Skip to content
Home » [Update] | ผสมผสานอย่างลงตัว ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

[Update] | ผสมผสานอย่างลงตัว ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

ผสมผสานอย่างลงตัว ภาษาอังกฤษ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

 Tense คือ… … กาล….หรือ….เวลา

 

 

ใช้ในการแสดง เวลา ของ การกระทำ เพื่อพูดบอกเหตุการณ์นั้นๆ ว่าเป็น ปัจจุบัน อดีตหรือ อนาคต

 

ก็ลองพิจารณาประโยคง่ายๆ เหล่านี้

 

ate Khaomankai yesterday
ฉันกินข้าวมันไก่เมื่อวาน

eat Khaomankai today
ฉันกินข้าววันไก่วันนี้

will eat Khaomankai tomorrow
ฉันจะกินข้าวมันไก่พรุ่งนี้

 

สังเกตออกง่ายๆแล้วใช่ไหม ว่าส่วนมากเขามี การระบุเวลา ช่วยให้เราเข้าใจกันง่ายๆ 
จะเป็นวันนี้ เมื่อวาน พรู่งนี้ อาทิตย์หน้า ตอนนี้ เมื่อเช้า ปีที่แล้ว หรืออะไรก็ว่าไป เราจะได้เจอประกอบในบทหลังๆ บ่อยๆแน่ๆ
แต่ภาษาอังกฤษนั้น ยังมีเรื่องการผันกริยาที่ภาษาไทยเราไม่มี
(ซึ่งผมไม่ขอสอน แต่เราต้องหัดใช้ให้ชินกันเอง)

 

จากที่บอกมา เราก็แบ่งเวลาได้เป็นสามชนิด นั้นคือ
1. Present Tense – ปัจจุบัน

2. Past Tense – อดีต

3. Future Tense – อนาคต

และในแต่ละเวลากาล จะมี Tense ย่อยๆแบ่งออกเป็นหลัก อีก 4 Tense คือ

1. Simple (แสดงเวลากระทำโดยไม่ได้กำหนดว่ากระทำเสร็จตอนไหน)

2. Continuous (แสดงเวลาว่าการกระทำที่กำลังทำอยู่ (เจาะจงเวลา)

3. Perfect (แสดงเวลาที่กระทำเสร็จไปแล้ว)

4. Perfect Continuous (แสดงเวลาการกระทำนั้นได้เริ่มทำแล้ว และยังคงทำอยู่)

 

ดังนั้นสรุปจากด้านบนมี 3 กาลเวลา ย่อยออกเป็นอย่างละ 4

รวมกันทั้งหมดแล้ว เราจะมี Tense รวมกันถึง 12 Tense
Oh my god! อย่าเพิ่งสลบเหมือด ท้อแท้ที่จะศึกษาต่อละ เพราะในชีวิตจริงๆ เราใช้บ่อยๆกันไม่ครบหรอก เพราะบางตัวนั้นโอกาสใช้น้อยมากๆ
ต่อจากนี้ จะนำมาอธิบายให้เราเข้าใจกันในเอนทรี่ต่อๆไปเอง

เรียงจากความง่ายไป คนที่เก่งเรื่องไวยากรณ์ง่ายๆ อาจเกิดความเบื่อ ต้องขออภัยด้วย แต่จำเป็นต้องเขียนให้ครบเรียงกันไปทุก Tense

 

ขอแค่จำพวกนี้ให้ได้พอ…

Tense หลักพื้นฐาน 3 อย่าง

1. Present Simple:- V1
2. Past Simple : – V2
3. Future Simple : will,shall Vinfinitive (V1)

ผสานกับ รูปหลัก 2 อย่าง

รูป Continuous: be Ving
รูป Perfect : have V3

 

——————————————————————————–

รู้แค่นี้เราก็สร้างรูปแบบ tense อื่นๆ ได้แล้ว เช่น

4. Present Continuous จะเห็นว่า คือ Present รวมกะรูป Continuous 
ให้ทำดังนี้

– V1  
 be Ving

< อันบนคือ Present อันล่างคือ Continuous ให้เขียนเหลื่อมกันช่องนึง >
ซึ่งประมวลผลได้ ว่า = is,am,are Ving(V.tobe ช่อง1คือ is,am,are )

5. Present Perfectจะเห็นว่า คือ Present รวมกะรูปPerfect 
ให้ทำดังนี้

– V1  
 have V3

< อันบนคือ Present อันล่างคือPerfect ให้เขียนเหลื่อมกันช่องนึง >
ซึ่งประมวลผลได้ ว่า = has,have V3(Have ช่อง1คือhas,have )

พอเริ่มเข้าใจยังนะ…

ต่อไป เริ่มadvanceขึ้นแล้ว เป็นการผสม 3 อัน หลักการเดิม

6. Present Perfect Continuous

– V1   
 have V3  
  be Ving

Present Perfect Continuous เหลื่อมกันอย่างละช่อง
V1 have คือ has,have : V3 be = been : Ving
รวมแล้วได้ = has,have been ving

ต่อไปลองทำเองละกันนะ จะสรุปเลยว่าได้อะไร

7. Past Perfect = had V3

8. Past Continuous = was,were Ving

9. Past Perfect Continuous = had been Ving

10. Future Perfect = will have V3

11. Future Continuous = will be Ving

12. Future Perfect Continuous = will have been Ving

 

——————————————————————————–

เมื่อรู้รูปแบบแล้ว ก็มาดูกันต่อว่า มันใช้ตอนไหนกัน (จริงๆเอาแต่หลักๆก็พอ)

1. Present Simple

แสดงการกระทำที่ทำเป็นประจำ มีคำบอกพวก always , often , every , seldom ( บอกว่าไม่บ่อยก็ใช่ )
แสดงความจริงทางวิทยาศาสตร์ สัจธรรม สุภาษิต
แสดงความจริงขณะที่พูดอยู่
เช่น 
I watch TV everyday.
The world is round.
Dang and Dam are brothers.

 

2. Present Continuous

ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ มักมีคำบอกเวลา เช่น now , at the moment , litsen! look!
บอกอนาคตอันใกล้ ( coming soon )
ป.ล. กิริยาที่ใช้บ่งบอกความรู้สึก ความคิด มักไม่ใช้รูป ing เช่น see , hear , feel ,smell , want , agree (และอีกมากมาย)

เช่น
Phan talking on the phone now.
The end of Evangelionis coming soon to the theater near you.

 

3. Present Perfect

ใช้กับเหตุการณ์ในอดีตที่ดำเนินต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน มักมีคำว่า since , for , so far
ใช้กับเหตุการณ์ในอดีตที่จบไปแล้ว แต่ผลของการกระทำยังอยู่ 
แสดงเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงไป มักมีคำว่า just , yet , already , recently , lately , finally , eventually 
ใช้กับเหตุการณ์ที่ เคย/ไม่เคยทำ บอกจำนวนครั้งในอดีต มักมีคำว่า ever , never , once , twice ,again and again …
เช่น
I have likedjapanese animationever since I was a child.
I have turned on the radio.
I have already read this book.
Have you ever been to Neo-Tokyo?

 

4. Present Perfect Continuous

ใช้เหมือน Present Perfect แต่เน้นความต่อเนื่องของเวลาว่ายาวนาน มักมีคำว่า all week , all day ..
และใช้เน้นว่าจำดำเนินต่อเรื่อยไปในอนาคตด้วย
เช่น
I have been sitting here since 6 o’clock ( คือเน้นว่านั่งมานานแล้วแล้วก็จะนั่งต่อไป)
แต่ถ้าเป็น I have sat here since 6 o’clock ( บอกว่านั่งมานานแล้วต่อไปจะเป็นไงไม่รู้)

 

5. Past Simple

ใช้กับเหตุการณ์ในอดีตที่ได้จบลงไปแล้ว มักมีคำบอกเวลาดังนี้ yesterday , in the past , ago , in 1983 (ปีอดีต) , the other day , last ( night , week … )
คำว่า”used to” ซึ่งเป็นการใช้กับสิ่งที่เคยทำเป็นประจำในอดีต แต่ตอนนี้เลิกทำแล้ว คำว่า “used”ในความหมายนี้ จึงเติม ed เสมอ
เช่น
Dang saved my life yesterday.
She used to drink milk every night.

 

6. Past Perfect

ใช้เป็น Combo กับ Past Simple
โดยที่ ใช้กับเหตุการณ์ในอดีต 2 เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นไม่พร้อมกัน 
ที่เกิดก่อนใช้ Past Perfect ที่เกิดที่หลังใช้ Past Simple

เช่น
She had finished her breakfast before I arrived.

 

7. Past Continuous

ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีต
ใช้กับ 2 เหตุการณ์ในอดีต ( Combo กับ Past Simple อีกแล้ว )
เหตุการณ์หนึ่งกำลังดำเนินอยู่ ( ใช้ Past Continuous ) แล้วก็มีอีกเหตุการณ์หนึ่งเข้ามาแทรก ( ใช้ Past Simple )
ใช้กับเหตุการณ์ 2 อย่างที่ดำเนินไปพร้อมๆกันในอดีต มักมีคำว่า while , as เชื่อม
เช่น
At 8 o’clock last night , she was studying.
While I was walking down the street , it began to rain.
You were running in the park while I was swimming in the pool.

 

8. Past Perfect Continuous

ใช้เหมือน Past Perfect แต่เน้นว่า มีเหตุการณ์อย่างแรกดำเนินมาเรื่อยจนมีเหตุการณ์หลังเกิดขึ้น
เช่น
The police had been looking for the criminal for 2 years before they caught him.

 

9. Future Simple

แสดงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต มีคำบอกเวลาคือ tomorrow , next (time,month…) , soon , shortly

be going to ต่างกับ will,shall ตรงไหน ??

will shall แสดงความเต็มใจทำให้ (ไม่ได้วางแผน)
be going to แสดงการวางแผนล่วงหน้า
แต่ถ้าคาดการณ์ว่าอาจเกิดในอนาคตใช้ได้ทั้ง2อย่าง
กรณีต่อไปนี้ห้ามใช้ be going to แทน will shall

เหตุการณ์แทนความจริง
ไม่นิยมใช้กับ V1 ที่แสดงความรับรู้ ความคิดเห็น
ไม่นิยมใช้กับ if clause
แต่ถ้าประโยคมีคำเชื่อมพวก when,before,after,as soon as,until ประโยคที่ติดกับคำเชื่อมจะเป็น present Simple แต่อีกประโยคจะเป็น Future Simple

เช่น
Ask your teacher about it. She will help you.
I’m going to paint my bedroom tomorrow.
Ice will melt in a few minutes.
I will love you forever.
I will buy you a cake if you give me money.

 

10. Future Continuous

ใช้กับการคาดคะเนว่าจะเกิดเหตุการณ์นั้นๆในเวลาจุดนั้นในอนาคต
เช่น
At the same time tomorrow , I will be sitting here.

 

11. Future Perfect

ใช้คาดการณ์ว่าจะกระทำในอนาคตและจะเสร็จสิ้นเมื่อถึงเวลาใดเวลาหนึ่ง มักมีคำว่า by next week , by tomorrw by 9 o’clock
เช่น
I will have finished my homework by the time I go out on a date tonight.

 

12. Future Perfect Continuous

ใช้คล้ายกับ Future Perfect แต่เน้นว่าอาจมีการดำเนินต่อไป
เช่น
I will go to bed at 10 PM. He will get home at midnight.
At midnight, I will be sleeping.
I will have been sleeping for 2 hours by the time he gets home.

 

[NEW] แนวคิดทฤษฎีกลุ่มสื่อสารเชิงวัฒนธรรม (cultural Communication) | ผสมผสานอย่างลงตัว ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

 แนวคิดทฤษฎีกลุ่มสื่อสารเชิงวัฒนธรรม (cultural Communication)

คำว่า “วัฒนธรรม”  ในมิติของสังคมไทย การให้ความหมายมักจะไปผูกติดกับสิ่งที่ดีที่สุด เป็นคำพูดที่ดีที่สุด การกระทำที่ดีที่สุด ที่มนุษย์เคยกระทำมา ซึ่งปัจจุบันคำว่า “วัฒนธรรม” ได้เปลี่ยนไปในลักษณะของวัฒนธรรมมวลชน และวัฒนธรรมร่วมสมัย เรย์มอนด์วิลเลียมส์(Raymond Williams) นักทฤษฎี culture theory ได้ทลายจุดยืนเดิมมองว่าวัฒนธรรมมาจากสาขาวิชามนุษยศาสตร์ ซึ่งทฤษฎีการสื่อสารเป็นศาสตร์รุ่นน้องที่รับมาจากสาขามนุษย์ศาสตร์ วิเลียมส์มองวัฒนธรรมที่บริบททางสังคม โดยมองว่าวัฒนธรรมในยุคโบราณเน้นการพูดคุย มีการใช้ภาษาในการสื่อสาร ต่อมาในยุคเกษตรกรรม ในช่วงแรกๆ มนุษย์มีความผูกพันกับการเกษตร มีการปลูกพืชผัก จึงมีการผูกพันกับแรงงาน ผู้คน เกิดการอบรมบ่มเพาะขึ้นในสังคม

เรย์มอน วิลเลี่ยม(Raymond Williams) นักวิชาการด้านวัฒนธรรมศึกษาชาวอังกฤษได้ให้ความหมายไว้ว่าวัฒนธรรมคือรูปแบบของวิถีชีวิตที่แสดงออกให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมซึ่งในแต่ละสังคมก็มีความแตกต่างของรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้คนมากมายซึ่งเกี่ยวโยงเรื่องของกลุ่มคน ชนชั้น ภาษา ชาติพันธุ์ เรื่องเพศสภาวะ ฯลฯวัฒนธรรมจึงเป็นอะไรที่เราสัมผัสได้ ไม่เป็นอะไรที่นามธรรมมากนักแต่สิ่งที่บอกว่าสัมผัสได้ (ในแง่ของรูปธรรม)ก็มักเป็นอะไรที่ค่อยๆ เปลี่ยนแปลง

เรย์มอนด์วิลเลียมส์ ได้แบ่งวัฒนธรรมออกเป็น 4 ยุค คือ

         1.      ยุคแรก ยุควัฒนธรรมชั้นสูง –วัฒนธรรมชั้นล่าง โดยแบ่งวิธีคิดเป็น 2 แนวทาง คือ วัฒนธรรมชั้น

ล่างผูกพันกับการเกษตร การใช้แรงงาน กลุ่มคนในชนชั้นนี้กิจกรรมที่ทำคือการเกษตรมีการใช้แรงงาน ส่วนวัฒนธรรมชั้นสูงจะฉีกตัวเองออกจากการเกษตร และหันมาทำกิจกรรมที่ใช้สมอง เมื่อสังคมแบ่งเป็นชนชั้น คนที่มีวัฒนธรรมก็คือ คนชั้นสูง ดังนั้น กลุ่มคนชั้นสูงจึงเป็นกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมและคนชั้นล่างไม่มีวัฒนธรรม ซึ่งการมองวัฒนธรรมในยุคแรกนี้ในประเทศไทยก็มีลักษณะเดียวกัน

         2.      ยุคล่าอาณานิคม  เมื่อวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา วัฒนธรรมชั้นสูงได้เปลี่ยนความคิดใหม่ โดย

มองว่าการกระทำเลียนแบบตะวันตก เรียกว่า เป็นผู้ที่มีวัฒนธรรม (โดยใช้ไม้บรรทัดตะวันตกเป็นเกณฑ์วัด) อาทิ การแต่งตัว การใช้ช้อนส้อม การนับถือศาสนา และอะไรที่เป็นแบบยุโรปหรือฝั่งตะวันตก ก็ถือว่าเป็นวัฒนธรรมชั้นสูง สำหรับในประเทศไทยในช่วงรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม บริหารประเทศก็ได้รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเพื่อทำให้ประเทศไทยมีความศิวิไลซ์ โดยการประกาศรัฐนิยมออกมา เช่น การเปลี่ยนวันปีใหม่ จากเดิมวันที่ 13 เมษายนเป็นวันปีใหม่ไทย ก็ได้เปลี่ยนเป็นแบบสากลคือ วันที่ 1 มกราคมของทุกปีเป็นวันปีใหม่

       3.      ยุควัฒนธรรม คือ ความเสมอภาค  ในยุคนี้เกิดคำถามว่า เมื่อมีชนชั้นเกิดขึ้น วัฒนธรรมทำให้

เกิดความไม่เสมอภาค จึงลุกขึ้นมาท้าย โดยเดินคู่กันไประหว่างคนที่เชื่อว่า วัฒนธรรมชั้นสูงยังมีอยู่ โดยเดินตามสายของตนเองตามลัทธินาซี ที่มีการลุกขึ้นมาสั่งฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ขณะที่อีกฝั่งลุกขึ้นมาเรียกร้องความเสมอภาคโดยอิงทฤษฎีหน้าที่นิยม

วัฒนธรรมในยุคนี้สามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ เช่น ในกรณีเรื่องของรองเท้า รูปแบบของรองเท้าแบบเปิดหัวเปลือยส้น และแบบปิดหัว หุ้มส้น  หากมองในกลุ่มวัฒนธรรมเสมอภาคจะไม่คุยถึงว่าแบบไหนจะดีกว่ากันหรือใครสวมรองเท้าแบบไหนแล้วจะดีกว่ากันอย่างไร หรือใครสวมแบบไหนจะมีวัฒนธรรมอย่างไร แต่ในกลุ่มวัฒนธรรมเสมอภาคจะมองว่าคู่ไหนจะสนองความต้องการของมนุษย์ได้ดีกว่ากัน จะไม่มองว่าสวมรองเท้าแตะเปิดหัวเปิดส้นไม่มีวัฒนธรรมเท่ากับสวมรองเท้าแบบหุ้มส้น ปิดหัวปิดส้น

      4.      ยุควัฒนธรรมในแง่กระบวนการและการต่อสู้  เป็นการเรียกร้องวัฒนธรรมโดยมุ่งเน้นไปที่

ทฤษฎีกลุ่มกระบวนการการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม โดยการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมจะต้องมีกระบวนการดังแนวคิดเรื่องการผลิตซ้ำเพื่อสืบทอดวัฒนธรรม (Reproduction for Culture Transmission) ของวอลเตอร์ เบนจามิน (Walter Benjamin)เห็นว่าข้อเสนอเรื่องการสร้างอุตสาหกรรมวัฒนธรรมเป็นมุมมองของวัฒนธรรมชนชั้นที่เรียกตัวเองว่า ผู้ดีหรือกลุ่มชนชั้นสูงที่ประสงค์จะเห็นความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของงานศิลปะที่ ไม่มีการลอกเลียนแบบเบนจามินเชื่อว่าถ้ามองจากจุดยืนประชาธิปไตยวัฒนธรรมจะเห็นว่าเป็นเรื่องที่ดีมากที่ศิลปะพิเศษหายากของชนชั้นสูงจะได้ถูกแพร่กระจายไปในราคาถูกให้ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสเข้าถึงการผลิตซ้ำและการที่ประชาชนนำไปสู่ชีวิตประจำวันของพวกเขาจึงเป็นเรื่องดีและก่อให้เกิดการตีความหมายใหม่ๆ จากมวลชนอันหลากหลายไม่จำเป็นต้องผูกขาดการตีความศิลปะโดยผู้เชี่ยวชาญศิลปะขั้นสูงอีกต่อไปเบนจามินเห็นว่าการเสพงานศิลปะแบบ อุตสาหกรรมวัฒนธรรมไม่จำเป็นต้องทำให้ลืมปัญหาทางโลกในชีวิตประจำวันตรงกันข้ามเนื้อหา สาระของสื่อมวลชน หลายเรื่อง กลับช่วยให้ประชาชนเข้าร่วมในการปฏิบัติการทางสังคมและมีความคิดสร้างสรรค์ได้มากขึ้นเนื่องจากการผลิตซ้ำและการแพร่กระจายของวัฒนธรรมไปสู่มวลชนเป็นสิ่งที่ดีเบนจามินจึงเห็นประโยชน์และสนับสนุนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการผลิต วัฒนธรรม สินค้าให้มวลชนนอกจากนั้นเขาเห็นว่าในระบบการผลิตแบบทุนนิยมการสร้างวัฒนธรรมเป็นสินค้ามวลชนเป็นไปเพื่อรับใช้การเมืองการเมืองในที่นี้ไม่ใช่โลกอันสมบูรณ์แบบแต่เป็นการเมืองในวิถีประจำวันของประชาชนซึ่งหมายถึง ศิลปวัฒนธรรมกลายเป็นพื้นที่ของการ ต่อสู้ในการสร้างนิยามความหมายหรือการตีความหมายใหม่ๆของประชาชนนั่นเอง ดังนั้น กระบวนทัศน์ของการมองวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในแนวความหมายเดิมและความหมายใหม่จึงแตกต่างไปขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของโลกและแนวคิดการตีความทางวัฒนธรรมที่แตกต่างไปจากเดิม

แนวคิดและทฤษฎีอุตสาหกรรมวัฒนธรรม (Cultural Industry) ของธีโอดอร์อดอร์โน (Theodor Adorno)มองวัฒนธรรมเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมและวิถีการผลิตที่เน้นขายได้ในปริมาณมากมนุษย์เราจะไม่ได้รู้สึกถึงคุณค่าของวัฒนธรรมที่เสพอยู่และจะไม่รู้สึกสูญเสียหากว่าวัฒนธรรมนั้นได้สูญสลายไป

กาญจนา แก้วเทพ (2553) กล่าวว่า ในสังคมก่อนหน้ายุคปัจจุบันนั้นการสร้างสรรค์วัฒนธรรม(Cultural production)นั้นจะมีการดำเนินการโดยปัจเจกบุคคล(ศิลปิน) หรือเป็นกลุ่มบุคคล (กลุ่มช่าง) ที่มีลักษณะเป็นงานหัตถกรรม ศิลปกรรม /นาฏกรรม ฯลฯ เป็นงานที่ทำอย่างมีแรงบันดาลใจของบุคคล เป็นจุดเริ่มต้น เน้นคุณค่าเชิงสุนทรียะ ความงดงาม/แสดงถึงความเป็นจริงของโลก/ชีวิต ไม่มีระยะเวลากำหนดที่ตายตัว และมักจะอยู่เป็นเรื่องที่อยู่นอกเหนือมิติเศรษฐกิจ ฯลฯ ลักษณะที่กล่าวมาทั้งหมดจะตรงกันข้ามกับการสร้างสรรค์งานวัฒนธรรมในยุคอุตสาหกรรมสร้างวัฒนธรรม ซึ่งได้นำเอารูปแบบกระบวนการผลิตสินค้าในโรงงาน ที่เรียกกว่า “ระบบสายพาน” มารใช้โดยมีการแบ่งขั้นตอนของงานอย่างละเอียดและใช้ระบบการแบ่งงานทำเป็นส่วนๆ ระบบการทำงานเช่นนี้ใช้แรงบันดาลใจของบุคคลเพียงเล็กน้อย ลดคุณค่าเชิงสุนทรียะ มีการกำหนดระยะเวลาตายตัว และเป็นระบบการผลิตวัฒนธรรมที่เข้ามาผูกพันกับเป้าหมายเศรษฐกิจอย่างแน่นอน

จะเห็นว่านักทฤษฎีในเชิงวิพากษ์นั้นได้มีมุมมองของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันซึ่งมุมมองที่แตกต่างนี้อยู่ภายใต้วัฒนธรรมที่กำลังจะเป็นวัฒนธรรมเดียวกันอันเรียก ว่าวัฒนธรรมโลก (global culture) ซึ่งเป็นประเด็นเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ที่การกระจายของสื่อเปิดโอกาสให้ทุกคนได้สัมผัสรับรู้เรื่องราวภาพและเหตุการณ์ในเวลาเดียวกันทั่วโลกปรากฏการณ์เช่นนี้ทำให้โลกที่หลากหลายแตกต่างกัน กลายสภาพเป็น “หมู่บ้านโลก” ซึ่งนักวิชาการ บางคนเห็นว่าโลกาภิวัตน์เป็นกระบวนการที่จะทำให้เกิดการกลืนกลายความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ขณะที่นักทฤษฎีวิพากษ์มองว่า การทำให้เป็นทั้งหมดของลัทธิบริโภคนิยมและการทำให้เป็นสินค้ามันลงรอยสอดคล้องไปกับความหลากหลายแบบหลากชาติ ( multinational diversification ) ซึ่งได้ไปกัดกร่อนความรับรู้เกี่ยวกับความจริงโดยสนับสนุนการเลียนแบบและการทำสำเนาจากสำเนาอีกทีหนึ่ง ( pastiche and copies of copies) ผลิต “ความสาบสูญหรือความไม่มีตัวตนของปัจเจกชนขึ้นมา”ซึ่งนั่นหมายถึงกระบวนการของโลกาภิวัตน์ที่จะทำให้ทุกที่เป็นวัฒนธรรมโลกเป็นลัทธิบริโภคนิยมนั้นได้ก่อให้เกิดความแตกต่างบนความหลากหลายเพราะความแตกต่างของแต่ละเชื้อชาติชาติพันธุ์เช่น ถึงแม้วัยรุ่นไทยจะรับเอาวัฒนธรรมหรือสินค้าสากลจากอเมริกาหรือญี่ปุ่นมาก็คงมีกระบวนการใช้สัญญะในความหมายที่แตกต่างไปจากวัยรุ่นในเอเชียประเทศอื่นหรือชาติอื่น

หากมองในมิติการสื่อสาร กระแสโลกาภิวัตน์ทำให้วัฒนธรรมท้องถิ่นเปลี่ยนไปเกิดการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมโลก จุดยืนวัฒนธรรมโลกเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นในเชิงบวก วัฒนธรรมภายนอกนำพาสิ่งดีๆเข้าสู่ชุมชนเป็นหมู่บ้านโลก การใช้ทฤษฎีอย่างรอบด้านจะต้องมองกระแสโลกาภิวัตน์ทั้งด้านบวก ด้านลบ และแบบผสมผสาน

ดังแนวคิดการข้ามสายพันธุ์ทางวัฒนธรรม เมื่อนำแนวคิดของโฮมี่ บาบา (HomiBhabha)มาอธิบายปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ หรือปฏิสัมพันธ์ระหว่างความเป็นโลกและความเป็นท้องถิ่น อาจกล่าวได้ว่า สัมพันธภาพระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีการพบปะต่อรองนั้นไม่จำเป็นต้องแสดงออกในรูปของการครอบงำตามแนวทางทฤษฎีจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรมเท่านั้น ทั้งนี้ มาร์แวน ไครดี้ และแพทริกเมอร์ฟี่ (Kraidy and Murphy) ได้อธิบายว่า การพบปะกันดังกล่าวสามารถแสดงออกมาในรูปแบบของ การข้ามสายพันธุ์ทางวัฒนธรรม(cultural hybridity)ที่มิได้มีเพียงหนึ่งเดียว ในบางครั้ง กระบวนการผสมผสานอาจเป็นไปแบบลงตัว(articulation)  อาทิ การผสมระหว่างพิซซ่าอิตาเลียนกับผัดขี้เมาแบบไทยกลายเป็นพิซซ่าหน้าผัดขี้เมาไก่ บางครั้งอาจเป็น กระบวนการที่วัฒนธรรมโลกและท้องถิ่นเดินไปอย่างคู่ขนาน (running in a parallel line)หรือที่ต่างฝ่ายต่างแยกกันอยู่ อาทิ แผงจำหน่ายนิตยสาร/หนังสือพิมพ์ที่จะมีทั้งสื่อไทย ฝรั่ง จีน ญี่ปุ่น นิตยสารพระ นิตยสารแนวผีลึกลับ นิตยสารแนววิทยาศาสตร์เทคโนโลยี บางครั้งก็อาจเป็นส่วนผสมที่เข้ากันได้ไม่สนิท(unplugging)อาทิ กรณีผู้สูงอายุชมรายการมิวสิควิดีโอเพลงของวัยรุ่นทางเอ็มทีวีแล้วดูไม่เข้าใจเพราะรหัสของภาพโทรทัศน์ที่ตัดต่อแบบเร็วๆแตกต่างจากรหัสที่คนแก่จะเข้าใจได้และในบางครั้ง การผสมผสานทางวัฒนธรรมก็อาจนำไปสู่ความขัดแย้ง(conflict)ได้เช่นกัน อาทิ กรณีของฮอลลีวู้ดที่สร้างภาพยนตร์เรื่อง Anna and the king และมีกระแสต่อต้านจากรัฐบาลกับประชาชนไทยหลายกลุ่ม

ด้วยเหตุนี้ นักวิชาการตะวันตกอย่าง โรแลนด์ โรเบิร์ตสัน(Roland Robertson) จึงได้พัฒนาจุดยืนแบบพหุนิยม(pluralism)มาอธิบายปฏิสัมพันธ์ของความเป็นโลกและท้องถิ่นเสียใหม่ว่า วัฒนธรรมมีความหลากหลาย และมิใช่จะมีแต่ด้านครอบงำหรือลักษณะที่สำเร็จรูปแต่เพียงหนึ่งเดียว และเขาได้เรียกว่า การผสมผสานความเป็นโลกและความเป็นท้องถิ่น หรือที่ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า globalization ซึ่งยืมมาจากคำที่มักใช้กัน ธุรกิจข้ามชาติของประเทศญี่ปุ่น ปรากฏการณ์นี้เชื่อว่า เมื่อก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระบวนการสื่อสารจะทำหน้าที่ในการสร้าง วัฒนธรรมลูกผสม(hybrid cultures) อยู่อย่างต่อเนื่อง หรืออีกนัยหนึ่ง ความเป็นโลกที่ถูกสื่อสารข้ามชาติออกไปนั้นจะกลายมาเป็นวัตถุดิบที่นำเข้ามาผนวกกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของท้องถิ่น แต่ละแห่งเสมอ ตัวอย่างเช่น ในขณะที่การ์ตูนสมัยใหม่เป็นวัตถุดิบทางวัฒนธรรมที่ส่งออกจากโลกตะวันตก แต่เมื่อมาถึงสังคมไทย ขณะที่รูปแบบของการ์ตูนยังคงรักษาคุณค่าในแบบสื่อของตะวันตกเอาไว้แต่ทว่า เนื้อหาและกลวิธีการนำเสนอกลับมีการผนวกผสานเอกลักษณ์ความเป็นไทยบางอย่างลงไปในสื่อการ์ตูนสมัยใหม่ได้ ดังปรากฏในการ์ตูนแบบไทยเรื่อง สุดสาคร สังข์ทอง แก้วหน้าม้า อภินิหารขวานฟ้า หนุมาน ไปจนถึงเนื้อเรื่องการ์ตูนที่หยิบยืมมาจากวัฒนธรรมชั้นสูง อาทิ พระมหาชนก และวัฒนธรรมเรื่องเล่าแบบท้องถิ่น อาทิ ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน หรือในกรณีของวัฒนธรรมญี่ปุ่นอย่างเช่น วัฒนธรรมชาเขียว ในสังคมญี่ปุ่น ชาเขียวอาจจะเคยดำรงอยู่ในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์และถูกใช้เพื่อประเพณีการต้อนรับแขกผู้มาเยือน แต่พอมาถึงสังคมไทย เราก็ได้รื้อถอนความหมายแบบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ของชาเขียวออกไป และใส่ความหมายใหม่ให้เป็นวัฒนธรรมลูกผสมแบบไอศกรีมชาเขียว เค้กชาเขียว ชาเขียวบรรจุขวดพร้อมดื่ม ยาสีฟันชาเขียว ลูกกวาดชาเขียว คุ๊กกี้ชาเขียว ขนมกรอบชาเขียว ไปจนถึงผ้าอนามัยชาเขียว(สมสุขหินวิมาน)

รูปแบบของการผสมผสานข้ามสายพันธ์ มี 4 รูปแบบคือ

  1. รูปแบบนกแก้ว เป็นการรับวัฒนธรรมมาโดยตรง
  2. รูปแบบอะมีบา เป็นการรับเอาวัฒนธรรมภายนอกมาแล้วปรับเปลี่ยน หรือการเปลี่ยนเนื้อนอกแต่เนื้อในยังเหมือนเดิม
  3. รูปแบบปะการัง  ลักษณะวัฒนธรรมภายนอกยังดำรงอยู่แต่ภายในเปลี่ยนแปลงไปแล้ว
  4. รูปแบบผีเสื้อ ลักษณะของการกลายพันธุ์จากดักแด้เป็นผีเสื้อ

การปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโลกและวัฒนธรรมท้องถิ่นมีการปรับตัวหรือผสมผสานเข้าหากันอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา ตามทฤษฎีการผสมผสานข้ามสายพันธุ์ทางวัฒนธรรม โฮมี่ บาบา (HomiBhabha)ผู้ซึ่งเสนอความคิดว่า โดยธรรมชาติแล้วไม่เคยมีวัฒนธรรมใดที่เป็นหนึ่งเดียวแต่ทุกวัฒนธรรมจะมีลักษณะเป็นแบบ “พันธุ์ทางลูกผสม”(hybrid)หรืออีกนัยหนึ่งไม่มีวัฒนธรรมใดๆที่จะสมบูรณ์ในตัวเอง แต่ทุกวัฒนธรรมจะเปลี่ยนแปลงแปลงอย่างสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอื่นตลอดเวลากระบวนการผสมผสานข้ามสายพันธุ์ทางวัฒนธรรม(cultural hybridisation) จึงเป็นพื้นที่ใหม่ของการต่อรองและสร้างสรรค์ความหมายใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นตลอดเวลาในโลกแห่งวัฒนธรรม

ตัวอย่างงานที่ศึกษาการสื่อสารตามแนวทฤษฎีการผสมผสานทางวัฒนธรรม ได้แก่ งานวิจัยของ ลัดดา จิตตคุตตานนท์ เรื่อง อัตลักษณ์การท่องเที่ยวไทยในยุคโลกาภิวัตน์: กรณีศึกษาตลาดน้ำดำเนินสะดวก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พบว่า การผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมโลกเข้าด้วยกันของตลาดน้ำดำเนินสะดวกได้ก่อให้เกิดวัฒนธรรมรูปแบบใหม่ขึ้น โดยมีลักษณะเป็นแบบปะการัง กล่าวคือ รูปแบบของอัตลักษณ์ตลาดน้ำดำเนินสะดวกยังดำรงโครงสร้างรูปแบบของวัฒนธรรมดั้งเดิมในชุมชนไว้ แต่เนื้อหาที่อยู่ภายในวัฒนธรรมท้องถิ่นมีการเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิงเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ยุคโลกาภิวัตน์ นำไปสู่การเกิดวัฒนธรรมเชิงพาณิชย์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ผ่านการผสมผสานกันอย่างลงตัว เพื่อให้แหล่งท่องเทียวนั้นสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้

สมสุข หินวิมาน กล่าวว่า โลกาภิวัตน์เกิดมาจากการเชื่อมร้อยระหว่างกัน (interconnection)หรือ การที่ทุกชาติในโลกมีสายสัมพันธ์บางเส้นที่โยงใยระหว่างกันอยู่ สายสัมพันธ์นี้ไม่ได้อยู่ในระดับของการเชื่อมโยงข้ามพื้นที่ทางกายภาพหรือพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงลักษณะของการข้ามพรมแดนทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ด้วยเช่นกัน เช่น ในขณะที่โลกาภิวัตน์อาจปรากฏออกมาชัดเจนในรูปของการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนทางภูมิศาสตร์ของผู้คน นักท่องเที่ยว แรงงานข้ามชาติ ผู้ลี้ภัย บุคลากรทางวิชาชีพ เป็นต้น แต่ในอีกด้านหนึ่งโลกาภิวัตน์ยังถูกมองด้วยว่าเป็นการเชื่อมร้อยชาติต่างๆและคนแต่ละคนผ่านมิติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อาทิ การบริโภคข่าวสารเศรษฐกิจการเมืองผ่านสำนักข่าวข้ามชาติ หรือการเสพวิถีชีวิตแบบอเมริกันชนผ่านการใช้ผลิตภัณฑ์ของแอมเวย์ผ่านร้านอาหารอย่างแมคโดนัลด์พิซซ่า และเคเอฟซี หรือการเสพภาพยนตร์ฮอลลีวูดของอเมริกาที่จัดจำหน่ายไปทั่วโลกเป็นต้น ด้วยเหตุนี้โลกาภิวัตน์จึงมีความสัมพันธ์ยิ่งกับ “เบ้าหลอม”ที่ทำให้เกิดการเสพวัฒนธรรมที่เหมือน/ร่วมกันทั่วโลก และทำให้คนทั้งโลกมีประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากการเสพคุณค่าความหมายแบบที่เคยสัมผัสได้จากวัฒนธรรมดั้งเดิมในท้องถิ่นของตน

ดังนั้น อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าความสำคัญของการศึกษาวัฒนธรรมจึงต้องศึกษาควบคู่ไปกับการการศึกษาการสื่อสารเนื่องจากวัฒนธรรมเล็กๆเช่น ประเพณี และพิธีกรรมในท้องถิ่นกำลังมีแนวโน้มค่อยๆเริ่มสูญสลายไป จึงมีกระแสการรื้อฟื้นและรณรงค์วัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป รวมทั้งกระบวนการผลิตงานวัฒนธรรมเกิดขึ้นและขยายตัวมากขึ้นทำให้โลกวิชาการหันมาสนใจและพัฒนาเครื่องมือและวิธีวิทยาในอันที่จะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าวอย่างเป็นจริงเป็นจังด้วยทฤษฎีของสำนักวัฒนธรรมศึกษาดังจะเห็นได้จากงานวิจัยด้านการสื่อสารหลายๆ เรื่องที่หันเหความสนใจและประยุกต์ทฤษฎีทางวัฒนธรรมมาอธิบายปรากฏการณ์ของสื่อและสังคมมากขึ้น

รายการอ้างอิง

กาญจนา แก้วเทพ,แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา.กรุงเทพมหานครฯ.ภาพพิมพ์.2553

ลัดดา จิตตคุตตานนท์, อัตลักษณ์การท่องเที่ยวไทยในยุคโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษาตลาดน้ำดำเนิน

สะดวก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี.2555

สมสุข หินวิมาน, ทฤษฎีสำนักวัฒนธรรมศึกษา:ประมวลสาระและแนวการศึกษาชุดวิชาปรัชญานิเทศ

ศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

http://202.28.25.135/~539932108com55/independent.html

Share this:

Like this:

Like

Loading…


นี่สิไร่นาผสมผสานของแท้ แค่ 4 ไร่มีรายได้วนไปทั้งปี


สวนเกษตรผสามผสาน สวนสุขอุ้ม ของพ่ออดิศร สุขอุ้ม ซึ่งผมขอบอกท่านผู้ชมว่าคลิบนี้เป็นคลิบที่ผมชื่นชอบและทึ่งในความรู้ความสามารถของพ่อ อดิศร เพราะว่าท่านเคยไปทำงานด้านการเกษตรที่ประเทศอิสราเอลหลายปี พอถึงจุดหนึ่งท่านได้กลับมาบ้านเกิดและก็โค่นต้นยางพาราทิ้งเพื่อทำเกษตรผสมผสาน ซึ่งท่านได้บอกผมว่าชาวบ้านก็จะมองว่าเราบ้า ไปตัดต้นยางพาราทิ้งทำไม แต่ทุกวันนี้ท่านได้บอกว่าถ้าจะหาเงินจาการทำการเกษตร300500 บาท นั้นไม่ยาก แป๊บเดียวไม่ต้องไปทำงานทั้งวันเหมือนอาชีพอื่นๆ เชิญรับชมเรื่องราวในคลิบครับ
ช่องทางการติดต่อ พ่ออดิศร สุขอุ้ม (สวนสุขอุ้ม) บ้านอามุย หมู3 ต.เทพรักษา อ.สังขะ จ.สุรินทร์ โทร.0916734593
เฟสบุคอดิศร สุขอุ้ม ขอบคุณทุกๆการติดตามและรับชมครับ
บอยพันธุ์ปลาสุรินทร์0801720110
ติดตามได้ที่เพจ
https://www.facebook.com/%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C275266423069507/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

นี่สิไร่นาผสมผสานของแท้ แค่ 4 ไร่มีรายได้วนไปทั้งปี

หลวงพ่อคูณ+เจ้าตาก+บัวลอย แสดงสดคาราบาว ร้านโดรนคลับร้อยเอ็ด


คาราบาว | แสดงสดล่าสุด เต็มวง!!
Live.!! คอนเสิร์ตตำนานเพลงเพื่อชีวิตของเมืองไทย คาราบาว เต็มวง!!!!
คอนเสิร์ตเพื่อการกุศล เพื่อจัดซื้อรถวิวแชร์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ให้ผู้ป่วยติดเตียง
จัดโดย สโมสรไลออนส์จังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมกับ เครื่องดื่มตราช้าง และ โดรนคลับร้อยเอ็ด
เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2562
คาราบาว โดรนคลับร้อยเอ็ด

หลวงพ่อคูณ+เจ้าตาก+บัวลอย แสดงสดคาราบาว ร้านโดรนคลับร้อยเอ็ด

Menstory [Ep33-01] สปาผสมผสานความเป็นไทย Harnn Heritage Spa


Menstory คุณอาทและคุณกวาง พามาผ่อนคลาย กับ สปา ที่มีการผสมผสานความเป็นไทย และวัฒนธรรมเข้าด้วยกันได้อย่างลงตัว ที่ Harnn Heritage Spa และ ในช่วง Mentrick โปรนพจะมาสอนการเซตอัพไหล่กับสะโพก
ติดตามชม men story ได้ทุกวันจันทร์ 20.30 21.30 ทาง Golf channel thailand
👉ฝากกดไลค์ และแชร์ รายการ MEN STORY ทางช่อง Golf Channel Thailand (Truevisions 675) ด้วยคะ
ซึ่งเป็นรายการเกี่ยวกับ Lifestyle ของคุณผู้ชายที่ชอบ Gadget ต่างๆ ดำเนินรายการโดยคุณ Art (Art of Golf) และ คุณเบลล์ รินทร์รตา อินทามระ (เจ้าของ Brand RINRATA ) คุณอรการ จิวะเกียรติ (ผู้ประกาศข่าว/พิธีกร)และ โปร นพคุณ วงศ์หล่อ (ผู้ประกาศข่าว/พิธีกร/ผู้บรรยายกีฬากอล์ฟ)🙏🙏🙏🙏
Menstory MenstoryThailand Artofgolf anakynproduction

Menstory [Ep33-01] สปาผสมผสานความเป็นไทย Harnn Heritage Spa

สวนผสมสวยๆกับการวางแผนการปลูกพืชอย่างลงตัว


สวนผสมผสาน

สวนผสมสวยๆกับการวางแผนการปลูกพืชอย่างลงตัว

วิธีเขียนชื่อเป็นภาษาอังกฤษ (เริ่มจาก0) เทียบอักษรอังกฤษไทย


วิธีเทียบเสียงอักษรภาษาอังกฤษไทย เทียบเสียงสระภาษาอังกฤษไทย วิธีเขียนชื่อเป็นภาษาอังกฤษ อย่างง่าย
@EnglishThai Downunder เรียนภาษาอังกฤษฟรี แต่งประโยคภาษาอังกฤษ โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษ เรียนภาษาอังกฤษฟรี
เรียนภาษาอังกฤษกับครูฟาง, ฝึกภาษาอังกฤษ, อยากเก่งภาษาอังกฤษ, ติวสอบภาษาอังกฤษ, ติวภาษาอังกฤษ, ภาษาอังกฤษพื้นฐาน, ประโยคภาษาอังกฤษ, ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน, อยากเก่งภาษาอังกฤษ, คำศัพท์อังกฤษ, English lesson, แกรมม่าภาษาอังกฤษ, บทเรียนภาษาอังกฤษ

วิธีเขียนชื่อเป็นภาษาอังกฤษ (เริ่มจาก0) เทียบอักษรอังกฤษไทย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ผสมผสานอย่างลงตัว ภาษาอังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *