Skip to content
Home » [Update] อังกฤษระดับชั้น ม.6 เทอม 2 เรื่อง COMPARISONS ( การเปรียบเทียบ ) | cheap ขั้นกว่า – NATAVIGUIDES

[Update] อังกฤษระดับชั้น ม.6 เทอม 2 เรื่อง COMPARISONS ( การเปรียบเทียบ ) | cheap ขั้นกว่า – NATAVIGUIDES

cheap ขั้นกว่า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

อังกฤษระดับชั้น ม.6 เทอม 2 เรื่อง COMPARISONS ( การเปรียบเทียบ )

Comparison การเปรียบเทียบ

 

 

การเปรียบเทียบแบ่งได้เป็น 

3

 ลักษณะ คือ

      1.    การเปรียบเทียบแบบเท่ากัน และไม่เท่ากัน (Equality and Unequality)
      2.    การเปรียบเทียบขั้นกว่า (Comparative Degree)
      3.    การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด (Superative Degree)

การเปรียบเทียบแบบเท่ากัน และไม่เท่ากัน

(Equality and Unequality)

     มีคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบ ได้แก่

1.    (not) as / adverb , adjective / as = เท่ากัน, เหมือนกัน (ใช้ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ)

This ball is as round as a mable.                                 (round : adjective)
Jane works as hard as her sister.                                (hard : adverb)
Tom doesn’t play golf as well as you (do).              (well : adverb)
Charies isn’t as tall as his father.                                 (tall : adjective)

2. not so / adverb , adjective / as = ไม่เท่ากัน (ใช้ในประโยคปฏิเสธเท่านั้น)

Marry is not so beautiful as her mother.                   (beautiful : adjective)
His handwriting is not so poor as his friend’s.       (poor : adjective)
He doesn’t run so fast as his brother.                       (fast : adverb)

3. to be like = เหมือนกัน (สิ่งเปรียบเทียบอยู่ต้นและท้ายประโยค)

Joy is like her mother.
The workers work hard like buffaloes.

4. to be alike = เหมือนกัน (สิ่งเปรียบเทียบอยู่ต้นประโยค)

The twins are alike.
Her bag and yours are alike.

5. the same + noun + as = เหมือนกัน

My shirt is the same colour as that boy’s. (shirt)
The two dresses are the same style.
The colour of her eyes and that of mine are the same.

6. to be similar to … = เหมือนหรือคล้าย

The red dress is similar to the blue one. (one = dress)
Her idea is similar to mine. (mine = my idea)
 

การเปรียบเทียบขั้นกว่า (Comparative Degree)

การเปรียบเทียบขั้นกว่า เป็นการเปรียบเทียบในจำนวนสองเท่านั้น

วิธีการเปรียบเทียบ คือ

1.       เติม er หลังคำ adjective หรือ คำ adverb ขั้นธรรมดา เช่น

hard   =  harder                                           fast  =  faster
small  = smaller                                         tall  = taller

2.       เติม more หน้าคำ adjective หรือคำ adverb ขั้นธรรมดา เช่น

Diligent  = more diligent                          beautiful  = more beautiful
Intelligent  = more Intelligent                  cheerful   = more cheerful

การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด

(Superative Degree)

การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด เป็นการเปรียบเทียบในจำนวนมากกว่าสองขึ้นไป

วิธีการเปรียบเทียบ คือ

1. เติม est หลังคำ adjective หรือ คำ adverb ขั้นธรรมดา เช่น

common              =              commonest                         wise       =              wisest
hot                         =              hottest                                   early      =              earliest
large                    =              largest                                   sad        =              saddest

2. เติม most หน้าคำ adjective หรือ คำadverb ขั้นธรรมดาเช่น

Beautiful               =              most beautiful                     diligent  =  most diligent
Important              =              most important                   careful   =  most careful

   ข้อสังเกต adjective และ adverb บางตัวในตัวอย่างไม่ได้เติม er หรือ est โดยตรง อาจมีการเปลี่ยนรูปเพิ่มตัวสะกด หรือเติมเพียง r หรือ st ในกรณีที่ลงท้ายด้วย e

หลักการสร้างคำ adjective และคำ adverb ขั้นกว่าและขั้นสุด

1.      คำพยางค์เดียว ลงท้ายด้วยพยัญชนะ 2 ตัว หรือลงท้ายด้วยพยัญชนะตัวเดียวมีสระ 2 ตัว ให้เติม er และ est ได้ เช่น

soft                                 softer                                     softest                                 นุ่ม
long                               longer                                   longest                                 ยาว
deep                             deeper                                 deepest                               ลึก
clear                              clearer                                  clearest                               ชัดเจน , แจ่มใส
fair                                  fairer                                      fairest                                   ยุติธรรม
great                              greater                                  greatest                              ยิ่งใหญ่
sweet                            sweeter                                sweetest                              หวาน
quick                             quicker                                 quickest                               เร็ว

2.      คำพยางค์เดียว มีสระเดียว มีตัวสะกดเดียว ให้เพิ่มตัวสะกดอีกตัวก่อนเติม er และ est เช่น

wet                                 wetter                                    wettest                                  เปียก
thin                                 thinner                                   thinnest                                 ผอม
fat                                   fatter                                      fattest                                     อ้วน
big                                  bigger                                   biggest                                ใหญ่
hot                                  hotter                                     hottest                                   ร้อน

3.      คำ adjective หรือ adverb ที่ลงท้าย e ให้เติม r หรือ est ในขั้นกว่าและขั้นสุดตามลำดับ เช่น

wise                               wiser                                      wisest                                   ฉลาด
large                              larger                                    largest                                  ใหญ่ กว้าง
brave                            braver                                   bravest                                 กล้าหาญ
safe                               safer                                      safest                                    ปลอดภัย

4.      คำ adjective หรือ adverb ที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y เป็นพยัญชนะ เปลี่ยน y เป็น I และเติม er หรือ est เช่น

dry                                  drier                                       driest                                     แห้ง
grey                               greyer                                   greyest                                 สีเทา
                                                                                        (หน้า y  เป็นสระ เติม er , est)

5.      คำสองพยางค์ที่ลงท้ายด้วย er , le และ ow ให้เติม er และ est เช่น

clever                            cleverer                               cleverest                              ฉลาด
shallow                         shallower                             shallowest                           ตื้น
narrow                           narrower                              narrowest                             แคบ
bitter                              bitterer                                  bitterest                                 ขมขื่น

6.      คำสองพยางค์ ลงเสียงหนัก (stressed) พยางค์หลังให้เติม er และ est เช่น

polite                             politer                                    politest                                  สุภาพ
pretty                             prettier                                  prettiest                                 สวย
sincere                         sincerer                                sincerest                               จริงใจ

7.      คำบางคำใช้ได้ทั้ง 2 แบบ คือ เติม er , est หรือ more , most

quiet                              quieter                                  quietest                                เงียบ
                                       more quiet                           most quiet
cheerful                        cheerfuler                            cheerfulest                          ร่าเริง
                                       more cheerful                     most cheerful

8.      คำที่ต้องเติม more most คือ คำมากกว่า 2 พยางค์ หรือคำสองพยางค์ที่ลงเสียงหนัก (stressed) พยางค์แรก

hopeful                         more hopeful                      most hopeful                       มีความหวัง
learned                         more learned                     most learned                      คงแก่เรียน
charming                      more charming                  most charming                   มีเสน่ห์

9.      คำที่เปลี่ยนรูป

good (well)                  better                                     best                                       ดี
bad (badly)                 worse                                    worst                                      เลว
much (many)               more                                      most                                      มาก
little                                less                                        least                                      น้อย
far                                   farther (further)                    farthest (furthest)                ไกล         

Comparison การเปรียบเทียบ เป็นการเปรียบเทียบคุณลักษณะของคำนาม (adjective) หรือเปรียบเทียบคุณลักษณะอาการ (adverb)

 

การเปรียบเทียบที่เท่าเทียมกัน
(Comparison of equality)

Nipon is as tall as Dang.
A pen is as good as a pencil.
She works as carefully as he.

การเปรียบเทียบที่มากน้อยกว่ากัน
(Comparison of inequality)

Nipon is taller than Ladda.
A pen is better than a pencil.
She works more carefully than he.

การเปรียบเทียบที่แสดงความเป็นที่สุด
(Comparison of supremacy)

Nipon is the tallest of all.
The pen is the best of all (markers).
She works most carefully of all.

 

 

1) Comparison of Equality การเปรียบเทียบที่เท่าเทียมกัน
ใช้ as …………..as / the same as

as + adj/adv (ในขั้นธรรมดา) + as = เท่ากับ เหมือนกับ
์Nipon is as tall as Dang. นิพนธ์สูงเท่ากับแดง
(= Nipon is as tall as Dang is tall.)

She works as carefully as he.
(= She works as carefully as he works carefully.)

ในประโยคปฏิเสธ อาจใช้ so…………..as แทน as ……………..as (แต่ใช้ as …………as ได้เสมอ)
Nipon is not so tall as Dang. หรือ Nipon is not as tall as Dang.

the same + noun + as = เหมือนกันกับ เช่นเดียวกันกับ (หลัง the same เป็น noun)
He has the same book as mine. (เขามีหนังสือเหมือนกับของผม)
His car is the same color as yours. (รถของเขาสีเดียวกันกับรถของคุณ)

Example : as……as

เช่น 1) He is as tall as your brother.
     2) He drove his car as quickly as I did.
     3) Ladda is not as pretty as Anong.
     4) His uncle is as old as my uncle.
     5) This book is not as difficult as that one.

Example : the same as
     1) His room is in the same building as mine.
     2) They live in the same house as I.
     3) His age is the same as mine.
     4) My house is the same size as yours.
     5) This building is the same height as that one.

2) Comparison of Inequality การเปรียบเทียบที่มากน้อยกว่ากัน)
เราอาจใช้คำ adjective ระดับกว่า ได้เช่นเดียวกันกับระดับธรรมดา คือ อาจใช้ประกอบหน้าคำนาม หรือใช้หลัง Verb to be ก็ได้ เช่น
We need a better life. เราต้องการชีวิตที่ดีขึ้น (กว่าเดิม)
It is better to live here. (เป็นการดียิ่งขึ้น(กว่าเดิม)ที่จะอยู่ที่นี่

ประโยคทั้งสองข้างบนนี้ เป็นการใช้คำระดับกว่า โดยไม่มีการเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน ถ้าต้องการให้เห็นชัดเจน เราเปรียบเทียบของสองสิ่ง โดยใช้ คำระดับกว่า + than เช่น
์Nipon is taller than I. (นิพนธ์สูงกว่าฉัน)
= Nipon is taller than I am tall. (นิพนธ์สูงกว่าที่ฉันสูง)
Ladda works faster than we. (ลัดดาทำงานเร็วกว่าเรา)
= Ladda works faster than we work. (ลัดดาทำงานเร็วกว่าที่เราทำ)
แม้ว่าเราอาจใช้ประธานหลัง than ได้เพียงตัวเดียวลอยๆ อย่างในประโยคข้างบน แต่บางครั้งก็อาจมีความกำกวมเกดิขึ้นได้ เช่น
She loves Bill more than Tom. (หล่อนรักบิลมากกว่าทอม)
คำกำกวม คือ She loves Bill more than she loves Tom. (หล่อนรักบิลมากกว่ารักทอม)
หรือ She loves Bill more than Tom loves Bill. (หล่อนรักบิลมากกว่าที่ทอมรักบิล)
ด้วยเหตุนี้ จึงนิยมถือหลักว่า
     – ถ้าคำหลัง than เป็นผู้กระทำอาการ นิยมใช้กริยาพิเศษ (anomalous verb) ต่อท้ายคำนั้น เช่น
She loves Bill more than Tom does. = She loves Bill more than Tom loves Bill.)
She loves Bill more than we do. = She loves Bill more than we love Bill.

     – ถ้าหลัง than เป็นผู้ถูกกระทำ ใช้คำนั้นลอยๆ คำเดียวได้ เช่น
She loves Bill more than Tom. = She loves Bill more than she loves Tom.

 

REGULAR COMPARISON

โดยทั่วไป คำ adjective หรือ adverb มีรูปแสดงการเปรียบเทียบได้ 3 รูป หรือ 3 ระดับ ได้แก่

 

ระดับธรรมดา (ปกติ)
(Positive Degree)

ระดับกว่า
(Compaative Degree)

ระดับสูงสุด
(Superlative Degree)

small (เล็ก)

smaller(เล็กกว่า)

smallest (เล็กที่สุด)

large (กว้างใหญ่)

larger (กว้างใหญ่กว่า)

largest (กว้างที่สุด)

big (ใหญ่)

bigger (ใหญ่กว่า)

biggest (ใหญ่ที่สุด)

simple (ง่าย)

simpler (ง่ายกว่า)

simplest (ง่ายที่สุด)

beautiful (สวย)

more beautiful (สวยกว่า)

most beautiful (สวยที่สุด)

slowly (ช้า)

more slowly (ช้ากว่า)

most slowly (ช้าที่สุด)

silly (โง่า)

sillier (โง่กว่า)

silliest (โง่ที่สุด)

 

 

หลักของการเปลี่ยน คำ adjective หรือ adverb ให้เป็นขั้นกว่า หรือขั้นสูงสุดนั้น ยึดหลักดังนี้
            

A) คำพยางค์ดียว (และสองพยางค์บางคำ)
                  – คำพยางค์เดียวส่วนใหญ่เติม er , est ได้ทันที เช่น fast – faster – fastest (เร็ว) , cheap – cheaper – cheapest (ถูก ไม่แพง)
                – ถ้าลงท้ายด้วย e อยู่แล้ว เติมเพียง r หรือ st เช่น large – larger – largest (กว้างใหญ่) , simple – simpler-simpest (ง่าย ธรรมดา)
              – ถ้ามีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัวก่อนเติม er หรือ est เช่น big – bigger – biggest (ใหญ่) , thin – thinner – thinnest (ผอม), fat – fatter – fattest (อ้วน)
            – ถ้าลงท้ายด้วย y เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม er , est (หน้า y ต้องไม่ใช่สระ) เช่น happy – happier – happiest (มีความสุข), silly – sillier – silliest (โง่) ยกเว้นถ้าเป็นคำ adverb ที่เกิดจากการเติม ly เข้าที่คำ adjective เติมคำ more, most เข้าข้างหน้า เช่น quickly – more quickly – most quickly (อย่างรวดเร็ว)

           

B) คำสองพยางค์
             – ถ้าเป็นคำสองพยางค์ที่ออกเสียงสั้น เติม er , est เช่น early – earlier – earliest (เแต่ช้า เนิ่น) , simple – simpler , simplest
             – คำสองพยางค์ที่มีเสียงยาว ใช้ more , most ข้างหน้า เช่น modern – more modern , most modern (ทันสมัย) , correct – more correct , most correct (ถูก) , famous – more famous – most famous (มีชื่อเสียง)
(คำบางคำก็ใช้ได้ทั้งสองแบบ เช่น common – commoner – commonest หรือ common – more common – most common (ธรรมดา)

           C) คำสามพยางค์ขึ้นไป ใช้ more , most ข้างหน้า โดยไม่มีข้อยกเว้น เช่น
expensive – more expensive , most expensive (แพง)

หมายเหตุ ใช้ more , most กับ adverb ที่เกิดจากการเติม ly และ adjective
             ที่เกิดจากการเติม – ful , – ing และ -ed เช่น carefully – more carefully
             – most carefully (อย่างระมัดระวัง), boring – more boring – most
             boring (น่าเบื่อ) , tired – more tired – most tired (เหนื่อย)

 

IRREGULAR COMPARISON

คำ adjective และ adverb ต่อไปนี้ มีรูปคำ ระดับกว่า และระดับสุด ผิดจากกฏเกณฑ์ที่กล่าวมา จะต้องจดจำเป็นพิเศษ ดังนี้

ระดับธรรมดา (ปกติ)
(Positive Degree)

ระดับกว่า
(Compaative Degree)

ระดับสูงสุด
(Superlative Degree)

good (ดี)

better (ดีกว่า)

best (ดีที่สุด)

well (ดี)

better (ดีกว่า)

best (ดีที่สุด)

many(มาก)ใช้กับนามนับได้

more (มากกว่า)

most (มากที่สุด)

much (มาก)ใช้กับนามนับไม่ได้

more (มากกว่า)

most (มากที่สุด)

little(น้อย) ใช้กับนามนับไม่ได้

less (น้อยกว่า)

least (น้อยที่สุด)

far (ไกล)

farther (ไกลกว่า)

farthest (ไกลที่สุด)

far (เหนือชั้น สูง)

further(เหนือชั้นกว่า)

furthest (เหนือชั้นที่สุด)

 

3) COMPARISON OF SUPREMACY การเปรียบเทียบแสดงความเป็นที่สุด)

การเปรียบเทียบแสดงความเป็นที่สุด มีการใช้ระดับคำสุด (Superlative) มีข้อสังเกตดังนี้
         – เมื่อประกอบหน้าคำนาม ใข้ the นำหน้า เช่น This is the shortest way to town.
         – ถ้าใช้หลังกิริยาไม่จำเป็นต้องมี the เช่น That way is shortest. = That way is the shortest. (ถ้ามีคำแสดงความเป็นเจ้าของ ก็ไม่ต้องมี the)
         – การเปรียบเทียบระดับสุดจะต้องใช้กับสิ่งของตั้งแต่สามสิ่งขึ้นไป เช่น
Of the three boys, Nipon is the tallest. (Of the two boys, Nipon is the taller.)

 

[NEW] English for fun | cheap ขั้นกว่า – NATAVIGUIDES

Comparison of Inequality : การเปรียบเทียบที่มากน้อยกว่ากัน
เราอาจใช้คำ adjective ระดับกว่า ได้เช่นเดียวกันกับระดับธรรมดา คือ อาจใช้ประกอบหน้าคำนาม หรือใช้หลัง Verb to be ก็ได้ เช่น
We need a better life. เราต้องการชีวิตที่ดีขึ้น (กว่าเดิม)
It is better to live here. (เป็นการดียิ่งขึ้น(กว่าเดิม)ที่จะอยู่ที่นี่

ประโยคทั้งสองข้างบนนี้ เป็นการใช้คำระดับกว่า โดยไม่มีการเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน ถ้าต้องการให้เห็นชัดเจน เราเปรียบเทียบของสองสิ่ง โดยใช้ คำระดับกว่า + than เช่น
์Nipon is taller than I. (นิพนธ์สูงกว่าฉัน)
= Nipon is taller than I am tall. (นิพนธ์สูงกว่าที่ฉันสูง)
Ladda works faster than we. (ลัดดาทำงานเร็วกว่าเรา)
= Ladda works faster than we work. (ลัดดาทำงานเร็วกว่าที่เราทำ)
แม้ว่าเราอาจใช้ประธานหลัง than ได้เพียงตัวเดียวลอยๆ อย่างในประโยคข้างบน แต่บางครั้งก็อาจมีความกำกวมเกดิขึ้นได้ เช่น
She loves Bill more than Tom. (หล่อนรักบิลมากกว่าทอม)
คำกำกวม คือ She loves Bill more than she loves Tom. (หล่อนรักบิลมากกว่ารักทอม)
หรือ She loves Bill more than Tom loves Bill. (หล่อนรักบิลมากกว่าที่ทอมรักบิล)
ด้วยเหตุนี้ จึงนิยมถือหลักว่า
     – ถ้าคำหลัง than เป็นผู้กระทำอาการ นิยมใช้กริยาพิเศษ (anomalous verb) ต่อท้ายคำนั้น เช่น
She loves Bill more than Tom does. = She loves Bill more than Tom loves Bill.)
She loves Bill more than we do. = She loves Bill more than we love Bill.

     – ถ้าหลัง than เป็นผู้ถูกกระทำ ใช้คำนั้นลอยๆ คำเดียวได้ เช่น
She loves Bill more than Tom. = She loves Bill more than she loves Tom.

 

REGULAR COMPARISON  
โดยทั่วไป คำ adjective หรือ adverb มีรูปแสดงการเปรียบเทียบได้ 3 รูป หรือ 3 ระดับ ได้แก่

ระดับธรรมดา (ปกติ)
(Positive Degree)
ระดับกว่า
(Compaative Degree)
ระดับสูงสุด
(Superlative Degree)

small (เล็ก)
smaller(เล็กกว่า)
smallest (เล็กที่สุด)

large (กว้างใหญ่)
larger (กว้างใหญ่กว่า)
largest (กว้างที่สุด)

big (ใหญ่)
bigger (ใหญ่กว่า)
biggest (ใหญ่ที่สุด)

simple (ง่าย)
simpler (ง่ายกว่า)
simplest (ง่ายที่สุด)

beautiful (สวย)
more beautiful (สวยกว่า)
most beautiful (สวยที่สุด)

slowly (ช้า)
more slowly (ช้ากว่า)
most slowly (ช้าที่สุด)

silly (โง่า)
sillier (โง่กว่า)
silliest (โง่ที่สุด)

หลักของการเปลี่ยน คำ adjective หรือ adverb ให้เป็นขั้นกว่า หรือขั้นสูงสุดนั้น ยึดหลักดังนี้
            A) คำพยางค์ดียว (และสองพยางค์บางคำ)
                  – คำพยางค์เดียวส่วนใหญ่เติม er , est ได้ทันที เช่น fast – faster – fastest (เร็ว) , cheap – cheaper – cheapest (ถูก ไม่แพง)
                – ถ้าลงท้ายด้วย e อยู่แล้ว เติมเพียง r หรือ st เช่น large – larger – largest (กว้างใหญ่) , simple – simpler-simpest (ง่าย ธรรมดา)
              – ถ้ามีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัวก่อนเติม er หรือ est เช่น big – bigger – biggest (ใหญ่) , thin – thinner – thinnest (ผอม), fat – fatter – fattest (อ้วน)
            – ถ้าลงท้ายด้วย y เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม er , est (หน้า y ต้องไม่ใช่สระ) เช่น happy – happier – happiest (มีความสุข), silly – sillier – silliest (โง่) ยกเว้นถ้าเป็นคำ adverb ที่เกิดจากการเติม ly เข้าที่คำ adjective เติมคำ more, most เข้าข้างหน้า เช่น quickly – more quickly – most quickly (อย่างรวดเร็ว)

           B) คำสองพยางค์
             – ถ้าเป็นคำสองพยางค์ที่ออกเสียงสั้น เติม er , est เช่น early – earlier – earliest (เแต่ช้า เนิ่น) , simple – simpler , simplest
             – คำสองพยางค์ที่มีเสียงยาว ใช้ more , most ข้างหน้า เช่น modern – more modern , most modern (ทันสมัย) , correct – more correct , most correct (ถูก) , famous – more famous – most famous (มีชื่อเสียง)
(คำบางคำก็ใช้ได้ทั้งสองแบบ เช่น common – commoner – commonest หรือ common – more common – most common (ธรรมดา)

           C) คำสามพยางค์ขึ้นไป ใช้ more , most ข้างหน้า โดยไม่มีข้อยกเว้น เช่น
expensive – more expensive , most expensive (แพง)

หมายเหตุ ใช้ more , most กับ adverb ที่เกิดจากการเติม ly และ adjective
             ที่เกิดจากการเติม – ful , – ing และ -ed เช่น carefully – more carefully
             – most carefully (อย่างระมัดระวัง), boring – more boring – most
             boring (น่าเบื่อ) , tired – more tired – most tired (เหนื่อย)

 

IRREGULAR COMPARISON     
คำ adjective และ adverb ต่อไปนี้ มีรูปคำ ระดับกว่า และระดับสุด ผิดจากกฏเกณฑ์ที่กล่าวมา จะต้องจดจำเป็นพิเศษ ดังนี้

ระดับธรรมดา (ปกติ)
(Positive Degree)
ระดับกว่า
(Compaative Degree)
ระดับสูงสุด
(Superlative Degree)

good (ดี)
better (ดีกว่า)
best (ดีที่สุด)

well (ดี)
better (ดีกว่า)
best (ดีที่สุด)

many(มาก)ใช้กับนามนับได้
more (มากกว่า)
most (มากที่สุด)

much (มาก)ใช้กับนามนับไม่ได้
more (มากกว่า)
most (มากที่สุด)

little(น้อย) ใช้กับนามนับไม่ได้
less (น้อยกว่า)
least (น้อยที่สุด)

far (ไกล)
farther (ไกลกว่า)
farthest (ไกลที่สุด)

far (เหนือชั้น สูง)
further(เหนือชั้นกว่า)
furthest (เหนือชั้นที่สุด)

Rate this:


Comparisons การเติม er / est / more / most


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Comparisons การเติม er / est / more / most

How to book cheap Tours in Phuket Thailand – Where to book tours in phuket #livelovethailand


How to book cheap Tours in Phuket Thailand Where to book tours in phuket livelovethailand
Booking tours in phuket where to book tours in phuket what tours to book in phuket how to book tours in patong phuket
Booking tours in Phuket is a very essential thing while visiting this exotic paradise, and just like your plane ticket the prices may vary for the same tour from double to sometimes triple.
In this vlog we are going to share with you our experience how and from where to book the best famous tours in Phuket, by paying affordable prices and getting the best of it.
You’re free to use this song in any of your videos, but you must include the following in your video description (Copy \u0026 Paste):
Inner Peace by Mike Chino https://soundcloud.com/mikechino
Creative Commons — AttributionShareAlike 3.0 Unported — CC BYSA 3.0
http://creativecommons.org/licenses/b…
Music promoted by Audio Library https://youtu.be/0nI6qJeqFcc
Follow us on Instagram
https://www.instagram.com/Live_Love_Thailand
Our main point is to share our updated experience with you and be helpful as much as we can to your future trips to Thailand and other destinations.
Any suggested Ideas are welcomed.
Be a member of our channel by joining our Patrons on the Link below
https://www.patreon.com/livelovethailand
If you like to support my channel, and help me to do more videos subscribe on the below link.
https://goo.gl/Gz8rWW
OUR CAMERA GEAR
• Canon 200D
• Lenses / 1855mm, 55mm, wide angel 1118mm
. DJI Osmo Pocket
• Tripod
• Gorilla pod
• fY fyeutech Gimbel for steady shots
• Galaxy S9
• Visueo air Drone
About me:
I am a graphic designer, Travel Vlogger \u0026 Photographer. I travel a lot \u0026 make videos about everything I experience from my flights, food, social life, culture nightlife and much more
I love coffee.
I have been inspired by Thailand and its culture, the food and the lovely people. I have been making videos and vlogs since 2012 and improving my filming abilities as a vlogger by using more advanced gears and techniques.
Now YouTube is part of my life and hope it will always be.
Thank you for all your support.
“Dream your life \u0026 live your Dream “
If you like to support my channel, and help me to do more videos subscribe on the below link.
https://goo.gl/Gz8rWW

How to book cheap Tours in Phuket Thailand - Where to book tours in phuket #livelovethailand

ฝึกคิดเป็นภาษาอังกฤษ กับ 100 คำที่คุณควรรู้ | คำนี้ดี RANDOM100 VOL.1


คลิปพอดแคสต์ย้ายไปลงที่ช่องยูทูบ THE STANDARD PODCAST แล้ว กดติดตามเพื่อไม่ให้พลาดตอนใหม่ๆ http://bit.ly/SUBthestandardpodcast
อยากพูดอังกฤษให้คล่อง ต้องพยายามไม่แปลจากภาษาไทยในหัวก่อนชั้นนึง แต่ต้องเห็นปุ๊บพูดเป็นอังกฤษได้ปั๊บเลย แบบฝึกหัดนี้น่าจะช่วยได้ กับ 100 สิ่งที่คุณควรรู้ว่าภาษาอังกฤษเรียกว่าอะไร จากเวลาที่เห็นภาพ เราให้แค่ 3 วินาทีเท่านั้นในการพูดศัพท์ออกมา แต่ถ้าอยากได้เวลามากกว่านั้น ให้กด pause เอาเองได้เลย
———————————————
THE STANDARD PODCAST : EYEOPENING FOR YOUR EARS
พอดแคสต์จากสำนักข่าว THE STANDARD
Website : https://www.thestandard.co/podcast
SoundCloud: https://soundcloud.com/thestandardpodcast
Spotify : https://open.spotify.com/show/7o7TF3zfPyoydhWxtGSzLC?si=Nb_LuV8NS3C9mJ6ePdXLA
Twitter : https://twitter.com/TheStandardPod
Facebook : https://www.facebook.com/thestandardth/
KNDRANDOM100 คำนี้ดี TheStandardPodcast TheStandardco TheStandardth

ฝึกคิดเป็นภาษาอังกฤษ กับ 100 คำที่คุณควรรู้  | คำนี้ดี RANDOM100 VOL.1

การเปรียบเทียบ adj แบบธรรมดา/ขั้นกว่า/ขั้นสูงสุด


ในคลิปนี้จะเป็นในส่วนของแกรมม่า::เรื่อง การเปรียบเทียบ ขั้นธรรมดา ขั้นกว่า และขั้นสูงสุด
โดยเนื้อหาจะประกอบไปด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆ
1. การใช้ as………..as
2. การเติม er , est หลังคำadj. 12 พยางค์ เพื่อทำเป็นขั้นกว่า และขั้นสูงสุด
3. การเติมคำ more , most หน้าคำ adj. 3 พยางค์ขึ้นไป เพื่อทำเป็นขั้นกว่าและขั้นสูงสุดค่ะ
มีข้อยกเว้นและอะไรเพิ่มเติมบ้างนั้น หาคำตอบได้ในคลิปเลยจ๊าาาา
ถ้าเรียนแล้วถูกใจ อย่าลืม! ช่วยกันกด Like And Share ออกไปเยอะๆ เพื่อให้ เพื่อนๆ น้องๆ หรือ
พ่อ แม่ ลูก หลาน ได้มีโอกาสเรียนฟรี ไม่ต้องไปเสียค่าคอร์สแพงๆ เพื่อเสริมทักษะและพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษกันนะคะ
Facebook Page
https://www.facebook.com/alejmakeup/
Follow Instagram
https://www.instagram.com/alejknowz/
Id : Alejknowz

การเปรียบเทียบ adj แบบธรรมดา/ขั้นกว่า/ขั้นสูงสุด

รำลึก ดร. วีรพงษ์ ‘โกร่ง’ รามางกูร : Suthichai live 08/11/2564


รำลึก ดร. วีรพงษ์ ‘โกร่ง’ รามางกูร : Suthichai live 08/11/2564
.
นำเสนอและอัพเดทข่าวสาร ความรู้ ให้ประชนทั่วไปได้รับทราบ
suthichailive
สุทธิชัย
หยุ่น
suthichai
yoon
กาแฟดำ
kafedam
รวบรวมเนื้อหาข่าวสารของคนบ้าข่าวได้ที่ www.suthichaiyoon.net

รำลึก  ดร. วีรพงษ์ ‘โกร่ง’  รามางกูร : Suthichai live 08/11/2564

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ cheap ขั้นกว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *