กฎหมายแรงงานฉบับใหม่เพิ่มสิทธิลูกจ้าง
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
หลังที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างกฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ซึ่งเพิ่มสิทธิและสวัสดิการแก่ลูกจ้างมากขึ้น ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยมองว่า เนื้อหากฎหมายอาจไม่ตอบโจทย์และแก้ปัญหาของลูกจ้างได้จริง
►http://www.tnamcot.com/view/5995c21be3f8e406ba215b47
✮สมัครรับข้อมูลฟรี! Subscribe ► https://www.youtube.com/tnamcot
✮ชมทุกตอน \”ชัวร์ก่อนแชร์\” ►https://goo.gl/zmgfeG
✮ข่าวดังข้ามเวลา ► https://goo.gl/rKcCQq
✮สกู๊ปพิเศษ ► https://goo.gl/Yw0ZIw
✮เห็นแล้วอึ้ง ► https://goo.gl/zFvXUA
✮เกษตรทำเงิน ► https://goo.gl/zF5aWu
✮เกษตรสร้างชาติ ► https://goo.gl/iSr814
✮ภาพมุมมองใหม่ | ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง ► https://goo.gl/Z9DVHZ
คลิกชม
1.สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ► https://goo.gl/IPLmNK
2.พระราชกรณียกิจพระมหากรุณาธิคุณ ► https://goo.gl/XH7ayo
3.คนไทยหัวใจ♥รักในหลวง ► https://goo.gl/CKPWpl
ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD หมายเลข 30 | Thai News Agency MCOT
► เว็บ http://www.tnamcot.com
► เฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/tnamcot
► แอดไลน์ (LINE) @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/tnamcot
► อินสตาแกรม https://instagram.com/tnamcot
► ยูทูบ https://www.youtube.com/tnamcot
► ชมข่าวย้อนหลัง https://www.youtube.com/tnamcot
พบหมอแรงงาน EP5 เงินโบนัส
\”เงินโบนัส\” เป็นเหมือนเงินพิเศษที่นายจ้างให้เป็นผลตอบแทนต่อลูกจ้างที่ทำงานดี ไม่ทุจริตต่อหน้าที่ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะมาจากผลกำไรที่บริษัทหรือองค์กรทำได้ในปีนั้น ๆ ยิ่งกำไรเยอะ ผลประกอบการดี โอกาสได้โบนัสจำนวนมากก็ยิ่งสูงตาม แต่จะได้มากน้อยแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับการประเมินผลงานของลูกจ้างแต่ละคนอีกที
อย่างไรก็ดี โบนัสไม่ใช่เงินที่กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายให้ลูกจ้าง เพราะตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน เงินที่กฎหมายกำหนดนั้น ประกอบด้วย
ค่าจ้าง : เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำงาน
ค่าล่วงเวลา : เงินค่าตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน
ค่าทำงานในวันหยุด : เงินค่าตอบแทนการทำงานในวันหยุด
ค่าล่วงเวลาในวันหยุด : เงินค่าตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันหยุด
ค่าชดเชย : เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้าง
ค่าชดเชยพิเศษ : เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อสัญญาจ้างสิ้นสุดลงเพราะมีเหตุกรณีพิเศษที่กำหนดใน พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
เงินสมทบ : เงินที่นายจ้างจ่ายสมทบให้แก่ลูกจ้างเพื่อส่งเข้าสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
ดังนั้น จะเห็นว่าไม่มีเงินโบนัสในข้อกำหนดดังกล่าว หมายความว่า นายจ้างจะจ่ายหรือไม่จ่ายโบนัสก็ได้ ไม่ผิดกฎหมายใด ๆ เพราะแต่ละที่อาจจะมีเหตุผลในการไม่จ่ายโบนัสที่แตกต่างกันไป เช่น ผลประกอบการไม่ดี ทำกำไรได้ไม่ถึงเป้า หรือจำเป็นต้องใช้เงินในการลงทุน เป็นต้น
ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!
ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!
ปัญหาหนังชีวิต…กับการงานที่เราว่ามั่นคง
แต่!มันไม่มั่นคงถูกให้ออกซะงั้น
ยิ่งตอนนี้จิ้มคนออกกันเป็นว่าเล่น หลายๆบริษัทปิดตัวลง
เครียดกันเลยทีเดียว…
เราควรรู้ไว้ไม่ให้โดน \”นายจ้างหัวหมอ\” และ \”ผู้รู้กฎหมายหัวหมอของบริษัท\”เอาเปรียบเราลูกจ้างตาดำๆ
มีลูกไว้บอกลูก! มีหลานไว้บอกหลาน! มีพ่อไว้บอกพ่อ! มีแม่ไว้บอกแม่!
ติดตามกันเลย
รู้ไว้ไม่ชีช้ำ แชร์วนวนไป ขอบคุณทุกๆไลค์และแชร์ เลิกจ้าง ทนายคู่ใจคลายทุกข์
ติดตามทาง FB : ทนายคู่ใจ คลายทุกข์
ลากิจได้เงิน ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๓๔ ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ปีละไม่น้อยกว่าสามวันทำงาน”
=====================================
มาตรา ๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๕๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
“มาตรา ๕๗/๑ ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างในวันลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นตามมาตรา ๓๔
เท่ากับค่าจ้างในวันทำงานตลอดระยะเวลาที่ลา แต่ปีหนึ่งต้องไม่เกินสามวันทำงาน”
============================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/
นายจ้างหักเงินประกันการทำงาน 【ตอบคำถามกฎหมายแรงงานและประกันสังคม EP.19】
จากคำถาม
\”สวัสดีครับ อยากถามว่าในกรณีบริษัทหักเงินประกันงานครบแล้วและให้พนักงานยืมเงินส่วนนั้น(เงินตัวเอง)ได้ไม่เกินจำนวนเงินที่โดนหักไว้
1.หากเรายืมเงินส่วนนั้นทางบริษัทมีสิทธิ์คิดดอกเบี้ยเราด้วยได้ไหม
2.เงินที่ถูกหักไว้เมื่อลาออกทางบริษัทควรจะคิดดอกเบี้ยให้เราด้วยไหม
ทั้ง2ข้อที่กล่าวมาทางบริษัทไม่ได้มีข้อตกลงไว้ แต่ดำเนินการตามคำสั่งของเจ้าของบริษัทอย่างเดียว คนเสียเปรียบคือพนักงาน ขอบคุณครับ\”
อ่านประกาศที่เกี่ยวข้องได้ที่ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/112/10.PDF
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE A WEBSITE