Skip to content
Home » [Update] | for อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

[Update] | for อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

for อ่าน ว่า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

การเรียกชื่อแอนไอออน และออกซีแอนไอออน

สรุปการเรียกชื่อของแอนไอออนและออกซีแอนไอออน

1. แอนไอออนลงท้ายด้วย -ide เช่น simple anion ____ide (Chloride,Cl-)

2. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้ 2 ออกซีแอนไอออน ลงท้ายด้วย -ite และ -ate เช่น form with less oxygen _____ite ion (nitrite ion, NO2-) ,form with more oxygen _____ate ion(nitrate ion,NO3-)

3. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้มากกว่า 2 ออกซีแอนไอออน เช่น hypo___ite,hypochlorite,ClO-___ite,Chlorite,ClO2-_____ate,Chlorate,ClO3-per____ate,perchlorate,ClO4-

การเรียกชื่อสามัญ

การตั้งชื่อสามัญ (Common name) ตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของการพบสารนั้น เช่น

Na2SO4เรียกว่า Glauber’s salt ให้เกียรติแก่ J.F.Glauber ซึ่งเป็นผู้ค้นพบ
NH4Cl เรียกว่า sal ammoniac มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน
C6H4(HO)COOCH3(methyl salicylate) เรียกว่า oil of wintergreen
SbCl3เรียกว่า butter of antimony ตามลักษณะทางกายภาพที่พบ

การเรียกชื่อสารอินทรีย์

ในสมัยแรก ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เนื่องจากมีสารที่พบไม่มากนักจึงมักจะเรียกชื่อตามที่นักเคมีคิดว่าเหมาะสม ซึ่งอาจจะเรียกชื่อตามสิ่งที่พบหรือตามสถานที่พบ ชื่อที่เรียกโดยไม่มีกฎเกณฑ์เหล่านี้ เรียกว่าชื่อสามัญ (common name) ต่อ มาเมื่อมีการค้นพบสารอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น การเรียกชื่อสามัญจึงเริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากชื่อสามัญส่วนมากจะไม่มี ส่วนสัมพันธ์กับชนิดของสารหรือไม่มีส่วนสัมพันธ์กับสูตรโครงสร้าง ทำให้ยากแก่การจดจำว่าสารดังกล่าวนั้นเป็นสารประเภทใด มีสูตรโครงสร้างเป็นอย่างไร โดยเฉพาะสารที่มีสูตรโครงสร้างคล้าย ๆ กันหรือที่มีสูตรโครงสร้างซับซ้อนจะเรียกชื่อสามัญไม่ได้

นักเคมีจึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อขึ้นใหม่ให้เป็นระบบเดียวกันว่า ระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) การเรียกชื่อในระบบ IUPAC นี้มีส่วนสัมพันธ์กับชนิดและสูตรโครงสร้างของสารจึงทำให้ง่ายแก่การจดจำ ซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ 

IUPAC

การเรียกชื่อระบบ IUPAC

เป็นการเรียกชื่อตามระบบสากล มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนจึงทำให้เรียกชื่อสารอินทรีย์ได้ทุกชนิด ทั้งที่เป็นโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่ หรือที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบง่าย และที่ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้จะทำให้ทราบชนิดและลักษณะโครงสร้างของสาร เพราะหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างสาร

การเรียกชื่อระบบ IUPAC เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1892 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยการประชุมร่วมกันของนักเคมีเพื่อวางกฎเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ ในครั้งแรกเรียกระบบการเรียกชื่อนี้ว่าระบบเจนีวา ต่อมาสหพันธ์นักเคมีระหว่างประเทศ (International Union of Chemistry) ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUC และเมื่อมีการค้นพบสารใหม่เพิ่มมากขึ้นจึงได้ปรับปรุงการเรียกชื่อใหม่อีก ครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUPAC ดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

หลักเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักดังนี้

1. ชื่อโครงสร้างหลัก เป็นส่วนที่แสดงลักษณะโครงสร้างหลักของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุด การเรียกชื่อโครงสร้างหลักจึงเรียกตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสาย ยาวที่สุด

2.คำลงท้าย เป็นส่วนที่เต็มท้ายชื่อโครงสร้างหลัก เพื่อแสดงว่าสารอินทรีย์นั้นเป็นสารประกอบประเภทใด เป็นสารประกอบประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว คำลงท้ายจะบอกให้ทราบถึงชนิดของหมู่ฟังก์ชันในโมเลกุล

3.คำนำหน้า เป็นส่วนที่เติมหน้าชื่อของโครงสร้างหลัก เพื่อจะบอกให้ทราบว่าในโครงสร้างหลักมีหมู่ฟังก์ชัน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมใดบ้างมาต่ออย่างละกี่หมู่และอยู่ที่ C ตำแหน่งใดในโครงสร้างหลัก การบอกตำแหน่งของส่วนที่มาต่อให้ใช้ตัวเลขน้อยที่สุด (ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของ C ในโครงสร้างหลัก)

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมซ้ำ ๆ กันมาเกาะให้บอกจำนวนโดยใช้ภาษากรีก เช่น di = 2 กลุ่ม, tri = 3 กลุ่ม, tetra = 4 กลุ่ม, penta = 5 กลุ่ม

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมหลายชนิดมาเกาะ ให้เรียกชื่อเรียงลำดับตามอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอย่าง

2-methyl- หมายถึง มี methyl group มาต่อที่ C ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก

3-hydroxy- หมายถึง มี OH มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 ในโครงสร้างหลัก

3-ethyl-2-methyl หมายถึง มี ethyl มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 และ methyl group มาต่อที่ C

ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก 

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

1. ให้เรียกชื่อของธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของธาตุที่อยู่ด้านหลังโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายของธาตุเป็น-ไอด์(-ide) ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

ไฮโดรเจน (H) ออกเสียงเป็น ไฮไดรต์
คาร์บอน (C) ออกเสียงเป็น คาร์ไบด์
ไนโตรเจน (N) ออกเสียงเป็น ไนไตรด์
ฟลูออรีน (F) ออกเสียงเป็น ฟลูออไรด์
คลอรีน (CI) ออกเสียงเป็น คลอไรต์
ออกซิเจน (O)ออกเสียงเป็น ออกไซต์

2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุไว้หน้าชื่อธาตุโดยวิธีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุจะระบุโดยใช้ชื่อตัวเลขในภาษากรีก ดังนี้

1 = มอนอ (mono)
2 = ได (di)
3 = ไตร (tri)
4 = เตตระ (tetra)
5 = เพนตะ (penta)
6 = เฮกซะ (hexa)
7 = เฮปตะ (hepta)
8 = ออกตะ (octa)
9 = โนนะ (nona)
10 = เดคะ (deca)

แต่มีข้อยกเว้น คือ ไม่ต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุที่อยู่ด้านหน้าในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้าน หน้ามีอยู่เพียงอะตอมเดียว และไม่จำเป็นต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้านหน้า เป็นธาตุไฮโดรเจน ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมก็ตาม

ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

N2O5Nเรียกว่า ไดโนโตรเจนเพนตะออกไซด์
N2Oเรียกว่า ไดโนโตรเจนมอนอกไซด์
CCI4เรียกว่าคาร์บอนเตตระคลอไรด์
SO2เรียกว่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์
COเรียกว่า คาร์บอนมอนนอกไซด์
CO2เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์
H2Sเรียกว่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่งเกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามด้วยธาตุหลังซึ่งเป็นไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) ดังนี้

1. เริ่มจากอ่านชื่อไอออนบวก (ธาตุโลหะ) ก่อน

2. อ่านชื่อธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) โดยเปลี่ยนเสียงสุดท้ายเป็น -ไอด์ (-ide) ดังตัวอย่างเช่น

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
MgO อ่านว่า แมกนีเซียมออกไซด์
Al2O3อ่านว่า อะลูมิเนียมออกไซด์

3. หากไอออนลบมีลักษณะเป็นกลุ่มธาตุ จะมีชื่อเรียกเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น No3-เรียกว่า ไนเดรต, CO32-เรียกว่า คาร์บอเนต, SO42-เรียกว่า ซัลเฟต OH-เรียกว่า ไฮดรอกไซด์ เป็นต้น ดังตัวอย่างเช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
Na2SO4อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่น

อออซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)

ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)

คลอรีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (iodide)

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloridr)
CaI2อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์ (Calcium iodide)

KBr อ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์ (Potascium bromide)
CaCl2อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride)

ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดีนวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่นFe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+และCu เกิดอิออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้

FeCl2อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ ( Iron (II) chloride )
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ( Cupper (I) sunfide )

FeCl3อ่านว่า ไอร์ออน(III) คลอไรด์ ( Iron (III) chloride )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ( Copper (II) sunfide )

2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่าถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต (Calcium carbonatX
KNO3อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต (Potascium nitrae)

Ba(OH)2อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์ (Barium hydroxide)
(NH4)3PO4อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต (Ammomium pospate)

การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

หลักการเรียกชื่อสารเชิงซ้อนและไอออนเชิงซ้อน
RULES FOR NAMING COORDINATION COMPLEXES

  • เรียกชื่อของไอออนบวกก่อนไอออนลบ
  • เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนต
  • ใช้ตัวเลขภาษากรีกระบุจำนวน mono-, di-, tri-, tetra-, penta-, hexa-, ในการใช้ระบุจำนวนลิแกนด์เมื่อลิแกนด์โดยมีความสัมพันธ์อย่างง่าย และใช้คำอุปสรรคในภาษากรีก bis-, tris-, and tetrakis- กับลิแกนด์ที่มีความซับซ้อน
  • ชื่อของลิแกนด์ในไอออนลบจะลงท้ายด้วย o, เช่น fluoro (F-), chloro (Cl-), bromo (Br-), iodo (I-), oxo (O2-), hydroxo (OH-), และ cyano (CN-)
  • มีลิแกนดด์เป็นกลางจำนวนเล็กน้อยใช้ชื่อสามัญ เช่น น้ำ ใช้ aquo (H2O), แอมโมเนีย ใช้ ammine (NH3), และคาร์บอนิล ใช้ carbonyl (CO)
  • การเรียงลำดับของลิแกนด์ให้เรียงลำดับดังนี้: ไอออนลบ โมเลกุลที่เป็นกลาง ไอออนบวก สำหรับลิแกนด์ที่มีประจุเหมือนกันให้เรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
  • ระบุเลขออกซิเดชันของอะตอมโลหะแทรนซิชันเป็นตัวเลขโรมันอักษรตัวใหญ่ตามหลังอะตอมโลหะ
  • ชื่อของไอออนเชิงซ้อนลบจะลงท้ายด้วย –

    ate

    เช่น Co(SCN)42-, อ่านว่า tetrathiocyanatocobaltate(II) ion เมื่อสัญลักษณ์ของโลหะแทรนซิชันมาจากภาษาละติน ให้ลงท้ายชื่อโลหะ ให้ลงท้ายชื่อด้วย

    -ate

    เช่น

    Fe

    ในไออนเชิงซ้อนลบ

    คำในภาษาละตินคือ

    ferrum

    ชื่อของ

    Fe

    จึงเป็น

    ferrate

    และของทองแดง

    Cu

    จึงเป็น

    cuprate

  • ชื่อของโลหะแทรนซิซันในไอออนเชิงซ้อนบวก ให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษตากปกติ และต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย

[Update] พจนานุกรม For คือ แปลภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย Dictionary แปลว่า คำแปล | for อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

The player will be placed here

  • for

    [pre. con.] แทน, ในฐานะเป็น, เป็น
    [pre. con.] โดยได้ (คะแนนเท่านั้นเท่านั้น), โดยต้องเสีย, โดยแลกกับ, เป็นการตอบแทน, เป็นค่า
    [pre. con.] เป็นจำนวน, เป็นระยะ, เป็นเวลา
    [pre. con.] ชั่ว, ตลอด (ชีพ), ระหว่าง
    [pre. con.] เพื่อ, ให้, ให้แก่
    [pre. con.] ด้วย, เพราะ
    [pre. con.] ในเรื่อง
    [pre. con.] แม้จะแลกกับ, แม้แต่เพื่อ
    [pre. con.] ถึง, ถึงแม้
    [pre. con.] ถือหางข้าง
    [pre. con.] หา, อยากมี อยากจะได้, เอา
    [pre. con.] เข้าใส่, ไปยัง
    [pre. con.] ถึงจะ, ที่จะ (ทำสิ่งใด), ที่จะเป็น
    [pre. con.] แก่, ของ, เป็นของ, สำหรับ
    [pre. con.] เฉพาะ, ในการส่วน
    [pre. con.] ต่อเมื่อคำนึงถึงว่า

    คำอ่าน ฟอ

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล อังกฤษ-ไทย อ. สอ เสถบุตรพจนานุกรม อังกฤษ-ไทย อ. สอ เสถบุตร


So Far, So Good ไม่ได้แปลว่า ไกลมาก ดีมาก นะ ๕๕๕


สอบถามเรื่องคอร์ส Line: Aj.Adam, Info.Hollywood, KhunBaiTuey
โทร 02 612 9300, 081 353 7810, 089 422 4546
สนใน sponsor คลิปอาจารย์อดัมติดต่ออีเมล [email protected] หรือโทร 02 612 9300
เรียนกับอดัม: http://www.facebook.com/hollywoodlearning
เรียนออนไลน์กับอดัม: http://www.ajarnadam.tv
FBของอดัม: http://www.facebook.com/AjarnAdamBradshaw
Twitter: http://twitter.com/AjarnAdam
FBของซู่ชิง: http://www.facebook.com/jitsupachin
YouTube ของซู่ชิง: http://www.youtube.com/user/jitsupachin
Twitter ซูชิง: http://twitter.com/Sue_Ching

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

So Far, So Good ไม่ได้แปลว่า ไกลมาก ดีมาก นะ ๕๕๕

มันแปลว่าฮัก แฮ็คส์ วิษณุกรณ์ Cover Version คอนเสิร์ตกลุ่มปิดวงอ้ายมีผัวแล้ว ปะทะ ไทรถแห่


คอนเสิร์ตกลุ่มปิดวงอ้ายมีผัวแล้ว ปะทะ ไทรถแห่
วงอ้ายมีผัวแล้ว
ไทรถแห่
โชค โชคมงคลเจน เจนเจ้าค่ะ
แฮ็คส์ วิษณุกรณ์บิ๋ว พรประภา สมสุข
หรรมเคียวChannel ภูไทสตูดีโอ บ่าวภูไทใจเกินร้อย ลี่นำ
ฝากติดตาม กดไลค์ กดแชร์ ด้วยน่ะคับ

มันแปลว่าฮัก แฮ็คส์ วิษณุกรณ์ Cover Version คอนเสิร์ตกลุ่มปิดวงอ้ายมีผัวแล้ว ปะทะ ไทรถแห่

ชีวิตคืออะไร (ตอน1) พระพุทธเจ้าตอบไว้อย่างไร? EP11


ชีวิตคืออะไร พระพุทธเจ้ากลับตอบว่า ชีวิตประกอบด้วยอะไร แตกต่างจากพราหมณ์ที่ตอบว่าประกอบด้วย ร่างกาย (มิ่ง) และดวงวิญญาณ (ขวัญ) ค้นหาคำตอบของพระองค์ที่แม้แต่นักวิทยาศาสตร์ยังทึ่ง EP11 ขันธ์

ชีวิตคืออะไร  (ตอน1) พระพุทธเจ้าตอบไว้อย่างไร? EP11

รักแท้แพ้ใกล้ชิด : ปาน ธนพร | Official MV


LINE MUSIC : https://goo.gl/R3sWq9
Download on iTunes : https://goo.gl/gVHjH1
Download Mp3 : http://goo.gl/VJMhQJ
Digital Download : 3390
รักแท้แพ้ใกล้ชิด : ปาน ธนพร
แล้วข่าวร้าย ก็ฟ้องได้ตำตา เหมือนเข็มมันทิ่มลงมาทั้งร่างกาย ยิ่งถามตัวเอง ว่าเป็นเพราะใคร ยิ่งเจ็บยิ่งทรมาน เพื่อนหนึ่งคน ที่รู้ใจเรื่อยมา และเขาที่คบกันมาก็เนิ่นนาน อยู่ใกล้เกินไป ก็เลยไหวหวั่น จนแอบรักกันหมดใจ เจ็บตรงนี้ที่ได้แต่ซื่อเกินไป ปวดตรงนี้ที่ได้แต่โง่งมงาย วางน้ำมันให้อยู่ใกล้ใกล้กองไฟ ไว้ใจ แต่ไม่นึกเลย ถูกเขาหักหลัง หัวใจพังยับเยิน อยากจะถามเหลือเกินทำได้ไง ยิ่งคิดยิ่งช้ำ สองคนพูดสองคำเสียใจ ถ้าเสียใจ…ทำไมถึงทำ เหมือนให้แมว คอยเฝ้าดูปลาย่าง ไม่คิดระแวดระวังเพราะเชื่อใจ เพิ่งรู้จริงจริง ว่าความชิดใกล้ มันเปลี่ยนหัวใจบางคน (ซ้ำ , ), (ซ้ำ ) ความรักแท้แท้แพ้คนใกล้ชิดกันใช่ไหม วันนี้…ฉันจะได้รู้
ติดตามข่าว ภาพประทับใจ จากศิลปิน RS ที่คุณชื่นชอบ
Fanpage : https://www.facebook.com/rsfriendspage
http://www.rsfriends.com
สมัครรับข่าวจาก youtube RSFRIENDS คลิ๊ก : http://bit.ly/subrsfriends
โตมากับอาร์เอส ปานธนพร รักแท้แพ้ใกล้ชิด Parn

รักแท้แพ้ใกล้ชิด : ปาน ธนพร | Official MV

ภาษาอังกฤษ w อ่านว่าอย่างไร และอ่าน A-Z จากเจ้าของภาษา อเมริกัน และ อังกฤษ


วันนี้นะครับจะมาแก้ไขสำหรับคำที่อ่านออกเสียงผิดไปนะคับพอดีพูดติดปากมานาน รีบพูดเกินไปเลยออกเสียงไม่ถูกต้องนะครับ ก็คือคำนี้ w วันนี้จะมาแก้ให้ถูกต้องนะคับ จะอ่านว่าอย่างไร ดูในคลิปได้เลย

ภาษาอังกฤษ w อ่านว่าอย่างไร และอ่าน A-Z  จากเจ้าของภาษา อเมริกัน และ อังกฤษ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ for อ่าน ว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *