Skip to content
Home » [Update] [แปลเพลง] Michael Carreon | simple อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

[Update] [แปลเพลง] Michael Carreon | simple อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

simple อ่าน ว่า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

เป็นอีกหนึี่งในเพลงที่แนะนำมาโดยยูทูปค่ะเพลงนี้ หลังจากฟัง ๆ ไปพบว่าเนื้อเพลงค่อนข้างเขินมาก ๆ เลย (ฮ่า) มันทั้งน่ารัก ฟังสบาย และก็เหมือนโดนจีบในเวลาเดียวกันเลยค่ะ แต่น่าแปลกที่เหมือนจะไม่เจอเพลงนี้แบบที่มีเอ็มวีเลย

ส่วนเพลงนี้เป็นผลงานของคุณ Michael ค่ะ ปล่อยออกมาเมื่อห้าปีที่แล้ว หรือก็คือตอนปี 2014 นั่นเอง เป็นเพลงแนว R&B/Soul ทำให้ฟังง่าย เรื่อย ๆ และได้ vibe ที่ออกแนวฟังเพลินขณะกำลังขับรถ road trip ค่ะ

The Simple Things


It’s the simple things you do

I just can’t get enough of you

It’s that perfume that you wear and

The way you do your hair

That I love so much

And it’s the simple things you say

And how in bed we play

It’s the way you kiss my cheek when you think that I’m asleep

I love it so much

I love you words I never say friends make fun

but I tell you every day anyway lately you

been getting me home safely

Wake up love the coffee that you make

Ask me how my night was I like us its so easy and

we don’t ever fight cause you don’t blow up

my phone when your home alone

Assuming that I’m doing what a guy does

Trust with just the right amount of lust

Even loved by my family that a must and fun

everything we do me and you

My song comes on and you dance n sing too

with the windows down like Gs we

don’t care who’s around or who sees

And everyone is jealous of my ride because

you sitting in the passenger side

It’s the simple things you do

I just can’t get enough of you

It’s that perfume that you wear and

The way you do your hair

That I love so much

And it’s the simple things you say

And how in bed we play

It’s the way you kiss my cheek when you think that I’m asleep

I love it so much

Everyday scrubbing it loving it cruising freeways

in our PJs cause that’s the fun of it unless

You wear that pretty black dress O yes

Catch me in a suit so I can look as good as you but I don’t

O well with a that smile that you wear so well

And the way that you cry in movies pass

you the ball and you pass it back to me

Beer s with the guys aint no thing

it’s your eyes and the simple things

That make this work like it should

when you rock my shirt o you look so good

So take my hand stay as long as you can with the man

That tells all the jokes only you understand and I promise

to be honest if you promise to

accomplish love

(And it’s the simple things you do)all we need is love

I just can’t get enough of you

It’s that perfume that you wear

And the way you do your hair

That I love so much

And it’s the simple things you say

And how in bed we play

It’s the way you kiss my cheek

When you think that I’m asleep

I love it so much

เป็นอีกหนึี่งในเพลงที่แนะนำมาโดยยูทูปค่ะเพลงนี้ หลังจากฟัง ๆ ไปพบว่าเนื้อเพลงค่อนข้างเขินมาก ๆ เลย (ฮ่า) มันทั้งน่ารัก ฟังสบาย และก็เหมือนโดนจีบในเวลาเดียวกันเลยค่ะ แต่น่าแปลกที่เหมือนจะไม่เจอเพลงนี้แบบที่มีเอ็มวีเลยส่วนเพลงนี้เป็นผลงานของคุณ Michael ค่ะ ปล่อยออกมาเมื่อห้าปีที่แล้ว หรือก็คือตอนปี 2014 นั่นเอง เป็นเพลงแนว R&B/Soul ทำให้ฟังง่าย เรื่อย ๆ และได้ vibe ที่ออกแนวฟังเพลินขณะกำลังขับรถ road trip ค่ะ

[Update] | simple อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

การเรียกชื่อแอนไอออน และออกซีแอนไอออน

สรุปการเรียกชื่อของแอนไอออนและออกซีแอนไอออน

1. แอนไอออนลงท้ายด้วย -ide เช่น simple anion ____ide (Chloride,Cl-)

2. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้ 2 ออกซีแอนไอออน ลงท้ายด้วย -ite และ -ate เช่น form with less oxygen _____ite ion (nitrite ion, NO2-) ,form with more oxygen _____ate ion(nitrate ion,NO3-)

3. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้มากกว่า 2 ออกซีแอนไอออน เช่น hypo___ite,hypochlorite,ClO-___ite,Chlorite,ClO2-_____ate,Chlorate,ClO3-per____ate,perchlorate,ClO4-

การเรียกชื่อสามัญ

การตั้งชื่อสามัญ (Common name) ตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของการพบสารนั้น เช่น

Na2SO4เรียกว่า Glauber’s salt ให้เกียรติแก่ J.F.Glauber ซึ่งเป็นผู้ค้นพบ
NH4Cl เรียกว่า sal ammoniac มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน
C6H4(HO)COOCH3(methyl salicylate) เรียกว่า oil of wintergreen
SbCl3เรียกว่า butter of antimony ตามลักษณะทางกายภาพที่พบ

การเรียกชื่อสารอินทรีย์

ในสมัยแรก ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เนื่องจากมีสารที่พบไม่มากนักจึงมักจะเรียกชื่อตามที่นักเคมีคิดว่าเหมาะสม ซึ่งอาจจะเรียกชื่อตามสิ่งที่พบหรือตามสถานที่พบ ชื่อที่เรียกโดยไม่มีกฎเกณฑ์เหล่านี้ เรียกว่าชื่อสามัญ (common name) ต่อ มาเมื่อมีการค้นพบสารอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น การเรียกชื่อสามัญจึงเริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากชื่อสามัญส่วนมากจะไม่มี ส่วนสัมพันธ์กับชนิดของสารหรือไม่มีส่วนสัมพันธ์กับสูตรโครงสร้าง ทำให้ยากแก่การจดจำว่าสารดังกล่าวนั้นเป็นสารประเภทใด มีสูตรโครงสร้างเป็นอย่างไร โดยเฉพาะสารที่มีสูตรโครงสร้างคล้าย ๆ กันหรือที่มีสูตรโครงสร้างซับซ้อนจะเรียกชื่อสามัญไม่ได้

นักเคมีจึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อขึ้นใหม่ให้เป็นระบบเดียวกันว่า ระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) การเรียกชื่อในระบบ IUPAC นี้มีส่วนสัมพันธ์กับชนิดและสูตรโครงสร้างของสารจึงทำให้ง่ายแก่การจดจำ ซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ 

IUPAC

การเรียกชื่อระบบ IUPAC

เป็นการเรียกชื่อตามระบบสากล มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนจึงทำให้เรียกชื่อสารอินทรีย์ได้ทุกชนิด ทั้งที่เป็นโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่ หรือที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบง่าย และที่ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้จะทำให้ทราบชนิดและลักษณะโครงสร้างของสาร เพราะหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างสาร

การเรียกชื่อระบบ IUPAC เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1892 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยการประชุมร่วมกันของนักเคมีเพื่อวางกฎเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ ในครั้งแรกเรียกระบบการเรียกชื่อนี้ว่าระบบเจนีวา ต่อมาสหพันธ์นักเคมีระหว่างประเทศ (International Union of Chemistry) ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUC และเมื่อมีการค้นพบสารใหม่เพิ่มมากขึ้นจึงได้ปรับปรุงการเรียกชื่อใหม่อีก ครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUPAC ดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

หลักเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักดังนี้

1. ชื่อโครงสร้างหลัก เป็นส่วนที่แสดงลักษณะโครงสร้างหลักของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุด การเรียกชื่อโครงสร้างหลักจึงเรียกตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสาย ยาวที่สุด

2.คำลงท้าย เป็นส่วนที่เต็มท้ายชื่อโครงสร้างหลัก เพื่อแสดงว่าสารอินทรีย์นั้นเป็นสารประกอบประเภทใด เป็นสารประกอบประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว คำลงท้ายจะบอกให้ทราบถึงชนิดของหมู่ฟังก์ชันในโมเลกุล

3.คำนำหน้า เป็นส่วนที่เติมหน้าชื่อของโครงสร้างหลัก เพื่อจะบอกให้ทราบว่าในโครงสร้างหลักมีหมู่ฟังก์ชัน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมใดบ้างมาต่ออย่างละกี่หมู่และอยู่ที่ C ตำแหน่งใดในโครงสร้างหลัก การบอกตำแหน่งของส่วนที่มาต่อให้ใช้ตัวเลขน้อยที่สุด (ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของ C ในโครงสร้างหลัก)

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมซ้ำ ๆ กันมาเกาะให้บอกจำนวนโดยใช้ภาษากรีก เช่น di = 2 กลุ่ม, tri = 3 กลุ่ม, tetra = 4 กลุ่ม, penta = 5 กลุ่ม

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมหลายชนิดมาเกาะ ให้เรียกชื่อเรียงลำดับตามอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอย่าง

2-methyl- หมายถึง มี methyl group มาต่อที่ C ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก

3-hydroxy- หมายถึง มี OH มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 ในโครงสร้างหลัก

3-ethyl-2-methyl หมายถึง มี ethyl มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 และ methyl group มาต่อที่ C

ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก 

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

1. ให้เรียกชื่อของธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของธาตุที่อยู่ด้านหลังโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายของธาตุเป็น-ไอด์(-ide) ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

ไฮโดรเจน (H) ออกเสียงเป็น ไฮไดรต์
คาร์บอน (C) ออกเสียงเป็น คาร์ไบด์
ไนโตรเจน (N) ออกเสียงเป็น ไนไตรด์
ฟลูออรีน (F) ออกเสียงเป็น ฟลูออไรด์
คลอรีน (CI) ออกเสียงเป็น คลอไรต์
ออกซิเจน (O)ออกเสียงเป็น ออกไซต์

2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุไว้หน้าชื่อธาตุโดยวิธีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุจะระบุโดยใช้ชื่อตัวเลขในภาษากรีก ดังนี้

1 = มอนอ (mono)
2 = ได (di)
3 = ไตร (tri)
4 = เตตระ (tetra)
5 = เพนตะ (penta)
6 = เฮกซะ (hexa)
7 = เฮปตะ (hepta)
8 = ออกตะ (octa)
9 = โนนะ (nona)
10 = เดคะ (deca)

แต่มีข้อยกเว้น คือ ไม่ต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุที่อยู่ด้านหน้าในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้าน หน้ามีอยู่เพียงอะตอมเดียว และไม่จำเป็นต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้านหน้า เป็นธาตุไฮโดรเจน ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมก็ตาม

ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

N2O5Nเรียกว่า ไดโนโตรเจนเพนตะออกไซด์
N2Oเรียกว่า ไดโนโตรเจนมอนอกไซด์
CCI4เรียกว่าคาร์บอนเตตระคลอไรด์
SO2เรียกว่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์
COเรียกว่า คาร์บอนมอนนอกไซด์
CO2เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์
H2Sเรียกว่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่งเกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามด้วยธาตุหลังซึ่งเป็นไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) ดังนี้

1. เริ่มจากอ่านชื่อไอออนบวก (ธาตุโลหะ) ก่อน

2. อ่านชื่อธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) โดยเปลี่ยนเสียงสุดท้ายเป็น -ไอด์ (-ide) ดังตัวอย่างเช่น

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
MgO อ่านว่า แมกนีเซียมออกไซด์
Al2O3อ่านว่า อะลูมิเนียมออกไซด์

3. หากไอออนลบมีลักษณะเป็นกลุ่มธาตุ จะมีชื่อเรียกเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น No3-เรียกว่า ไนเดรต, CO32-เรียกว่า คาร์บอเนต, SO42-เรียกว่า ซัลเฟต OH-เรียกว่า ไฮดรอกไซด์ เป็นต้น ดังตัวอย่างเช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
Na2SO4อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่น

อออซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)

ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)

คลอรีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (iodide)

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloridr)
CaI2อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์ (Calcium iodide)

KBr อ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์ (Potascium bromide)
CaCl2อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride)

ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดีนวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่นFe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+และCu เกิดอิออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้

FeCl2อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ ( Iron (II) chloride )
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ( Cupper (I) sunfide )

FeCl3อ่านว่า ไอร์ออน(III) คลอไรด์ ( Iron (III) chloride )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ( Copper (II) sunfide )

2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่าถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต (Calcium carbonatX
KNO3อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต (Potascium nitrae)

Ba(OH)2อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์ (Barium hydroxide)
(NH4)3PO4อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต (Ammomium pospate)

การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

หลักการเรียกชื่อสารเชิงซ้อนและไอออนเชิงซ้อน
RULES FOR NAMING COORDINATION COMPLEXES

  • เรียกชื่อของไอออนบวกก่อนไอออนลบ
  • เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนต
  • ใช้ตัวเลขภาษากรีกระบุจำนวน mono-, di-, tri-, tetra-, penta-, hexa-, ในการใช้ระบุจำนวนลิแกนด์เมื่อลิแกนด์โดยมีความสัมพันธ์อย่างง่าย และใช้คำอุปสรรคในภาษากรีก bis-, tris-, and tetrakis- กับลิแกนด์ที่มีความซับซ้อน
  • ชื่อของลิแกนด์ในไอออนลบจะลงท้ายด้วย o, เช่น fluoro (F-), chloro (Cl-), bromo (Br-), iodo (I-), oxo (O2-), hydroxo (OH-), และ cyano (CN-)
  • มีลิแกนดด์เป็นกลางจำนวนเล็กน้อยใช้ชื่อสามัญ เช่น น้ำ ใช้ aquo (H2O), แอมโมเนีย ใช้ ammine (NH3), และคาร์บอนิล ใช้ carbonyl (CO)
  • การเรียงลำดับของลิแกนด์ให้เรียงลำดับดังนี้: ไอออนลบ โมเลกุลที่เป็นกลาง ไอออนบวก สำหรับลิแกนด์ที่มีประจุเหมือนกันให้เรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
  • ระบุเลขออกซิเดชันของอะตอมโลหะแทรนซิชันเป็นตัวเลขโรมันอักษรตัวใหญ่ตามหลังอะตอมโลหะ
  • ชื่อของไอออนเชิงซ้อนลบจะลงท้ายด้วย –

    ate

    เช่น Co(SCN)42-, อ่านว่า tetrathiocyanatocobaltate(II) ion เมื่อสัญลักษณ์ของโลหะแทรนซิชันมาจากภาษาละติน ให้ลงท้ายชื่อโลหะ ให้ลงท้ายชื่อด้วย

    -ate

    เช่น

    Fe

    ในไออนเชิงซ้อนลบ

    คำในภาษาละตินคือ

    ferrum

    ชื่อของ

    Fe

    จึงเป็น

    ferrate

    และของทองแดง

    Cu

    จึงเป็น

    cuprate

  • ชื่อของโลหะแทรนซิซันในไอออนเชิงซ้อนบวก ให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษตากปกติ และต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย


คําศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดสัตว์ ชุดที่ 1


++ คําศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดสัตว์ ชุดที่ 1 ++
ประกอบไปด้วยคำศัพท์ในหมวดสัตว์
1. Ant (แอ็นท) มด
2. Bat (แบท) ค้างคาว
3. Bear (แบ) หมี
4. Bee (บี) ผึ้ง
5. Bird (เบิด) นก
6. Cat (แค็ท) แมว
7. Chicken (ชิคเคิน) ไก่
8. Cow (คาว) วัว
9. Crab (แครบ) ปู
10. Deer (เดีย) กวาง
11. Dog (ด็อก) สุนัข
12. Dolphin (ดอลฟิน) ปลาโลมา
13. Duck (ดัค) เป็ด
14. Eel (อีล) ปลาไหล
15. Elephant (เอลอิแฟ็นท) ช้าง
16. Fish (ฟิช) ปลา
17. Frog (ฟรอก) กบ
18. Giraffe (จิราฟ) ยีราฟ
19. Goat (โกท) แพะ
20. Snake (สเนค) งู
++ จัดทำโดย Por Pure Channel ++
ภาพประกอบในคลิปทั้งหมดนำมาจากเว็บไซต์ https://pixabay.com/
ฝากกด Like กดแชร์ คลิปวีดีโอ และกด Subscribe ด้วยจร้า
จะอัพคลิปเรื่อยๆ
Channel : https://www.youtube.com/channel/UCuxFOCWjUZ7PxmzBaxialBQ
Subscribe : https://www.youtube.com/channel/UCuxFOCWjUZ7PxmzBaxialBQ?sub_confirmation=1

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คําศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดสัตว์ ชุดที่ 1

เพิ่มเติมPresent simple Tense


เพิ่มเติมPresent simple Tense

Wind The Bobbin Up | Kids Songs | Super Simple Songs


Watch videos from Super Simple in the Super Simple App for iOS! ► http://apple.co/2nW5hPd
Sing and clap your hands together to the latest gestureplay song for kids from Super Simple Songs.
🎶 Wind the bobbin up. Wind the bobbin up. Pull, pull, clap, clap, clap.🎶 👏👏👏
Listen to Super Simple Songs on Spotify: https://spoti.fi/2ofnaZg
Listen to Super Simple Songs on Apple Music: https://apple.co/2pBcg0j
Or, just ask your smart speaker to play Super Simple Songs!
PARENTS AND TEACHERS: Thank you so much for watching Super Simple Songs with your families and/or students. If your young ones are watching without supervision, we recommend some of the following viewing options:
► SUPER SIMPLE APP http://bit.ly/SuperSimpleApp
Be the first to watch new Super Simple videos in the Super Simple App! Adfree and designed for young learners.
► DOWNLOAD http://bit.ly/SuperSimpleShop
Videos from all Super Simple channels are available for purchase at the Super Simple online shop. You can also find some DVDs there.
► YOUTUBE KIDS http://bit.ly/YouTubeKids
Designed to make it safer and simpler for young ones to watch online video, YouTube Kids includes a suite of parental controls so you can tailor the experience to suit your family’s needs.
► AMAZON VIDEO
Are you an Amazon Prime member? Watch Super Simple videos adfree on Amazon Prime Video. Just search for “Super Simple.”
► KHAN ACADEMY KIDS http://bit.ly/KhanKidsApp
Super Simple has partnered with Khan Academy on their latest app designed for preschoolers. You’ll find Super Simple Songs worked into the curriculum throughout the app.
► PLAYKIDS http://bit.ly/PlayKids
Do you have the PlayKids app? You can find many of our Super Simple Songs and programs in the app!
FREE SUPER SIMPLE TEACHING RESOURCES: http://bit.ly/SSFreeResources
SOCIAL MEDIA:
Super Simple Newsletter Sign Up: http://bit.ly/SuperSimpleSignUp
Facebook: http://bit.ly/SuperSimpleFacebook
Instagram: http://bit.ly/SuperSimpleInsta
Twitter: http://bit.ly/SuperSimpleTwitter
Pinterest: http://bit.ly/SuperSimplePinterest
Lyrics:
Wind the bobbin up.
Wind the bobbin up.
Pull, pull, clap, clap, clap.
Wind it back again.
Wind it back again.
Pull, pull, clap, clap, clap.
Point to the ceiling.
Point to the floor.
Point to the window.
Point to the door.
Clap your hands together, 1, 2, 3.
Put your hands upon your knee.
Wind the bobbin up.
Wind the bobbin up.
Pull, pull, clap, clap, clap.
Wind it back again.
Wind it back again.
Pull, pull, clap, clap, clap.
Point to the ceiling.
Point to the floor.
Point to the window.
Point to the door.
Clap your hands together, 1, 2, 3.
Put your hands upon your knee.

Super Simple Songs® and Super Simple Learning® are registered trademarks of Skyship Entertainment Company.
nurseryrhymes kidssongs childrensmusic supersimplesongs

Wind The Bobbin Up | Kids Songs | Super Simple Songs

[THAISUB] The Simple Things – Michael Carreon


[THAISUB] The Simple Things Michael Carreon
the simple things michael carreon lyrics
The Simple Things Michael Carreon แปลไทย
เราทำ Play list ใน Spotify แล้วน้า สามารถไปติดตามได้ที่ลิงค์ข้างล่างนี้เลย
My Play list on Spotify :
https://open.spotify.com/playlist/3RxrGax6q76eg7SbafcNPr?si=jurZ4NDVSqels0OvVYhaA
SONG : the simple things
ARTIST : michael carreon
Michael Carreon’s Channel:
https://www.youtube.com/user/mcarreon89
Music Video:
https://www.youtube.com/watch?v=J1hlevsLXyY
Translated by trans dat fack
(This is not my song nor do I own any of the rights to this song,
If you are a copyright owner and want your work
to be removed from my channel please message me on youtube and I will delete it immediately)

[THAISUB] The Simple Things - Michael Carreon

What Is A P-Value? – Clearly Explained


What is a pvalue? This is a question many scientists do not know the answer to. In this video, I will clearly explain what a pvalue is.
Briefly, a pvalue refers to a probability value between 0 and 1. This pvalue value represents the probability of obtaining the observed difference (or a larger one) in the outcome measure of the sample, given that no difference exists between treatments in the population (the nullhypothesis is true).
THE ONLINE GUIDE
https://toptipbio.com/whatisapvalue/
HOW I CREATED THIS TUTORIAL (AFFILIATE LINKS)
Laptop https://amzn.to/38bB7JG
Microphone https://amzn.to/2OFn1sd
Screen recorder \u0026 editor https://techsmith.z6rjha.net/BQQkL
Whiteboard video software https://paykstrt.com/2073/38984
YouTube SEO https://www.tubebuddy.com/SHTeach
Software (Doodly)
FOLLOW US
Website https://toptipbio.com/
Facebook https://www.facebook.com/TopTipBio/
Twitter https://twitter.com/TopTipBio
AFFILIATE DISCLAIMER
Top Tip Bio is a participant in the Amazon Services LLC Associates Program, an affiliate advertising program designed to provide a means for sites to earn advertising fees by advertising and linking to www.amazon.com. We will earn a commission from Amazon if a purchase is made through the affiliate links.

What Is A P-Value? - Clearly Explained

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ simple อ่าน ว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *