Skip to content
Home » [Update] | เซาท์ แอฟริกา – NATAVIGUIDES

[Update] | เซาท์ แอฟริกา – NATAVIGUIDES

เซาท์ แอฟริกา: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

สาธารณรัฐซูดานใต้

สาธารณรัฐซูดานใต้

สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน
The Republic of South Sudan

ข้อมูลทั่วไป

ที่ตั้ง ตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคแอฟริกาและตะวันออกกลาง และมีพรมแดนติดกับ สาธารณรัฐแอฟริกากลาง เอธิโอเปีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ยูกันดา และเคนยา

พื้นที่ 619,745 ตร.กม. (ใหญ่กว่าไทยประมาณร้อยละ 20)

เมืองหลวง กรุงจูบา (Juba)

ประชากร 7.5 – 9.7 ล้านคน (2554)

ภูมิอากาศ มีอากาศร้อนชื้น

ภาษา อารบิก และอังกฤษ

ศาสนา ความเชื่อดั้งเดิม คริสต์ อิสลาม

วันชาติ 9 กรกฎาคม

การเมืองการปกครอง

เซาท์ซูดานมีระบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ โดยมีประธานาธิบดี ซึ่งมาจากการเลือกตั้งเป็นประมุขของรัฐ และหัวหน้าฝ่ายบริหาร มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี คณะรัฐมนตรีมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี ฝ่ายนิติบัญญัติประกอบด้วยสภา 2 สภา ได้แก่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (National Legislative Assembly) มีสมาชิกจำนวน 332 คน มาจากการเลือกตั้ง มีวาระ 4 ปี และสภาแห่งชาติ (Council of States) มีสมาชิกจำนวน 50 คน มาจากการแต่งตั้ง มีวาระ 5 ปี ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ นาย Salva Kiir Mayardit

หลังได้รับเอกราช เซาท์ซูดานประสบปัญหาความขัดแย้งกับกลุ่มติดอาวุธภายในประเทศ ซึ่งมีที่มาจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ด้านการเมือง และเชื่อว่าบางส่วนอาจได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลซูดาน ขณะนี้ รัฐบาลเซาท์ซูดานได้พยายามแก้ไขความขัดแย้งกับกลุ่มติดอาวุธ โดยใช้การเจรจา เพื่อสร้างความปรองดองและความมั่นคงให้แก่ประเทศ

เศรษฐกิจและสังคม

รายได้ของเซาท์ซูดานส่วนใหญ่มาจากการผลิตน้ำมันดิบ คิดเป็นร้อยละ 98 ของรายได้ประชาชาติ เซาท์ซูดานเป็นผู้ผลิตน้ำมันสำคัญอันดับที่ 3 ของแอฟริกา และอันดับที่ 30 ของโลก โดยกำลังการผลิตน้ำมันดิบวันละ 260,000 บาร์เรล ปัจจุบัน แคนาดา ฝรั่งเศส จีน อินเดีย และมาเลเซีย ได้เริ่มลงทุนด้านน้ำมันในเซาท์ซูดานแล้ว อย่างไรก็ดี ขณะนี้ เซาท์ซูดานยังต้องพึ่งพาซูดานในการส่งออกน้ำมันดิบผ่านทางเมืองท่า Port Sudan ของซูดาน

ประชากรชาวเซาท์ซูดานส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรมแบบยังชีพ เซาท์ซูดานมีที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น บริเวณที่ลุ่มริมฝั่งแม่น้ำไวท์ไนล์ จึงมีผืนดินและแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก  

เซาท์ซูดานมีนโยบายเปิดรับการลงทุนและความช่วยเหลือจากต่างประเทศ เนื่องจากเซาท์ซูดานยากจนและขาดโครงสร้างพื้นฐาน มีถนนราดยางเพียง 60 กิโลเมตร ไฟฟ้าผลิตจากน้ำมันดีเซลและน้ำประปายังมีใช้ไม่ทั่วถึง ธนาคารโลกมีแผนที่จะสนับสนุนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน การเกษตร และการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำ

การต่างประเทศ

ประชาคมนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาสนับสนุนการแยกประเทศเซาท์ซูดานอย่างเต็มที่ หลังจากประชาชนชาวเซาท์ซูดานลงประชามติแยกประเทศเมื่อเดือน ม.ค. 2554 (ค.ศ. 2011) ประธานาธิบดี Obama ได้ประกาศแสดงความยินดีและแสดงความพร้อมที่จะรับรองเซาท์ซูดานในทันที ภายหลังประกาศเอกราช เซาท์ซูดานได้รับการรับรองให้เป็นสมาชิกสหประชาชาติอย่างรวดเร็ว เมื่อวันที่ 14 ก.ค. และเป็นสมาชิกสหภาพแอฟริกาเมื่อวันที่ 27 ก.ค. ปีเดียวกัน ตามลำดับ การเป็นสมาชิกสหประชาชาติทำให้เซาท์ซูดานสามารถสมัครเป็นสมาชิกธนาคารโลก และองค์กรการเงินระหว่างประเทศได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้มีสิทธิรับความช่วยเหลือด้านการพัฒนาได้

การประกาศเอกราชของเซาท์ซูดานเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2554 ผ่านไปอย่างสงบเรียบร้อย แต่สถานการณ์ความตึงเครียดระหว่างซูดานและเซาท์ซูดานยังไม่ยุติ เนื่องจากทั้งสองฝ่ายยังไม่สามารถบรรลุความตกลงเกี่ยวกับปัญหาที่คั่งค้าง อาทิ ภาระหนี้สินของซูดานเดิม สัญชาติของประชาชน การกำหนดพรมแดน สิทธิเหนือจังหวัด Abyei และการแบ่งปันผลประโยชน์จากน้ำมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 3 ประเด็นหลัง ซึ่งเป็นประเด็นอ่อนไหวต่อความมั่นคงด้านเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างทั้งสองประเทศมากที่สุด ในการนี้ สหประชาชาติได้จัดตั้งภารกิจ United Nations Interim Security Force for Abyei (UNISFA) และ UN Mission in the Republic of South Sudan (UNMISS) เพื่อส่งเสริมความมั่นคงในเซาท์ซูดาน และเสริมสร้างสภาพที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างชาติ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศเพื่อนบ้าน

รัฐบาลซูดานได้พยายามกดดันรัฐบาลเซาท์ซูดานตั้งแต่ปลายเดือน มิ.ย. 2554 (ค.ศ. 2011) โดยตลอด โดยเพิ่มทหารในพื้นที่ชายแดน และปิดกั้นเส้นทางคมนาคมขนส่งสินค้าและเดินทางของประชาชนระหว่างทั้งสองประเทศ จนเป็นสาเหตุทำให้อาหารสินค้าอุปโภคและน้ำมันเชื้อเพลิงในเซาท์ซูดานเริ่มขาดแคลนและมีราคาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรัฐบาลเซาท์ซูดานเชื่อว่า เป็นแผนการบ่อนทำลายฝ่ายเซาท์ซูดาน

เพื่อลดการพึ่งพาซูดาน รัฐบาลเซาท์ซูดานใช้นโยบายการขยายความร่วมมือด้านการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ เอธิโอเปีย ยูกันดา และเคนยา โดยเซาท์ซูดานและเคนยาได้ร่วมกันวางแผนสร้างระบบท่อขนส่งน้ำมันดิบระยะทางประมาณ 1,400 กม. จากเซาท์ซูดานมายังท่าเรือเมือง Lamu ทางตอนเหนือของเคนยา โดยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากจีนและญี่ปุ่น

ในขณะเดียวกัน เซาท์ซูดานใช้กลไกทางการทูตเรียกร้องให้องค์กรระหว่างประเทศโดยเฉพาะสหประชาชาติและสหภาพแอฟริกา ที่เซาท์ซูดานเพิ่งเป็นสมาชิก รวมถึงประเทศมหาอำนาจกดดันรัฐบาลซูดานยุติการสู้รบและกลับสู่กระบวนการเจรจาอีกครั้ง เมื่อเดือน ก.พ. 2555 (ค.ศ. 2012) รัฐบาลซูดานและเซาท์ซูดานได้ลงนามในข้อตกลงไม่รุกรานกัน (non-aggression pact) ที่กรุงแอดดิสอาบาบา แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จในการแก้ข้อขัดแย้ง ล่าสุด ในเดือน เม.ย. 2555 (ค.ศ. 2012) เกิดการปะทะระหว่างทหารซูดานและเซาท์ซูดาน เพื่อแย่งชิงแหล่งน้ำมันดิบ

สถานะความสัมพันธ์ทวิภาคีไทย-เซาท์ซูดาน

ความสัมพันธ์ทั่วไป

ขณะนี้ไทยและเซาท์ซูดานอยู่ระหว่างการดำเนินการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต โดยไทยรับรองสาธารณรัฐเซาท์ซูดานอย่างเป็นทางการแล้วตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ก.ย. 2554 (ค.ศ. 2011) ฝ่ายไทยมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี เป็นจุดติดต่อเซาท์ซูดานไปพลางก่อน และจะให้มีเขตอาณาครอบคลุมเซาท์ซูดานภายหลังการสถาปนาความสัมพันธ์ฯ ส่วนฝ่ายเซาท์ซูดานได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูตเซาท์ซูดานประจำเคนยาเป็นจุดติดต่อกับไทย

ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ

มีบริษัทก่อสร้างไทยและแรงงานไทยเข้าไปดำเนินการก่อสร้างถนนในดินแดนของเซาท์ซูดานตั้งแต่ก่อนการประกาศเอกราชจากซูดานจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ บริษัทขายเครื่องขุดเจาะน้ำบาดาลไทยซึ่งมีสำนักงานอยู่ในกรุงไนโรบี เริ่มเข้าไปขายเครื่องขุดเจาะน้ำบาดาลในเซาท์ซูดานแล้ว

ความตกลงทวิภาคี – ยังไม่มี

การเยือนระดับสูง – ยังไม่มี

************************

มิถุนายน 2555

กองแอฟริกา กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา 0-2643-5047-8

[NEW] เบสท์ ออฟ เซาท์ แอฟริกา | เซาท์ แอฟริกา – NATAVIGUIDES

CONNECT WITH THE CULTURE OF TWO COUNTRIES AS YOU TRAVEL FROM THE NORTH TO SOUTH TO ENCOUNTER SOUTH AFRICA’S LEGACY OF MANDELA AND THE COSMOPOLITAN SPIRIT OF CAPE TOWN.

Connect with the culture of two countries as you travel from the north to south to encounter South Africa’s legacy of Mandela and the cosmopolitan spirit of Cape Town.


South Africa – 36 ชั่วโมงในเมืองโจฮันเนสเบิร์ก | 36 hrs. in Johannesburg「EP. 2」(ENG Sub)


36 ชั่วโมงที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก เป็นช่วงเวลาที่โอ้ยยยย…มาก! มีตั้งแต่ย่านโครชิคฮิปสเตอร์ทั้งถนน ไปจนถึงย่านที่คนขับอูเบอร์บอกว่า ‘เธอจะถูกฆ่า!’
+ จะพาไปกินอาหารท้องถิ่น ตลาดนัดเท่ๆ จนถึงแนว Chef’s Table ทั้งร้านมีแค่ 1 โต๊ะ รับแค่ 20 คนที่อาหารอร่อยจนลอยลิ่วเลย
+ ไปดูร้านหนังสือ 2 ล้านเล่ม! ที่มีการจัดวางที่น่าสนใจ
+ ไปดูงาน ‘ถูกยิง’ iwasshotinjoburg ด้วยกัน
+ ไปมีสาระที่ย่าน Soweto
เป็น 36 ชั่วโมงที่อัดแน่นทุกแบบทุกอารมณ์ สนุกมาาาากเลยค่ะ
___________________________________________
Follow me:
Facebook I Roam Alone
Instagram iroamalone
App OneMap @iroamalone
SouthAfrica Johannesburg GalaxyNote8TH withGalaxy OneMapCo

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

South Africa - 36 ชั่วโมงในเมืองโจฮันเนสเบิร์ก | 36 hrs. in Johannesburg「EP. 2」(ENG Sub)

Miss Universe 2017


Miss Universe 2017

Tamaryn Green – South Africa’s Full Performance @ Miss Universe 2018


No Copyright Infringement Intended
MissSouthAfrica
TamarynGreen
MissUniverse2018
MissUniverso

Tamaryn Green - South Africa's Full Performance @ Miss Universe 2018

\”เหรียญเงินวอน100วอน\”#(อังกฤษ: South Korea) Republic of Korea; เกาหลี: 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา))


เงินวอน (ฮันกึล: 대한민국 원; ฮันจา: 大韓民國 원) (สัญลักษณ์: ₩, ภาษาเกาหลี: 원, won) เป็นสกุลเงินของประเทศเกาหลีใต้ ตัวย่อตามมาตรฐานใน ISO 4217 คือ KRW ธนบัตรของเกาหลีใต้จะมี 4 ชนิดคือ
ธนบัตร จำนวน 1,000 วอน (₩1,000)
ธนบัตร จำนวน 5,000 วอน (₩5,000)
ธนบัตร จำนวน 10,000 วอน (₩10,000)
ธนบัตร จำนวน 50,000 วอน (₩50,000)
เหรียญของเกาหลีใต้จะมี 6 ชนิดคือ
เหรียญจำนวน 1 วอน (₩1)
เหรียญจำนวน 5 วอน (₩5)
เหรียญจำนวน 10 วอน (₩10)
เหรียญจำนวน 50 วอน (₩50)
เหรียญจำนวน 100 วอน (₩100)
เหรียญจำนวน 500 วอน (₩500)
สาธารณรัฐเกาหลี (อังกฤษ: Republic of Korea; เกาหลี: 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (อังกฤษ: South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้[7] เกาหลีใต้มีประชากรราว 51 ล้านคน และกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนประชากรอาศัยอยู่ในเขตเมืองหลวงและปริมณฑล (ซูโดกว็อน 수도권)ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้ในปี 1950 การรุกรานของเกาหลีเหนือก่อให้เกิดสงครามเกาหลี[8] ซึ่งยังนำไปสู่การแทรกแซงของสหประชาชาติที่นำโดยสหรัฐฯ ซึ่งให้การสนับสนุนเกาหลีใต้[9] ในขณะที่เกาหลีเหนือได้รับการสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต[10] หลังสงครามยุติในปี 1953 เศรษฐกิจของประเทศเริ่มฟื้นตัวขึ้น โดยมีการบันทึกว่าเกาหลีใต้มีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) เฉลี่ยเติบโตเร็วที่สุดในโลกระหว่างปี 198090 และปัจจุบันเกาหลีใต้ถือว่าเป็นหนึ่งในประเทศประชาธิปไตยที่ก้าวหน้าที่สุดในทวีปเอเชีย[11] อีกทั้งยังให้เสรีภาพกับสื่อในระดับสูง[12][13] อย่างไรก็ตาม การทุจริตและเรื่องอื้อฉาวทางการเมืองยังคงเป็นปัญหาสำคัญในประเทศ[14][15] อดีตประธานาธิบดีเกาหลีใต้ที่ยังมีชีวิตอยู่จำนวนสี่คนได้ถูกตัดสินให้จำคุกในความผิดจากคดีต่างๆ ตั้งแต่การใช้อำนาจในทางที่ผิดไปจนถึงการติดสินบนและการฉ้อฉล[16] ซึงสองจากสี่คนนี้ยังคงต้องโทษอยู่จนถึงปัจจุบันเกาหลีใต้ถือเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและอยู่ในอันดับที่ 7 ของดัชนีการพัฒนามนุษย์ในภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับสิบของโลกโดยวัดจากผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และยังถือเป็นประเทศที่มีความเร็วการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่เร็วที่สุดชาติหนึ่งของโลกเกาหลีใต้ยังเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่อันดับห้าของโลกและผู้นำเข้ารายใหญ่อันดับแปดของโลก นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 เกาหลีใต้มีชื่อเสียงในด้านวัฒนธรรมป๊อปที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านดนตรี (เคป็อป) ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่าคลื่นเกาหลี[23][24][25] และยังเป็นประเทศสมาชิกของคณะกรรมการองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (OECD) และกลุ่ม 20
ภาษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธานกรรมกริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อมภาษาเกาหลีมีสำเนียงท้องถิ่นมากมาย ภาษาทางการที่ใช้ในเกาหลีใต้คือสำเนียงท้องถิ่นที่ใช้ในพื้นที่บริเวณโซล และภาษาทางการที่ใช้ในเกาหลีเหนือคือสำเนียงท้องถิ่นที่ใช้บริเวณกรุงเปียงยาง สำเนียงท้องถิ่นโดยทั่วไปจะมีความคล้ายคลึงกัน ยกเว้นสำเนียงท้องถิ่นบนเกาะเชจูที่มีความแตกต่างค่อนข้างมาก ความแตกต่างที่สำคัญที่สุดระหว่างสำเนียงท้องถิ่นแต่ละแห่งคือ การเน้นเสียง สำเนียงท้องถิ่นของโซลจะเน้นเสียงน้อยมาก และไม่ค่อยมีความสูงต่ำในการเปล่งเสียง ในทางกลับกัน สำเนียงท้องถิ่นของ คย็องซัง มีความสูงต่ำของการออกเสียงอย่างมากจนคล้ายกับภาษาทางยุโรป อย่างไรก็ตามเราสามารถจำแนกสำเนียงท้องถิ่นของภาษาเกาหลีออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ ได้ดังตาราง โดยพิจารณาจากขอบเขตของภูเขาและทะเล

\

miss universe South Africa 2019 | Reaction | Bryan Tan


ติดตามfb ของเราได้ที่
Bryan Tan
Patteerat sprite laemluang
ติดตามไอจีเราทั้งสองได้ที่
bryan_tan
Patteerat.sprite

miss universe South Africa 2019  | Reaction | Bryan Tan

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ เซาท์ แอฟริกา

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *