Skip to content
Home » [Update] BH แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์ | ภูฏาน ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

[Update] BH แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์ | ภูฏาน ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

ภูฏาน ภาษาอังกฤษ: คุณกำลังดูกระทู้

อภิเษก[n.] (aphisēk) EN: lustration ; water-pouring ceremony ; abhiseka   FR: onction sainte [f] ; lustration [f]
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ[n. prop.] (Aphisit Wētchāchīwa) EN: Abhisit Vejjajiva   FR: Abhisit Vejjajiva
บรรพชิต[n.] (banphachit = bapphachit) EN: priest ; bhiksu ; Buddhist monk ; bhiksuni ; Buddhist nun ; samanera ; male novice ; samanerika ; female novice   FR: religieux [m] ; religieuse [f] ; moine bouddhiste [m] ; moniale bouddhiste [f]
ชัง[v.] (chang) EN: hate ; detest ; despise ; abhor ; loathe ; dislike ; abominate   FR: détester ; haïr ; abhorrer ; mépriser ; avoir en horreur ; abominer
หัวข้อย่อย[n. exp.] (hūakhø yøi) EN: subtopic ; secondary subject ; subheading   
แขยง[v.] (khayaēng) EN: be filled with revulsion ; loathe ; abhor ; feel a repugnance ; regard with disgust ; feel nauseated   FR: éprouver de la répulsion/du dégoût ; donner la nausée
ขยะแขยง[v.] (khayakhayaēng) EN: be disgusted ; be revolted ; be repelled ; abhor ; detest ; loathe   FR: être dégoûté ; éprouver de la répulsion ; exécrer ; détester
เกลียด[v.] (klīet) EN: hate ; detest ; abhor ; despise ; loathe ; dislike   FR: haïr ; détester ; abominer ; abhorrer
เกลียดชัง[v.] (klīetchang) EN: loathe ; hate ; detest ; despise ; abhor   FR: haïr ; détester ; abominer ; abhorrer
หลวงพ่อ[n. prop.] (Lūang Phø) EN: Reverend Father ; venerable bhikku ; elder monk   

[Update] BH แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์ | ภูฏาน ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

อภิเษก[n.] (aphisēk) EN: lustration ; water-pouring ceremony ; abhiseka   FR: onction sainte [f] ; lustration [f]
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ[n. prop.] (Aphisit Wētchāchīwa) EN: Abhisit Vejjajiva   FR: Abhisit Vejjajiva
บรรพชิต[n.] (banphachit = bapphachit) EN: priest ; bhiksu ; Buddhist monk ; bhiksuni ; Buddhist nun ; samanera ; male novice ; samanerika ; female novice   FR: religieux [m] ; religieuse [f] ; moine bouddhiste [m] ; moniale bouddhiste [f]
ชัง[v.] (chang) EN: hate ; detest ; despise ; abhor ; loathe ; dislike ; abominate   FR: détester ; haïr ; abhorrer ; mépriser ; avoir en horreur ; abominer
หัวข้อย่อย[n. exp.] (hūakhø yøi) EN: subtopic ; secondary subject ; subheading   
แขยง[v.] (khayaēng) EN: be filled with revulsion ; loathe ; abhor ; feel a repugnance ; regard with disgust ; feel nauseated   FR: éprouver de la répulsion/du dégoût ; donner la nausée
ขยะแขยง[v.] (khayakhayaēng) EN: be disgusted ; be revolted ; be repelled ; abhor ; detest ; loathe   FR: être dégoûté ; éprouver de la répulsion ; exécrer ; détester
เกลียด[v.] (klīet) EN: hate ; detest ; abhor ; despise ; loathe ; dislike   FR: haïr ; détester ; abominer ; abhorrer
เกลียดชัง[v.] (klīetchang) EN: loathe ; hate ; detest ; despise ; abhor   FR: haïr ; détester ; abominer ; abhorrer
หลวงพ่อ[n. prop.] (Lūang Phø) EN: Reverend Father ; venerable bhikku ; elder monk   


นายกฯภูฏาน ใช้เวลาว่างวันเสาร์ผ่าตัดให้ ปชช ปลดปล่อยความเครียด


สอบถามเรื่องคอร์สได้ที่ไลน์ @ajarnadam หรือโทร 02 612 9300
รายละเอียดคอร์ส http://www.ajarnadam.tv/
FB: http://www.facebook.com/AjarnAdamBradshaw
IG: https://www.instagram.com/ajarnadam
Twitter: http://twitter.com/AjarnAdam
ภาษาอังกฤษ อาจารย์อดัม AjarnAdam

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

นายกฯภูฏาน ใช้เวลาว่างวันเสาร์ผ่าตัดให้ ปชช  ปลดปล่อยความเครียด

ดินแดนแห่งมังกรสายฟ้า ภูฏาน :: หมอสองท่องโลก Morsong​ tonglok


สู่เมืองพาโร สักการะสิงศักดิ์สิทธิ์แห่งวัดในประเทศภูฏาน สัมผัสความงดงามของโบราณสถาน และธรรมชาติ ร่วมเดินทางไปกับหมอสอง ณ ประเทศภูฏานกันได้เลย

ดินแดนแห่งมังกรสายฟ้า ภูฏาน :: หมอสองท่องโลก Morsong​ tonglok

(ENG) Bhutan EP1 เมืองหลวงภูฏานเป็นยังไง เที่ยวหน้าแล้งสวยไหม?


ไปดูเมืองหลวงของภูฏาน และสถานที่ท่องเที่ยวใกล้ๆทิมปูกันค่ะ

(ENG) Bhutan EP1 เมืองหลวงภูฏานเป็นยังไง เที่ยวหน้าแล้งสวยไหม?

“ภูฏาน” ประเทศที่สุขไม่สุด | 29 ก.ค.63 | รอบโลก DAILY (5/5)


ในฐานะประเทศที่ได้ชื่อว่ามีความสุขที่สุดในโลก ภูฏานกลายมาเป็นแม่แบบให้แก่หลายชาติในการรักษาสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์วัฒนธรรม ตลอดจนพัฒนาอย่างยั่งยืน กระนั้นประเทศนี้มีความสุขจริงหรือ? เมื่อรายงานความสุขโลกที่จัดทำโดยสหประชาชาติกลับจัดอันดับภูฏานรั้งท้าย เพราะสำหรับคนในชาติแล้ว ภูฏานไม่ได้สมบูรณ์แบบเหมือนที่คนนอกมอง ที่นี่กำลังเผชิญกับปัญหามากมาย ที่ยาแห่งความสุขก็ไม่อาจแก้ได้

ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมที่เว็บไซต์ https://www.pptvhd36.com
และช่องทาง social media
Facebook : https://www.facebook.com/PPTVHD36
Twitter : https://twitter.com/PPTVHD36
Instagram : https://www.instagram.com/pptvhd36/
Line TV : https://tv.line.me/st/pptvhd36

“ภูฏาน” ประเทศที่สุขไม่สุด | 29 ก.ค.63 | รอบโลก DAILY (5/5)

ภูฏาน ประชากร ศาสนา และการท่องเที่ยว


ภูฏานได้สร้างแนวคิดใหม่ในการนิยามความเจริญก้าวหน้าแบบองค์รวม โดยการวัดความอยู่ดีมีสุขที่แท้จริงมากกว่าการบริโภค และกลายเป็นผู้นำในการเผยแพร่แนวคิดเรื่อง “ความสุขมวลรวมประชาชาติ” (Gross National Happiness : GNH) ซึ่งแนวคิดเรื่อง GNH ริเริ่มโดย King Jigme Singye Wangchuck กษัตริย์ภูฏาน ตั้งแต่วันที่ทรงขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1972
ภูฏานตั้งอยู่กลางเทือกเขาหิมาลัย ติดกับทิเบต ที่นี่มีเทือกเขาจำนวนมากจึงเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ได้รับการขนานนามว่าเป็นสวิตเซอร์แลนด์แห่งเอเชีย เสน่ห์ของประเทศแห่งนี้ คือ ความสวยงามทางธรรมชาติและความเรียบง่ายของวิถีชีวิตผู้คนที่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมไว้ได้เป็นอย่างดีโดยไม่ได้รับการรบกวนจากความเจริญภายนอก ที่นี่ไม่มีตึกสูงระฟ้า ไม่มีห้างใหญ่ๆ ไม่มีเขตเศรษฐกิจที่พลุกพล่าน มีแต่วัดและอาคารบ้านเรือนสถาปัตยกรรมแบบทิเบตที่สวยงามโดดเด่น เมื่อบวกกับวิถีชีวิตแบบเรียบง่ายของผู้คนที่นี่แล้วยิ่งทำให้ภูฏานเป็นเสมือนต้นแบบของประเทศสโลว์ไลฟ์อย่างแท้จริง
ภูฏาน อ่านว่า พูตาน
ประเทศภูฏาน ในภาษาภูฏานนั้นมีความหมายว่า “ดินแดนแห่งมังกรสายฟ้า” ภูฏานในช่วงที่มีพายุเข้านั้นเวลาฟ้าร้องฟ้าผ่า เสียงจะก้องและดังกว่าปกติ เสมือนมังกรที่กำลังแผลงฤทธิ์ตามจินตนาการของคนภูฏาน ส่วนคำว่าภูฏาน ที่คนไทยเรียกกัน (อ่านว่า พูตาน) มาจากคำสมาสในภาษาสันสกฤต ภูอุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า \”แผ่นดินบนที่สูง\” นั้นเอง
ภูฏาน เที่ยว ภูฏานไม่ได้จำกัดนักท่องเที่ยวเข้าประเทศต่อปี ประเทศภูฏานนั้นไม่มีนโยบายจำกัดนักท่องเที่ยวอย่างที่หลายๆ ท่านเคยได้ยินมาว่าต้องจองคิวเพื่อดำเนินการทำวีซ่าเข้าประเทศ แท้ที่จริงแล้วนั้นเป็นเพียงการจำกัดนักท่องเที่ยวโดยทางอ้อม จากจำนวนสายการบินที่สามารถบินเข้าประเทศภูฏานได้มีเพียง 2 สายการบิน คือ Bhutan Airlines และ Drukair, ขนาดของเครื่องบิน, จำนวนนักบินที่ได้รับอนุญาตให้บินเข้าภูฏานมีเพียงไม่กี่ท่าน และจุดเริ่มต้นในการเดินทางไปภูฏานมีเพียงไม่กี่ประเทศ เช่น ไทย กรุงเทพฯ, อินเดีย เดลี, กัลกาตาร์, คยา, เนปาล, สิงคโปร์ เป็นต้น จึงทำให้มีนักท่องเที่ยวทั่วโลกต่างพากันจับจองที่นั่งว่างที่มีอยู่อย่างจำกัด หากต้องการเดินทางไปภูฏานอันดับแรกควรจะเช็คที่นั่งว่างและจองที่นั่งกับสายการบินก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถเดินทางได้ ภูฏานสามารถเที่ยวได้ทุกฤดู ไม่เฉพาะช่วง High Season
เที่ยวภูฏานนั้นมี 4 ฤดู คือ
ฤดูใบไม้ผลิ มีนาคม – พฤษภาคม ฤดูใบไม้ร่วง กันยายน – พฤศจิกายนซึ่งจะเป็นช่วง High Season
ฤดูร้อน มิถนายน – สิงหาคม ฤดูหนาว ธันวาคม – กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นช่วง Low Season โดยในแต่ละฤดูนั้นมักจะมีความโดดเด่น สวยงามและมีเอกลักษณ์ของธรรมชาติเฉพาะตัว ขึ้นอยู่กับว่าท่านชอบแบบไหน
ภูฏาน สกุลเงิน ของภูฏานเรียกว่านิงูตรัม (Ngultrum) มีตัวย่อสกุลเงินคือ NU หน่วยเงินภูฏานผูกติดกับเงินอินเดียรูปีซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศ การเตรียมตัวแลกเงินจากประเทศไทยควรแลกเงินรูปีหรือเงินดอลลาร์ไปก่อน จากนั้นค่อยไปเปลี่ยนเป็นเงินนิงูตรัมที่ภูฏาน หรือหากใครอยากใช้เงินรูปีก็สามารถทำได้ อย่างไรก็ตามก่อนเดินทางกลับประเทศไทยควรทำการแลกเงินนิงูตรัมที่มีอยู่เป็นดอลลาร์หรือรูปีก่อน เพราะเงินนิงูตรัมจะไม่สามารถแลกคืนเป็นเงินบาทที่ไทยได้
ภูฏาน ศาสนา พุทธ เป็นศาสนาประจำชาติของประเทศภูฏาน ชาวภูฏานเป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด การเข้าชมสถานที่สำคัญทางศาสนาภายในภูฏานควรแต่งกายให้มิดชิดเพื่อให้เกียรติสถานที่ ประชาชนชาวภูฏานนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน (ตันตรยาน หรือบ้างก็เรียกว่าวัชรยาน) 75% ศาสนาฮินดู 24% ศาสนาอิสลาม 0.7% และศาสนาคริสต์ 0.3%
ภูฏาน การเข้ามาของพระพุทธศาสนาในครั้งแรก
ปี พ.ศ. 2112 ท่านงาวังนัมเยล ผู้นำนิกายดรุกปะกัคยุ เป็นอวตารของคุงเกนปัทมะการ์โป ระหว่างการนั่งสมาธิ 3 ปี มีรูปปั้นบิดา และเทพเจ้าปรากฏตัว และบอกให้ท่านรวบรวมอาณาจักรภูฏาน ให้เป็นหนึ่งเดียว ดังนั้นจึงได้เดินทางมายังภูฏาน ระหว่างทาง กอนวังโซเลม ผู้ครองนครกลาสา นิมนต์ให้ท่านสอนหลักธรรมและอวยพรให้ชาวเมืองของตน จากนั้นท่านก็ได้เดินทางต่อมายังทิมพู มีเทพเคนเยชาบามิเลนปรากฏตัวมาบอกท่านว่า ภูฏานต้องการให้ท่านอยู่เพื่อป้องกันศัตรูรุกราน ท่านเดินทางไปยังพาโรแล้วสอนหลักธรรมนิกายดรุกปะกัคยุอย่างเป็นทางการ แต่ก็มีท่านสังเดสีโชนัมเยลที่เคยมาแย่งพระบรมสารีริกธาตุยกพลมารุกราน แต่ก็พ่ายแพ้ไปอย่างราบคาบ ชาวเมืองกล่าวว่ามีเทพช่วยบัญชาการรบ และก็เห็นงาวังนัมเยลออกบัญชาการรบขณะนั่งสมาธิ มีฝูงแร้งรอบินกินซากศพของทหารฝ่ายข้าศึก จากนั้นท่านก็ได้มอบทังคุซองจากท่านเทวังเทนซิน ท่านก็ได้ถวายพระอวโลกิเตศวร แกะสลักด้วยไม้จันทน์ตอบแทน รูปแกะสลักนี้ศักดิ์สิทธิ์เนื่องจากเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ ท่านสามารถรวบรวมเมืองน้อยใหญ่ได้ จนได้ฉายาว่า ซับดรุง ซึ่งหมายความว่า ผู้ที่ทุกคนต้องยอมสิโรราบให้ จากนั้นก็ได้วางรากฐานการปกครองของภูฏานด้วยกฎหมายทางพุทธจักร และทางอาณาจักร เนื่องจากมีอำนาจทั้งสองด้าน ท่านได้สร้างสถานที่สำคัฐไว้หลายแห่งเช่น พูนาคาซอง (สถานที่ประกอบพิธีสถาปนาสังฆราช) เป็นต้น ส่วนกษัตริย์เนปาล ซึ่งเลื่อมใสได้ถวายสถูปโพธินาถ และสถูปสวยัมภูวนาถ ครั้งหนึ่งที่พระองค์ได้ไปสร้างซองที่ชื่อว่า \”ซิมโทกาซอง\” แล้วพำนักที่นั่นจนมีบุตรกับนางทรีชัม คอลการ์ ดอร์มา บุตรนั้นก็ศึกษาคำสอนของนิกายดรุกปะกัคยุ เช่นกัน พุทธศาสนานั้น ทำให้ชาวภูฏาน เต็มไปด้วยความโอบอ้อมอารี จริงใจ และน่าคบค้าสมาคม
ภูฏาน ศาสนา เที่ยว

ภูฏาน ประชากร ศาสนา และการท่องเที่ยว

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ภูฏาน ภาษาอังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *