Skip to content
Home » [Update] | หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 40(1) เงินเดือน ค่าจ้าง เงินบํานาญ ฯลฯ – NATAVIGUIDES

[Update] | หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 40(1) เงินเดือน ค่าจ้าง เงินบํานาญ ฯลฯ – NATAVIGUIDES

หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 40(1) เงินเดือน ค่าจ้าง เงินบํานาญ ฯลฯ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

We’re fetching your file…

Please wait a moment while we retrieve your file from its home on the internet

[Update] | หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 40(1) เงินเดือน ค่าจ้าง เงินบํานาญ ฯลฯ – NATAVIGUIDES

We’re fetching your file…

Please wait a moment while we retrieve your file from its home on the internet


กลับกันถ้าให้คณะก้าวหน้าเป็นคนเลือก ส.ว.เลือกศาลศาลรัฐธรรมนูญ ? ปิยบุตร แสงกนกกุล Re-Solution


สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทำคลิป
https://www.youtube.com/channel/UCJ842uu2IftweuYAMDGwKqA/join
เงินส่วนนี้จะไม่เข้าพรรคก้าวไกลหรือคณะก้าวหน้า
ReSolution ถึงเวลารัฐธรรมนูญใหม่
[ ฟังให้จบ! ปิยบุตร ปิดท้ายก่อนลงมติ ยันเจตนาร่าง แก้รัฐธรรมนูญ คืนความเป็นกลาง สร้างสมดุลให้ทุกฝ่าย ]
.
การเข้าชื่อโดยประชาชนเสนอร่างกฎหมาย เป็นเพียงเศษเสี้ยวเดียวที่ให้ปวงชนชาวไทยซึ่งรัฐธรรมนูญเป็นผู้ทรงอำนาจสูงสุดและเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ได้แสดงออกซึ่งการใช้อำนาจได้บ้าง นอกจากการรอเลือกตั้งใหม่อย่างเดียว
.
ในเมื่อสิ่งนี้มันเป็นเศษเสี้ยวที่ประชาชนได้ใช้ ประชาชนก็ขอใช้บ้าง แม้พี่น้องหลายท่านจะรู้ว่าอนาคตของร่างฯ นี้อาจจะไม่ผ่าน แต่ก็พยายาม ความพยายามแบบนี้หรือคือการล้มล้างการปกครอง?
.
ทุกคนมีแต่เพียงอยากทำให้ประเทศไทยดีขึ้น อยากจะทำให้คนไทยอยู่ร่วมกันได้ในความคิดเห็นที่แตกต่าง
.
“ผมขอความสนับสนุนจากเพื่อนสมาชิกทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทุกท่าน มาร่วมกันลงมติรับหลักการในวาระที่หนึ่ง มาร่วมกันเปิดประตูแห่งความหวัง เปิดประตูแห่งการปฏิรูป เปิดประตูแห่งการสร้างพื้นที่ปลอดภัยตามระบบเพื่อแก้ไขปัญหา ร่วมกันเปิดประตูแห่งการแสวงหาฉันทามติ” ปิยบุตร กล่าวทิ้งท้าย
.
ปิยบุตร แสงกนกกุล อภิปรายสรุปปิดท้าย
ในฐานะผู้เสนอร่างแก้รัฐธรรมนูญ รื้อระบอบประยุทธ์
16 พฤศจิกายน 2564
ช่องก้าวหน้าก้าวต่อไป
จัดทำขึ้นเพื่อกระจายเผยแพร่แนวคิดและอุดมการณ์ประชาธิปไตย
ทางเราไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับ คุณธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ และพรรคอนาคตใหม่ ใดๆ ทั้งสิ้น ตอนนี้ได้เปลี่ยนเป็นพรรคก้าวไกล กับคณะก้าวหน้า เราจึงนำเสนอในหนทางของเรา
ก้าวหน้าก้าวต่อไป อนาคตใหม่การเมือง Thanathorn Juangroongruangkit ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ เอกพรรณิการ์ วานิช ช่อ ปิยบุตร แสงกนกกุล ป๊อก อนาคตใหม่ อนาคตใหม่ล่าสุด พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ รังสิมันต์ โรม ก้าวไกล สู่อนาคตใหม่ ก้าวหน้า เท่าเทียม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

กลับกันถ้าให้คณะก้าวหน้าเป็นคนเลือก ส.ว.เลือกศาลศาลรัฐธรรมนูญ ? ปิยบุตร แสงกนกกุล  Re-Solution

7 อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย


7 อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

#ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุ#ย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!


สำหรับผู้ประกันตนไม่ว่าจะเป็นแรงงานไทย แรงงานต่างด้าว พม่า ลาว กัมพูชา หรือชาติอื่นที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม นำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน เกษียนแล้วอย่าลืมรับสิทธิ์ กรณีเกณียนที่สำนักงานประกันสังคม ต้องทำอย่างไรบ้าง หากทำเรื่องแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าจะได้รับเงินเท่าไหร่ ประมาณกี่วันถึงจะได้รับเงินเกษียณ มีคำตอบทุกประเด็นสงสัยประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!

#ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุ#ย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!

#ขอคืนเงินประกันสังคมชราภาพ#บำเหน็จ บำนาญชราภาพก่อนอายุ 55 ปี ได้ไหม! หากตกงาน! หรือลาออก?


เงินชราภาพประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นบำเหน็จ เป็นก้อน หรือเงินบำนาญ เป็นรายเดือน ถ้าอายุยังไม่ถึงตามเกณฑ์ประกันสังคมกำหนด แต่อยากได้เงินบางส่วนมาก่อนจะทำได้ไหม มาตอบคำถามคาใจ พร้อมลุ้นประกันสังคมพิจารณาแก้กฎหมายเงินชราภาพ 3 ข้อ ซึ่งทางรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รมต.สุชาติ ชมกลิ่น ย้ำอีกรอบเข้าสู่ ครม.เดือนหน้า มิถุนายน 2564ขอคืนเงินประกันสังคมชราภาพบำเหน็จ บำนาญชราภาพก่อนอายุ 55 ปี ได้ไหม! หากตกงาน! หรือลาออก? ขอคืนเงินประกันสังคมชราภาพบำเหน็จ บำนาญชราภาพก่อนอายุ 55 ปี ได้ไหม! หากตกงาน! หรือลาออก?

#ขอคืนเงินประกันสังคมชราภาพ#บำเหน็จ บำนาญชราภาพก่อนอายุ 55 ปี ได้ไหม!          หากตกงาน! หรือลาออก?

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 40(1) เงินเดือน ค่าจ้าง เงินบํานาญ ฯลฯ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *