Skip to content
Home » [Update] หลักการใช้ adjectives ending with –ed and -ing มันใช้ต่างกันยังไง มาดูให้เคลียร์ไปเลย | หลักการเติม ing – NATAVIGUIDES

[Update] หลักการใช้ adjectives ending with –ed and -ing มันใช้ต่างกันยังไง มาดูให้เคลียร์ไปเลย | หลักการเติม ing – NATAVIGUIDES

หลักการเติม ing: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

0

SHARES

Facebook

Twitter

adjective ที่เติม ed ing มันก็คือคำกริยานั่นแหละครับ แต่มาเติม ed ing ต่อท้ายเพื่อทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์แค่นั้นเอง ว่าแต่มันใช้ยังไง เดี๋ยวมาดูกันดีกว่านะ

Table of Contents

การใช้ adjective ed ing

adjective ที่เติม ed หรือ ing เดิมทีมันก็คือคำกริยานั่นแหละ ถ้าเป็นคำกริยา บางคำจะแปลว่า “ทำให้….” หรือ แปลตามตัว

แต่พอทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์ จะแปลว่า “รู้สึก…” หรือ “น่า…”

ซึ่งถ้าเป็นคำโดดๆ เราจะไมรู้ว่ามันทำหน้าที่เป็นคำกริยา หรือ คุณศัพท์ จนกว่ามันจะมาปรากฎในรูปประโยคนั่นแหล่ะ เราจะถึงบางอ้อ

ตัวอย่างใช้เป็นคำกริยา

  • frighten แปลว่า ทำให้…กลัว
  • tire แปลว่า เหนื่อย
  • satisfy แปลว่า ทำให้…พอใจ
  • interest แปลว่า ทำให้สนใจ
  • disappoint แปลว่า ทำให้ผิดหวัง

He is frightening kids by wearing a ghost mask.
เขากำลังทำให้เด็กๆกลัวโดยการสวมหน้ากากผี

My granddad is very old, so he tires easily.
ปู่ของผมแก่มาก ดังนั้นท่านจึงเหนื่อยง่าย

Yesterday’s show satisfied all of us.
การแสดงเมื่อวานทำให้พวกเราทุกคนพอใจ

This job might interest you.
งานนี้อาจทำให้คุณสนใจก็ได้นะ

Sam never disappoints his parents.
แซมไม่เคยทำให้พ่อแม่ผิดหวัง

ตัวอย่างการใช้เป็นคำคุณศัพท์

ทีนี้พอมาทำหน้าที่เป็นคำคุณศํพท์ จะแปลว่า รู้สึก… น่า… โดยมีหลักการจำดังนี้

รู้สึก ให้เติมอีดี
น่าอย่างนั้น น่าอย่างนี้ เติมไอเอ็นจี นะจ๊ะ… (เอ้า..อีกเที่ยว)

  • ed = รู้สึก
  • ing = น่า

I am bored. ฉันรู้สึกเบื่อ (เซ็ง ไม่อยากทำอะไรทั้งนั้น)
I am boring. ฉันน่าเบื่อ (ไม่มีใครอยากคบ อยากคุยกับฉัน)

โครงสร้างของประโยค

S + linking verb + adj ed, ing

  • S = Subject คือ ประธานของประโยค
  • Linking verb คือ กริยาเชื่อมทั้งหลาย เช่น is, am, are, was, were, seem, sound, feel, etc.
  • adj ed, ing คือคำคุณศัพท์ที่เติม ed กับ ing

อ่านเพิ่มเติม >> Linking verb คืออะไร

ed รู้สึก…

ใครรู้สึก? ก็ประธานของประโยคไง เช่น ฉัน คุณ เขา เด็กชาย ไก่ ลิง พระ เด็ก เป็นต้น เราจะแปลว่า รู้สึก หรือไม่ต้องแปลว่ารู้สึกก็ได้

  • I am bored. I won’t do anything today.
  • ฉันเบื่อ ฉันจะไม่ทำอะไรทั้งนั้นวันนี้
  • I am confused. I don’t know which way to go.
  • ฉันรูสึกสับสบ ฉันไมรู้จะไปทางไหนดี
  • Everyone was impressed when the show ended.
  • ทุกคนรู้สึกประทับใจ เมื่อการแสดงจบลง
  • Jane sounded pleased when she passed the exam.
  • เจนดูเหมือนรู้สึกพอใจที่หล่อนสอบผ่าน
  • I am interested in this job.
  • ฉันสนใจในงานนี้
  • I am deeply disappointed in you.
  • ฉันผิดหวังในตัวเธออย่างมาก

ing น่า…

ใครน่า…? ก็ประธานของประโยคอีกนั่นแหละ เช่น น่าเบื่อ น่าสับสน น่าประทับใจ เป็นต้น

  • I am boring. Nobody wants to play with me.
  • ฉัน(เป็นคน)น่าเบื่อ ไม่มีใครอยากเล่นกับฉัน
  • The streets are confusing. I don’t know which way to go.
  • ถนน(มัน)น่าสับสน ฉันไมรู้จะไปทางไหนดี
  • The show was impressing. Everyone liked it very much.
  • การแสดงน่าประทับใจ ทุกคนชอบมาก
  • The roller coaster is challenging. I want to try it.
  • เครืองเล่นโรลเลอร์โคสเตอร์น่าท้าทายมาก ฉันจะลองมัน
  • This job is interesting.
  • งานนี้น่าสนใจ
  • The result is really disappointing.
  • ผลที่ออกมาน่าผิดหวังจริงๆ

ยกตัวอย่างให้พอเห็นภาพนะครับ มันมีหลายคำอยูเลยแหละครับ คำประเภทนี้ มาดูคำที่เราควรรู้จักกันดีกว่านะครับ

  • Amazed – Amazing รู้สึกมหัศจรรย์ – น่ามหัศจรรย์
  • Amused – Amusing สนุก – น่าสนุก
  • Annoyed – Annoying รำคาญ – น่ารำคาญ
  • Astonished – Astonishing ประหลาดใจ – น่าประหลาดใจ
  • Bored – Boring รู้สึกเบื่อ – น่าเบื่อ
  • Challenged – Challenging ท้าทาย – น่าท้าทาย
  • Confused – Confusing สับสน – น่าสับสน
  • Depressed – Depressing หดหู่ – น่าหดหู่
  • Disappointed – Disappointing ผิดหวัง – น่าผิดหวัง
  • Disgusted – Disgusting ขยะแขยง – น่าขยะแขยง
  • Embarrassed – Embarrassing อับอาย -น่าอับอาย
  • Entertained – Entertaining บันเทิง – น่าบันเทิง
  • Excited – Exciting ตื่นเต้น – น่าตื่นเต้น
  • Exhausted – Exhausting เหนื่อย – น่าเหนื่อย
  • Fascinated – Fascinating ตราตรึงใจ – น่าตราตรึงใจ
  • Frightened – Frightening หวาดกลัว – น่าหวาดกลัว
  • Interested – Interesting สนใจ – น่าสนใจ
  • Pleased – Pleasing พึงพอใจ – น่าพึงพอใจ
  • Relaxed – Relaxing ผ่อนคลาย – น่าผ่อนคลาย
  • Satisfied – Satisfying พอใจ – น่าพอใจ
  • Shocked – Shocking ตกใจ – น่าตกใจ
  • Surprised – Surprising ประหลาดใจ – น่าประหลาดใจ
  • Terrified – Terrifying กลัว – น่ากลัว
  • Thrilled – Thrilling ขนลุก – น่าขนลุก
  • Tired – Tiring เหนื่อย – น่าเหนื่อย
  • Touched – Touching สะเทือนใจ – น่สะเทือนใจ
  • Worried – Worrying กังวล – น่ากังวล

ขอ 5 ดาวให้บทเรียนด้วยครับผม…

คลิกดาวดวงที่ขวามือสุดเลยครับครับ…

Average rating 4.5 / 5. Vote count: 262

ยังไม่มีใครให้ดาว คุณคือคนแรก….

[NEW] Grammar: สรุป! หลักการเติม s | หลักการเติม ing – NATAVIGUIDES

คำกริยาในภาษาอังกฤษ เมื่อใช้กับประธานเอกพจน์ (ยกเว้น I, You) จะต้องเติม s/es เช่น The girl runs. และเมื่อต้องการพูดว่ากำลังทำการกระทำนั้น ๆ อยู่ใน Present Continuous Tense คำกริยาจะเติม –ing ดังนั้นต้องจำให้ขึ้นใจว่า หลักการเติม s และ –ing ที่กริยานั้นทำอย่างไร

หลักการเติม s/es ที่คำกริยา

1. คำกริยาปกติทั่วไปเติม s ได้เลย เช่น

    come → comes
    drink → drinks
    eat → eats
    run → runs
    write → writes

2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย o, s, ch, x, z ให้เติม es เช่น

    do → does
    go → goes
    kiss → kisses
    pass → passes
    catch → catches
    teach → teaches
    fix → fixes
    buzz → buzzes

3. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y มี 2 กรณี คือ

    – หน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es เช่น
       cry → cries
       dry → dries
       fly → flies
       study → studies
       try → tries

    – หน้า y เป็นสระ a, e, i, o, u ให้เติม s ได้เลย เช่น
       play → plays
       buy → buys
       joy → joys

หลักการเติม –ing ที่คำกริยา

1. คำกริยาทั่วไปเติม –ing ได้เลย เช่น

    buy → buying
    cry → crying
    eat → eating
    go → going
    wait → waiting

2. คำกริยาที่มีตัวสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว ให้เพิ่มตัวสะกดอีก 1 ตัว แล้วเติม –ing เช่น

    get → getting
    sit → sitting
    stop → stopping
    swim → swimming

3. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ทิ้ง แล้วเติม –ing เช่น

    come → coming
    drive → driving
    move → moving
    smoke → smoking
    write → writing

4. คำกริยที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y แล้วเติม –ing เช่น

    die → dying
    lie → lying

5. คำกริยา 2 พยางค์ มี 2 วิธีคือ

    – ถ้าเน้นเสียงหนักที่พยางค์หลังให้เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัว แล้วเติม –ing เช่น
       admit → admitting
       defer → deferring

    – ถ้าเน้นเสียงหนักที่พยางค์หน้า ให้เติม –ing ได้เลย เช่น
       suffer → suffering
       offer → offering

ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ ถ้าเราจำหลักได้ แรก ๆ อาจสับสนบ้าง แต่ฝึกเปล่ี่ยนบ่อย ๆ จะสามารถเติม s/es หรือ -ing ที่คำกริยาได้อย่างไม่พลาดแน่นอนค่ะ

 


กฎการเติม ing เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE


กฎการเติม ing เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE
ในคลิปวีดีโอนี้เราจะมาดูหลักการ ในการเติม ing สำหรับคำกริยากัน โดยทั่วไปในการฝึกภาษาอังกฤษโดยเฉพาะกับการเขียน เราจำเป็นต้องรู้วิธีการสะกดคำกริยาที่เติมing ให้อย่างถูกต้อง ในคลิปนี้ติวเตอร์ได้รวบรวมเทคนิคในการเติมing ไว้ที่กริยาว่ามีกฎอะไรบ้าง จะช่วยทำให้เราสามารถเข้าใจกฎและหลักการในการเติมingได้มากขึ้น รวมถึงวิธีการอ่านออกเสียงเป็นภาษาอังกฤษแบบที่ถูกต้อง
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ ครบทุกหลักการใช้งานในคลิปเดียวแบบเต็มสูบทั้งหมด
หากสนใจมาเรียนภาษาอังกฤษตัวต่อตัว กับทางESE สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ทางช่องทางเหล่านี้นะครับ
อย่าลืมกดติดตามเราทางช่องทางอื่นๆด้วยนะครับ
Follow us on Facebook: https://www.facebook.com/easyandsimpleenglish/
Follow us on Instagram: https://www.instagram.com/ese_stagram_th/
Visit our website: http://easysimpleenglish.com/
Contact: Tel: 0863537300

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

กฎการเติม ing เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE

เพลงล้างมือบ่อยๆ (ล้างมือ 7 ขั้นตอน) cover dance : เยลลี่,แตงหวาน,ก้อง


เต้นประกอบเพลงล้างมือบ่อยๆ ล้างมือบ่อยๆ ล้างมือ7ขั้นตอน มีสเยลลี่ มีสแตงหวาน มาสเซอร์ก้อง เยลลี่ เยยลี่ปีโป้ Yellypeepo

เพลงล้างมือบ่อยๆ (ล้างมือ 7 ขั้นตอน) cover dance : เยลลี่,แตงหวาน,ก้อง

หลักการเติม ing


เป็นวิดีโอที่ใช้ในการบรรยาย หลักการ การเติม ing ซึ่งมีหลักการทั้งหมด 5 ข้อ
พร้อมแบบฝึกหัด ใช้ในการจัดการเรียนการสอนช่วงสถานการณ์โควิด 19

หลักการเติม ing

111 ประโยคอังกฤษสั้นๆ เพื่อผู้เริ่มหัดสนทนา


ติดตาม Facebook Fanpage ครูเชอรี่ English Bright
https://www.facebook.com/cherry.englishbright

111 ประโยคอังกฤษสั้นๆ เพื่อผู้เริ่มหัดสนทนา

หลักการเติม ing (ท้ายคำกริยา) G.6


หลักการเติม ing (ท้ายคำกริยา) G.6

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ หลักการเติม ing

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *