อค: https://m.me/aomsinleader
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
บัญชีภาษีขายของออนไลน์ บัญชีภาษีวันละคลิป ขายของออนไลน์ แม่ค้า แม่ค้าออนไลน์ พ่อค้าออนไลน์ ธุรกิจออนไลน์ หาเงินออนไลน์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ถ้าผู้รับเงินไม่ยอมให้หัก ต้องทำอย่างไร
กิจการที่เป็นนิติบุคคล ต้องมีหน้าที่ หัก ภาษี ณ ที่จ่าย เมื่อมีการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าขนส่ง ค่าโฆษณา ค่าบริการ ไม่ว่าผู้รับเงินจะเป้นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ตาม (ตามมาตรา 50 และ ท.ป.4/2528 แห่งประมวลรัษฎากร)
ในทางปฏิบัติ หากผู้รับเงินเป็นนิติบุคคลก็อาจจะยอมให้หัก ณ ที่จ่ายได้ แต่ถ้าผู้รับเงินเป็นบุคคลธรรมดา เขามักไม่จะยอมให้หัก ณ ที่จ่าย เพราะอยากได้เงินเต็มจำนวนมากกว่า
แล้วเราในฐานะผู้จ่ายเงิน จะต้องทำอย่างไรให้ถูกต้อง ไปฟังในคลิปกันเลย
.
Timestamp⏱️
00:00 Intro ภาษีหัก ณ ที่จ่าย มีหลักการอย่างไร
00:47 ปัญหาที่มักเจอกันบ่อยๆ
01:54 วิธีการแก้ปัญหา
02:07 วิธีการคำนวณค่าใช้จ่าย และ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
04:01 ทำไมต้องเลือกช่อง \”ออกให้ตลอดไป\”
05:00 ภาษีที่ออกแทน ลงเป็นค่าใช้จ่ายได้ไหม?
05:22 ลืมหัก ณ ที่จ่าย ต้องทำยังไง?
06:04 ลืมหัก ณ ที่จ่าย จะลงค่าใช้จ่ายได้ไหม?
.
Vee Business Tutor สอนวิชาบัญชี ภาษีและวิชาคำนวณ📘
ติดตามได้ตามช่องทางต่างๆตามนี้เลยจ้า🎉
FB Page: https://bit.ly/3kRt2mI
Tiktok: https://bit.ly/3BKH1AP
Line: https://lin.ee/TZ8DUsy
.
ภาษีหักณที่จ่าย
ใบ50ทวิ
ภาษีเงินได้
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ค่าขนส่ง ค่าบริการ และค่าเช่า
รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 129 สถาบันYellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง โทร 0970091656 หรือไลน์ Yellow_Accounting
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE A WEBSITE