Skip to content
Home » [Update] ทฤษฎีการประทับตรา ( Labelling theory ) | ตราประทับ – NATAVIGUIDES

[Update] ทฤษฎีการประทับตรา ( Labelling theory ) | ตราประทับ – NATAVIGUIDES

ตราประทับ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

มาทำความรู้จักกับ labeling thoery ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฏีที่พยา

ยามอธิบายว่าทำไมคนบางคนถึง

กลายเป็นคนเลว บางคนถึงเป็นคนดี กันดีกว่า 

ในสมัยโบราณบางยุค นักโทษที่จะพ้นโทษออกไป ต้องถูกสักที่หน้าผากหรือส่วนสำคัญของร่างกาย เพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงให้คนภายนอกรู้ว่า เขาเคยเป็นนักโทษหรืออาชญากรมาก่อน จะได้มีความระมัดระวัง ตระหนักถึงภัยที่จะมาถึงตัว นั่นคือการตีตราบาปหรือประทับตราในเชิงกายภาพแก่ผู้กระทำผิด ปัจจุบันแม้จะไม่มีการประทับตราแบบนี้หลงเหลืออยู่แล้ว แต่การประทับตราบาปลงบนจิตใจหรือความรู้สึกของผู้กระทำผิดก็ยังคงมีอยู่ “ทฤษฎีการประทับตรา” 

หรือ

เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ทฤษฎีการกระทำตอบโต้ทางสังคม” (Social reaction theory) ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ว่า การกระทำใดใดก็ตามที่เรียกว่าเป็น “พฤติกรรมเบี่ยงเบน (Deviant behavior)” โดยเนื้อแท้ของมันแล้ว ไม่ได้ขึ้นอยู่หรือผูกติดกับพฤติกรรมนั้นโดยตรง แต่เป็นแนวโน้มที่คนส่วนใหญ่มีการประทับตราในเชิงลบให้กับพฤติกรรมนั้นๆ ที่เขาเห็นว่าผิดแผกแตกต่างไปจากบรรทัดฐานที่สังคมคาดหวังหรือต้องการให้เป็น ดังนั้น พฤติกรรมเบี่ยงเบนในมุมมองของทฤษฎีนี้ จึงเน้นไปที่ปฏิกิริยาของสังคมที่มีต่อผู้กระทำผิดมากกว่าเนื้อหาสาระของการกระทำนั้นโดยตรง

 

พัฒนามาจากแนวคิดของ Howard S. Becker นักสังคมวิทยาชาวชิคาโก ที่คิดค้นขึ้นมาในปี 1963 

โดยหัวใจหลักของทฤษฏีนี่คือ

 “การที่คนเราสังคมตีตราว่าเ

ป็นคนเลว ทำให้เกิดการผลักดันให้เป็น

คนเลว” ค่า (เปรียบเทียบอีกเเนว คือถ้าเราถูกคนอื่นด่าว่าไม

่ฉลาดเป็นเวลานาน ก็ทำให้คิดว่าตัวเองไม่ฉลาด

ได้ค่ะ) 

เเต่หลักการจริงๆ มันมีอะไรเยอะมากกว่าการ labeling 

ขอเเยกออกเป็น 3 ข้อ ละกัน 

1. Ross L. Matsueda (1992) กล่าวว่า เด็กๆนั้นเรียนรู้พฤติกรรมมาจากผู้ใหญ่ โดยที่เรียนเเบบการกระทำของผู้ใหญ่หรือเด็กคนอื่นมา โดยที่เด็กเองไม่รู้ว่าพฤติกรรมนั้นถูกหรือผิด (p.1580) เเต่สิ่งที่ทำให้เด็กหยุดพฤติกรรมนั้นๆหรือทำพฤติกรรมนั้นๆต่อ ขึ้นอยู่กับว่าผู้ใหญ่จะมองว่าการกระทำนั้นผิดหรือไม่ผิด เเละเด็กเองคิดว่า/เชื่อว่าผู้ใหญ่มองว่าการกระทำนั้นผิด (ทฤษฏี Reflected apprisal) (p.1586) ซึ่ง Matsueda เชื่อว่า Reflected apprisal นี่เเหละ ที่เป็นส่วนใหญ่ๆของ self-concept ของคนเราเลยทีเดียว (ถ้าเเนวไม่เกี่ยวกับอาชญากรรม reflected apprisal ก็เป็นเเบบ ผู้หญิงเเต่งตัวเเต่งหน้าไปงาน เเต่พอมีคนทักว่าเเต่งหน้าเเปลกๆ ความมั่นใจก็จะลดลงไปเยอะ เพราะว่า ความมั่นใจของเรายึดติดกับสิ่งที่คนอื่นคิดเกี่ยวกับเรา มากกว่าสิ่งที่เราคิดเกี่ยวกับตัวเอง)

=> ในเเนวอาชญากรรม ยกตัวอย่างคดีของ Ernest Meigs ที่ถูกคดีข่มขืนผู้หญิง โดยให้เหตุผลว่าเกลียดเเม่ตัวเอง เพราะเเม่ตัวเองเคยด่าเขาอย่างรุนเเรง เเละ ตีตราเขาว่าเป็นตัวกาลกิณี ไม่น่าเกิดมาเลย ทั้งในที่ลับ เเละต่อหน้าคนอื่น เป็นเวลาต่อเนื่องหลายปี เขาจนทำให้เขาคิดฆ่าตัวตาย เป็นโรคซึมเศร้า เเละปัจจุบันก็ยังเกลียดผู้หญิง (Greg, 2003)

2. ทฤษฏี labeling ของ Howard Becker เเบ่งความรุนเเรงเป็น 3 ระดับ 

สมมุติว่าเด็กคนหนึ่งเกิดอยากรู้อยากลอง อาจจะเพราะว่าได้รับการชักจูงจากเพื่อน ดูจากในหนัง หรืออะไรก็ตาม เเละถูกจับได้ เขาจะถูก label อยู่ 3 ระดับ

– ระดับครอบครัว : พ่อเเม่อาจจะโมโห เเละเรียกเขาว่าเด็กขี้ขโมย โดยเฉพาะในกรณีที่ครอบครัวไม่อบอุ่นอยู่เเล้ว พ่อเเม่หรือพี่น้องอาจจะตั้งฉายาเด็กว่า “ไอ้ขี้ขโมยๆ” เเละเวลาทเลาะกันก็อาจจะหยิบยกเรื่องนี้มาพูดอีก ทั้งๆที่เด็กคนนั้นขโมยของด้วยความไม่รู้(คือ ด้วยความไม่รู้เท่าถึงการ อายุน้อย) เเต่กลับถูกตีตราว่าเป็น ไอ้ขี้ขโมย ซึ่ง อาจจะเป็นปมติดตัวจนโต 

– ระดับสังคม เช่น คนรอบข้าง โรงเรียน : ข่าวที่ว่าเด็กคนนี้ไปขโมยของอาจจะเเพร่สะพัดไป เด็กๆคนอื่นๆ อาจจะเริ่มมาล้อเลียน พ่อเเม่ของเด็กคนอื่นๆ อาจจะพูดว่า “อย่าไปเล่นกับเด็กคนนั้นนะ เด็กนั่นขึ้ขโมย” ยิ่งเป็นการผลักดันให้เด็กคนนั้นไม่มีใครคบด้วย เเละอาจจะเป็นการผลักดันให้เขาไปคบกับเด็กคนอื่นที่นีสัยไม่ดีเเทน โดยที่งานวิจัยของ Goffman(1963) พบว่าเด็กๆที่ถูก labelled มักจะมีความรู้สึกเเปลกเเยก อับอาย เเละ อึดอัดใจที่จะอยู่กับเด็กปรกติ (as cited in Bernberg et al ,2006) นอกจากนี้ Bernburg (2003) พบว่าเด็กๆที่ถูก labelled ส่วนใหญ่บอกว่ารู้สึกสบายใจเเละปลอดภัยที่จะจับกลุ่มกับเด็กที่ถูก labelled เหมือนกัน เพราะไม่รู้สึกเเปลกเเยก (as cited in Bernberg et al ,2006) 

มันก็เลยกลายเป็นวงจร : เด็กทำผิด -> ถูกตีตราทำให้เเปลกเเยกจากสังคม -> ไปอยู่กับกลุ่มเด็กที่ถูก labelled เหมือนกัน -> ยิ่งทำให้เเปลกเเยกจากสังคม 

-ระดับกฏหมาย : เนื่องจากเด็กคนนั้น เข้าไปอยู่กับกลุ่ม เเก๊งคนไม่ดี ก็มีเเนวโน้มที่จะทำผิดกฏหมายเเรงๆจริงๆได้มากขึ้น เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราว …. เเละเมื่อถูกจับจริงๆคราวนี้ก็จะมี criminal record จริงๆ (Benburg et al. 2006) ซึ่ง ที่เเคนาดาหรืออเมริกานี่ ถ้าใครมี criminal record เเล้ว จะหางานดีๆได้ยาก เพราะว่าบริษัท หรือ ข้าราชการส่วนใหญ่จะมีการตรวจ criminal record ก่อนเข้างานค่ะ 

3) ข้อโต้เเย้งจาก Regoli et al (1985) บอกว่าการที่ Becker บอกว่า negative labeling นั้นมันไม่ดีไปซะหมดนี่น่าจะเป็นการพูดเกินจริง โดยที่ Regoli et al(1985) เเย้งว่า ดูตัวอย่างของนักเเสดง บางทีผู้กำกับก็ใช้ถ้อยคำรุนเเรงในการต่อว่านักเเสดง เเต่ว่ามันไม่ใช่การกล่าวเพื่อทำให้นักเเสดงมีปม เเต่เป็นการกล่าวเพื่อให้นักเเสดงพัฒนาฝีมือขึ้นต่างหาก ดังนั้นการใช้ negative labeling เเล้วได้ผลที่เเย่นั้นมันเเล้วเเต่สถานการณ์ต่างหาก บางที negative labeling มันก็ควรจะนำมาใช้เพื่อผลประโยชน์ที่ดีกว่าในอนาคต ซึ่งก็มีนักวิชาการอย่าง Jackson เเละ Hay (2013) ได้ทำการวิจัยมาว่า negative labelling นั้นจะได้ผลดีถ้าผู้ที่ถูก labelled (เด็ก) นั้นมีความสัมพันธ์ทีดีกับผู้พูด (เช่น พ่อเเม่) เเละมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนในชุมชนด้วย ซึ่ง Jackson&Hay (2013) ได้ยกตัวอย่างทฤษฏี ของ Braithwaite (1985)ที่ชื่อว่า reintegrative shaming theory มาว่า ผลของการลงโทษ/ทำให้อับอาย (ในที่นี่หมายถึง negative labeling) นั้นขึ้นอยู่กับสภาพเเวดล้อม “ถ้าการลงโทษมันเกิดขึ้นในสภาพเเวดล้อมที่เต็มไปด้วยความรัก ความเชื่อใจ ความเคารพ เเละการยอมรับซึ่งกันเเละกัน มันจะช่วยลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็กเเละโอกาสที่เด็กจะเข้าไปอยู่ในเเวดวงอาชญากรรม” ได้ค่ะ (as quoted in Jackson&Hay,2013. Pg.306)

สรุปคือ เเทนที่คนเราส่วนใหญ่ คิดว่าการทำให้เด็กอายด้วยการลงโทษ ด้วยการด่าว่าเด็ก label เด็ก น่าจะทำให้เด็กอายเเละไม่กล้าทำผิดอีก เเต่ที่ไหนได้ มันยิ่งผลักดันเด็กให้เเย่ลงกว่าเดิม … เเต่เเน่นอนว่าไม่ทำโทษเด็กเลยก็ไม่ได้ เพราะถ้าไม่ทำโทษเลยเด็กก็จะไม่รู้ว่าตัวเองทำผิด เเต่การทำโทษเด็กนั้นควรทำในสภาพเเวดล้อมที่เหมาะสม ใช้หลักเหตุผล ความรัก ความเข้าใจ มากกว่าใช้อารมณ์โกรธ เอาให้อายอย่างเดียวค่ะ เพราะไม่อย่างงั้นผลเสียจะมากกว่าผลดี  

reference 

Bernburg, J.G., Krohn, M.D., Rivera, C.J. (2006). Official Labelling, Criminal Embeddedness, and Subsequent Delinquency: A Longitudinal Test of Labelling Theory. Journal of Research in Crime and Delinquency, 2006, 43(1), 67-88

Jackson, D.B., Hay, C. (2013). The Conditional Impact of Official Labeling on Subsequent Delinquency:Considering the Attenuating Role of Family Attachment. Journal of Research in Crime and Delinquency, 2013, 50(2), 300-322

Matsueda, R.L. (1992). Reflected Appraisals, Parental Labelling, and Delinquency: Specifying a Symbolic Interactionist Theory. American Journal of Sociology, 97 (6), 1577-1611 

Regoli, R.M., Poole, E.D., & Esbensen, F. (1985). Labelling Deviance: Another Look. Sociological Focus, 18(1), 19-28

เอิ่ม ลืม referecne ของหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับ Ernest Meigs ไปเเล้วค่ะ T^T 

#จิตวิทยา

 

#เด็ก

 

#งานวิจัย

 

#อาชญากรรม

Blogs นี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อนำข้อมูล ส่งอาจารย์ในวิชา GE136 จิตวิทยาเชิงบวกเพื่อคุณภาพชีวิต (003)

[Update] ทฤษฎีการประทับตรา ( Labelling theory ) | ตราประทับ – NATAVIGUIDES

มาทำความรู้จักกับ labeling thoery ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฏีที่พยา

ยามอธิบายว่าทำไมคนบางคนถึง

กลายเป็นคนเลว บางคนถึงเป็นคนดี กันดีกว่า 

ในสมัยโบราณบางยุค นักโทษที่จะพ้นโทษออกไป ต้องถูกสักที่หน้าผากหรือส่วนสำคัญของร่างกาย เพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงให้คนภายนอกรู้ว่า เขาเคยเป็นนักโทษหรืออาชญากรมาก่อน จะได้มีความระมัดระวัง ตระหนักถึงภัยที่จะมาถึงตัว นั่นคือการตีตราบาปหรือประทับตราในเชิงกายภาพแก่ผู้กระทำผิด ปัจจุบันแม้จะไม่มีการประทับตราแบบนี้หลงเหลืออยู่แล้ว แต่การประทับตราบาปลงบนจิตใจหรือความรู้สึกของผู้กระทำผิดก็ยังคงมีอยู่ “ทฤษฎีการประทับตรา” 

หรือ

เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ทฤษฎีการกระทำตอบโต้ทางสังคม” (Social reaction theory) ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ว่า การกระทำใดใดก็ตามที่เรียกว่าเป็น “พฤติกรรมเบี่ยงเบน (Deviant behavior)” โดยเนื้อแท้ของมันแล้ว ไม่ได้ขึ้นอยู่หรือผูกติดกับพฤติกรรมนั้นโดยตรง แต่เป็นแนวโน้มที่คนส่วนใหญ่มีการประทับตราในเชิงลบให้กับพฤติกรรมนั้นๆ ที่เขาเห็นว่าผิดแผกแตกต่างไปจากบรรทัดฐานที่สังคมคาดหวังหรือต้องการให้เป็น ดังนั้น พฤติกรรมเบี่ยงเบนในมุมมองของทฤษฎีนี้ จึงเน้นไปที่ปฏิกิริยาของสังคมที่มีต่อผู้กระทำผิดมากกว่าเนื้อหาสาระของการกระทำนั้นโดยตรง

 

พัฒนามาจากแนวคิดของ Howard S. Becker นักสังคมวิทยาชาวชิคาโก ที่คิดค้นขึ้นมาในปี 1963 

โดยหัวใจหลักของทฤษฏีนี่คือ

 “การที่คนเราสังคมตีตราว่าเ

ป็นคนเลว ทำให้เกิดการผลักดันให้เป็น

คนเลว” ค่า (เปรียบเทียบอีกเเนว คือถ้าเราถูกคนอื่นด่าว่าไม

่ฉลาดเป็นเวลานาน ก็ทำให้คิดว่าตัวเองไม่ฉลาด

ได้ค่ะ) 

เเต่หลักการจริงๆ มันมีอะไรเยอะมากกว่าการ labeling 

ขอเเยกออกเป็น 3 ข้อ ละกัน 

1. Ross L. Matsueda (1992) กล่าวว่า เด็กๆนั้นเรียนรู้พฤติกรรมมาจากผู้ใหญ่ โดยที่เรียนเเบบการกระทำของผู้ใหญ่หรือเด็กคนอื่นมา โดยที่เด็กเองไม่รู้ว่าพฤติกรรมนั้นถูกหรือผิด (p.1580) เเต่สิ่งที่ทำให้เด็กหยุดพฤติกรรมนั้นๆหรือทำพฤติกรรมนั้นๆต่อ ขึ้นอยู่กับว่าผู้ใหญ่จะมองว่าการกระทำนั้นผิดหรือไม่ผิด เเละเด็กเองคิดว่า/เชื่อว่าผู้ใหญ่มองว่าการกระทำนั้นผิด (ทฤษฏี Reflected apprisal) (p.1586) ซึ่ง Matsueda เชื่อว่า Reflected apprisal นี่เเหละ ที่เป็นส่วนใหญ่ๆของ self-concept ของคนเราเลยทีเดียว (ถ้าเเนวไม่เกี่ยวกับอาชญากรรม reflected apprisal ก็เป็นเเบบ ผู้หญิงเเต่งตัวเเต่งหน้าไปงาน เเต่พอมีคนทักว่าเเต่งหน้าเเปลกๆ ความมั่นใจก็จะลดลงไปเยอะ เพราะว่า ความมั่นใจของเรายึดติดกับสิ่งที่คนอื่นคิดเกี่ยวกับเรา มากกว่าสิ่งที่เราคิดเกี่ยวกับตัวเอง)

=> ในเเนวอาชญากรรม ยกตัวอย่างคดีของ Ernest Meigs ที่ถูกคดีข่มขืนผู้หญิง โดยให้เหตุผลว่าเกลียดเเม่ตัวเอง เพราะเเม่ตัวเองเคยด่าเขาอย่างรุนเเรง เเละ ตีตราเขาว่าเป็นตัวกาลกิณี ไม่น่าเกิดมาเลย ทั้งในที่ลับ เเละต่อหน้าคนอื่น เป็นเวลาต่อเนื่องหลายปี เขาจนทำให้เขาคิดฆ่าตัวตาย เป็นโรคซึมเศร้า เเละปัจจุบันก็ยังเกลียดผู้หญิง (Greg, 2003)

2. ทฤษฏี labeling ของ Howard Becker เเบ่งความรุนเเรงเป็น 3 ระดับ 

สมมุติว่าเด็กคนหนึ่งเกิดอยากรู้อยากลอง อาจจะเพราะว่าได้รับการชักจูงจากเพื่อน ดูจากในหนัง หรืออะไรก็ตาม เเละถูกจับได้ เขาจะถูก label อยู่ 3 ระดับ

– ระดับครอบครัว : พ่อเเม่อาจจะโมโห เเละเรียกเขาว่าเด็กขี้ขโมย โดยเฉพาะในกรณีที่ครอบครัวไม่อบอุ่นอยู่เเล้ว พ่อเเม่หรือพี่น้องอาจจะตั้งฉายาเด็กว่า “ไอ้ขี้ขโมยๆ” เเละเวลาทเลาะกันก็อาจจะหยิบยกเรื่องนี้มาพูดอีก ทั้งๆที่เด็กคนนั้นขโมยของด้วยความไม่รู้(คือ ด้วยความไม่รู้เท่าถึงการ อายุน้อย) เเต่กลับถูกตีตราว่าเป็น ไอ้ขี้ขโมย ซึ่ง อาจจะเป็นปมติดตัวจนโต 

– ระดับสังคม เช่น คนรอบข้าง โรงเรียน : ข่าวที่ว่าเด็กคนนี้ไปขโมยของอาจจะเเพร่สะพัดไป เด็กๆคนอื่นๆ อาจจะเริ่มมาล้อเลียน พ่อเเม่ของเด็กคนอื่นๆ อาจจะพูดว่า “อย่าไปเล่นกับเด็กคนนั้นนะ เด็กนั่นขึ้ขโมย” ยิ่งเป็นการผลักดันให้เด็กคนนั้นไม่มีใครคบด้วย เเละอาจจะเป็นการผลักดันให้เขาไปคบกับเด็กคนอื่นที่นีสัยไม่ดีเเทน โดยที่งานวิจัยของ Goffman(1963) พบว่าเด็กๆที่ถูก labelled มักจะมีความรู้สึกเเปลกเเยก อับอาย เเละ อึดอัดใจที่จะอยู่กับเด็กปรกติ (as cited in Bernberg et al ,2006) นอกจากนี้ Bernburg (2003) พบว่าเด็กๆที่ถูก labelled ส่วนใหญ่บอกว่ารู้สึกสบายใจเเละปลอดภัยที่จะจับกลุ่มกับเด็กที่ถูก labelled เหมือนกัน เพราะไม่รู้สึกเเปลกเเยก (as cited in Bernberg et al ,2006) 

มันก็เลยกลายเป็นวงจร : เด็กทำผิด -> ถูกตีตราทำให้เเปลกเเยกจากสังคม -> ไปอยู่กับกลุ่มเด็กที่ถูก labelled เหมือนกัน -> ยิ่งทำให้เเปลกเเยกจากสังคม 

-ระดับกฏหมาย : เนื่องจากเด็กคนนั้น เข้าไปอยู่กับกลุ่ม เเก๊งคนไม่ดี ก็มีเเนวโน้มที่จะทำผิดกฏหมายเเรงๆจริงๆได้มากขึ้น เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราว …. เเละเมื่อถูกจับจริงๆคราวนี้ก็จะมี criminal record จริงๆ (Benburg et al. 2006) ซึ่ง ที่เเคนาดาหรืออเมริกานี่ ถ้าใครมี criminal record เเล้ว จะหางานดีๆได้ยาก เพราะว่าบริษัท หรือ ข้าราชการส่วนใหญ่จะมีการตรวจ criminal record ก่อนเข้างานค่ะ 

3) ข้อโต้เเย้งจาก Regoli et al (1985) บอกว่าการที่ Becker บอกว่า negative labeling นั้นมันไม่ดีไปซะหมดนี่น่าจะเป็นการพูดเกินจริง โดยที่ Regoli et al(1985) เเย้งว่า ดูตัวอย่างของนักเเสดง บางทีผู้กำกับก็ใช้ถ้อยคำรุนเเรงในการต่อว่านักเเสดง เเต่ว่ามันไม่ใช่การกล่าวเพื่อทำให้นักเเสดงมีปม เเต่เป็นการกล่าวเพื่อให้นักเเสดงพัฒนาฝีมือขึ้นต่างหาก ดังนั้นการใช้ negative labeling เเล้วได้ผลที่เเย่นั้นมันเเล้วเเต่สถานการณ์ต่างหาก บางที negative labeling มันก็ควรจะนำมาใช้เพื่อผลประโยชน์ที่ดีกว่าในอนาคต ซึ่งก็มีนักวิชาการอย่าง Jackson เเละ Hay (2013) ได้ทำการวิจัยมาว่า negative labelling นั้นจะได้ผลดีถ้าผู้ที่ถูก labelled (เด็ก) นั้นมีความสัมพันธ์ทีดีกับผู้พูด (เช่น พ่อเเม่) เเละมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนในชุมชนด้วย ซึ่ง Jackson&Hay (2013) ได้ยกตัวอย่างทฤษฏี ของ Braithwaite (1985)ที่ชื่อว่า reintegrative shaming theory มาว่า ผลของการลงโทษ/ทำให้อับอาย (ในที่นี่หมายถึง negative labeling) นั้นขึ้นอยู่กับสภาพเเวดล้อม “ถ้าการลงโทษมันเกิดขึ้นในสภาพเเวดล้อมที่เต็มไปด้วยความรัก ความเชื่อใจ ความเคารพ เเละการยอมรับซึ่งกันเเละกัน มันจะช่วยลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็กเเละโอกาสที่เด็กจะเข้าไปอยู่ในเเวดวงอาชญากรรม” ได้ค่ะ (as quoted in Jackson&Hay,2013. Pg.306)

สรุปคือ เเทนที่คนเราส่วนใหญ่ คิดว่าการทำให้เด็กอายด้วยการลงโทษ ด้วยการด่าว่าเด็ก label เด็ก น่าจะทำให้เด็กอายเเละไม่กล้าทำผิดอีก เเต่ที่ไหนได้ มันยิ่งผลักดันเด็กให้เเย่ลงกว่าเดิม … เเต่เเน่นอนว่าไม่ทำโทษเด็กเลยก็ไม่ได้ เพราะถ้าไม่ทำโทษเลยเด็กก็จะไม่รู้ว่าตัวเองทำผิด เเต่การทำโทษเด็กนั้นควรทำในสภาพเเวดล้อมที่เหมาะสม ใช้หลักเหตุผล ความรัก ความเข้าใจ มากกว่าใช้อารมณ์โกรธ เอาให้อายอย่างเดียวค่ะ เพราะไม่อย่างงั้นผลเสียจะมากกว่าผลดี  

reference 

Bernburg, J.G., Krohn, M.D., Rivera, C.J. (2006). Official Labelling, Criminal Embeddedness, and Subsequent Delinquency: A Longitudinal Test of Labelling Theory. Journal of Research in Crime and Delinquency, 2006, 43(1), 67-88

Jackson, D.B., Hay, C. (2013). The Conditional Impact of Official Labeling on Subsequent Delinquency:Considering the Attenuating Role of Family Attachment. Journal of Research in Crime and Delinquency, 2013, 50(2), 300-322

Matsueda, R.L. (1992). Reflected Appraisals, Parental Labelling, and Delinquency: Specifying a Symbolic Interactionist Theory. American Journal of Sociology, 97 (6), 1577-1611 

Regoli, R.M., Poole, E.D., & Esbensen, F. (1985). Labelling Deviance: Another Look. Sociological Focus, 18(1), 19-28

เอิ่ม ลืม referecne ของหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับ Ernest Meigs ไปเเล้วค่ะ T^T 

#จิตวิทยา

 

#เด็ก

 

#งานวิจัย

 

#อาชญากรรม

Blogs นี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อนำข้อมูล ส่งอาจารย์ในวิชา GE136 จิตวิทยาเชิงบวกเพื่อคุณภาพชีวิต (003)


How to ปั๊มครั่งซองแต่งงานด้วยตัวเอง งบไม่เกิน 300 บาท || Sungsung Blog


สวัสดีค่ะ ครั้งนี้ซังรีวิว และ how to การ ปั๊มครั่ง (Wax Seal)
ซองแต่งงานด้วยตัวเอง งบไม่เกิน 300 บาท คือประหยดงบ
แถมมีคุณค่าทางจิตใจมากๆ ทั้งคนที่ให้และคนที่รับเลย
พิกัด : ซื้อ Wax และ อุปกรณ์ สามารถซื้อได้ที่ Shopee เลย
ซองแต่งงาน
WaxSeal
♡♡ Thank you for watching 🙂 ♡♡
▷►IG : http://instagram.com/sungsungblog
▷► FACEBOOK : http://www.facebook.com/sungsungblog
▷► BLOG : http://www.sungsungblog.com

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

How to ปั๊มครั่งซองแต่งงานด้วยตัวเอง งบไม่เกิน 300 บาท || Sungsung Blog

การใช้ตราประทับร้อน Cake Hot Stamp Usage


ทดลองใช้ตราประทับร้อนบนเค้กไข่ญี่ปุ่น
และคาราเมลพุดดิ้งเค้ก
27 สิงหาคม 2562

การใช้ตราประทับร้อน Cake Hot Stamp Usage

แมงมุมตราประทับโบราณ…!! แมงมุมฝาปิดโบราณตูดตัด… [โจโฉ]


แฟนเพจ : https://www.facebook.com/JochoSippawat844978669199768/?modal=admin_todo_tour
https://www.facebook.com/JungleFunny263499454528027/

Anguish โดย Kevin MacLeod ได้รับอนุญาตภายใต้ ใบอนุญาต Creative Commons Attribution (https://creativecommons.org/licenses/by/4.0/)
ที่มา: http://incompetech.com/music/royaltyfree/index.html?isrc=USUAN1400047
ศิลปิน: http://incompetech.com/
Asian Drums Vadodara โดย Kevin MacLeod ได้รับอนุญาตภายใต้ ใบอนุญาต Creative Commons Attribution (https://creativecommons.org/licenses/by/4.0/)
ที่มา: http://incompetech.com/music/royaltyfree/index.html?isrc=USUAN1100396
ศิลปิน: http://incompetech.com/

แมงมุมตราประทับโบราณ...!! แมงมุมฝาปิดโบราณตูดตัด... [โจโฉ]

การตีตราประทับ


พระโอวาทสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระพุทธะจี้กง เมตตา
ตอน “การตีตราประทับ” จากทีมกาลัญญุตา JK A\u0026P
ศิษย์เอ๋ย ! เวลาที่เกิดการรับรู้ รู้สึก ตัดสิน ตีความ และประเมินคุณค่าจิตวิญญาณภายใน โดยใช้สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นตัวสรุป จนกระทบกระเทือนถึงการเห็นภาพของตนเอง เรียกว่า “การตีตราประทับ”
ผู้คนยอมรับ การตีตราประทับ จากกระแสสังคม จนหมดพลังชีวิตชีวา กลับยอมใช้ชีวิตตามตราประทับนั้น ชีวิตหมุนลง ด้อยค่าตัวเองลง จากเหตุการณ์สถานการณ์นั้นๆ ที่เกิดขึ้น เพราะเรามองเห็นกระบวนการทั้งหมดไม่ทัน และเราก็ไม่รู้ความจริงว่า โดยข้อเท็จจริงแล้ว สิ่งที่เขากระทำก็เป็นการบ่งบอกคุณค่าของตัวเขาเอง ไม่ใช่คุณค่าของตัวเรา สิ่งที่เขากระทำเป็นปัญหาของเขา ไม่ใช่ปัญหาของเรา สิ่งที่เขากระทำลิขิตกำหนดชะตาชีวิตเขาเอง ไม่ใช่ชะตาชีวิตของเรา
(มิใช่เพื่อทำการค้าหรือหารกำไร มิใช่เพื่อการกุศล โฆษณาที่เห็นเกิดขึ้นเอง มิได้นำมาเป็นรายได้ แต่เป็นเพียงเผยแผ่ธรรมะ เป็นทานเท่านั้นเอง)

การตีตราประทับ

ตราประทับฮ่องเต้จีนแต่ละยุค


ตราประทับถือเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงตัวตนของบุคคลในสังคมจีนที่มีมาช้านาน สันนิษฐานว่าตราประทับมีพัฒนาการมาจากการแกะสลักตัวหนังสือบนกระดองเต่าและกระดูกสัตว์ในสมัยซาง (ประมาณ ๔,๕๐๐ ปีก่อน) จากหลักฐานทางโบราณคดีที่มีการขุดค้นพบ มีการใช้ตราประทับมาไม่น้อยกว่าสมัยจั้นกว๋อ (ปลายสมัยโจว ประมาณ ๒,๕๐๐ ปีก่อน)
ในสมัยโบราณตราประทับจะทำจากหยกหรือหินที่มีค่า ชาวบ้านสามัญชนนั้นยากที่จะได้พบ โดยนับแต่โบราณตราประทับทำจากหยกหรือหินมีค่า ในสมัยถังเริ่มมีการทำตราประทับที่จากโลหะเช่นทอง เงิน สำริด และตราประทับที่ทำจากกระเบื้องเริ่มมีทำขึ้นในสมัยถังและซ่ง
สำหรับตราประทับของบุคคลสำคัญๆ ในประเทศจีน ยังหาชมได้ยาก ท่านที่ได้ชมถือว่าเป็นบุญตาจริงๆ

ตราประทับฮ่องเต้จีนแต่ละยุค

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ตราประทับ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *