Skip to content
Home » [Update] | ต้นทุน หมาย ถึง – NATAVIGUIDES

[Update] | ต้นทุน หมาย ถึง – NATAVIGUIDES

ต้นทุน หมาย ถึง: คุณกำลังดูกระทู้

หน้าหลัก
 การบัญชีต้นทุน


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน


วิธีการบัญชีในระบบการผลิต


การบัญชีต้นทุนการผลิต


การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้

บทฝึกหัด

แหล่งวิทยากร
อาจารย์ผู้สอน 

 

 

 


การบัญชีต้นทุน : โดยอาจารย์อนุรักษ์  ทองสุโขวงศ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

 ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

      
  

การบัญชีต้นทุน (Cost
Accounting)
จัดเป็นวิธีการทางบัญชีที่ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนของธุรกิจ
ประเภทอุตสาหกรรม
โดยมีวัตถุประสงค์พื้นฐานในการจัดทำรายงานทางการเงินตลอดจนวิเคราะห์
และจำแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน (Cost
Management)
ตามความต้องการของผู้บริหาร
ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แต่กิจประเภทอุตสาหกรรมเท่านั้น
ที่จะต้องใช้วิธีการทางบัญชีหรือข้อมูลของบัญชีต้นทุน
แต่ยังมีธุรกิจอีกหลายประเภท เช่น โรงแรม โรงพยาบาล
โรงเรียน มหาวิทยาลัย ธนาคาร บริษัทเงินทุน
บริษัทสายการบิน และกิจการอื่น ๆ 
อีกมากมายที่ได้มีการนำวิธีการบัญชีต้นทุนไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ที่สำคัญของข้อมูลทางบัญชีต้นทุนพอสรุปได้ดังนี้

            1.1
เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost
of goods sold) ประจำงวด
ซึ่งจะนำไปหักออกจากรายได้ในงบกำไรขาดทุน เพื่อะช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบผลการดำเนินงานของกิจการว่ามีผลกำไรหรือขาดทุนอย่างไร

           
1.2
เพื่อใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ (Inventory
Evaluation) ในธุรกิจอุตสาหกรรม
สินค้าคงเหลือที่จะปรากฏในงบดุลจะประกอบด้วย วัตถุดิบ
งานระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป
ซึ่งการแสดงมูลค่าของสินค้าคงเหลือเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง
หรือใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดจำเป็นต้องอาศัยวิธีการทางบัญชีต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ

           
1.3
เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจวางแผนและควบคุม (Planning
and Control)
ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถดำเนินธุรกิจไปอย่างมีแบบแผน
และบรรลุเป้าหมายตามความต้องการของธุรกิจในที่สุด
นอกจากนี้ข้อมูลทางบัญชีต้นทุนยังช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความผิดพลาดหรือจุดบกพร่องในการดำเนินธุรกิจ
เพื่อหาทางกำหนดวิธีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ได้อย่างทันท่วงที

           
1.4
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตัดสินใจ(Decision
Making) ทั้งนี้ในการดำเนินธุรกิจ
ผู้บริหารมักจะต้องประสบปัญหาที่จะต้องทำการแก้ไขอยู่ตลอดเวลา
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาในระยะสั้น
หรือปัญหาที่จะส่งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น
การตัดสินใจเกี่ยวกับการรับใบสั่งซื้อพิเศษ
การปิดโรงงานชั่วคราว การเพิ่ม –
ลดรายการผลิต การตั้งราคาสินค้า การวิเคราะห์กำไร
การกำหนดกลยุทธ์ในการประมูลงาน เป็นต้น

            ขอบเขตของหลักการบัญชีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วนใหญ่ ๆ คือ บัญชีการเงิน (Financial
accounting ) และบัญชีต้นทุน
(Cost Accounting) ซึ่งบัญชีการเงิน
นั้นค่อนข้างที่จะมีขอบเขตกว้าง
เนื่องจากเป็นบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
เช่น ผู้ถือหุ้น นักลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น
การวิเคราะห์งบการเงินจึงเป็นเครื่องมือที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่บุคคลต่าง
ๆ ดังกล่าว เช่น
นักลงทุนก่อนที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจใดก็จะต้องทำการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการหรือธุรกิจนั้น
ๆ เสียก่อน ทั้งนี้ เพื่อจะได้ทราบถึงความเสี่ยง
และความเป็นไปได้ที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจนั้น
เป็นต้น และด้วยเหตุผลที่ว่า
งบการเงินนี้จะต้องจัดทำขึ้นเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
ซึ่งจะนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจที่แตกต่างกัน
ดังนั้น
งบการเงินนี้จึงต้องจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
(Generally Accepted Accounting Principles :
GAAP) 
และจากการจัดทำงบการเงินภายใต้หลักการบัญชีที่ยอมรับกันทั่วไปนี้เอง
จึงทำให้ข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในงบการเงินเป็นข้อมูลในอดีตทั้งสิ้น
ทั้งนี้เพราะการจัดทำงบการเงินที่เสนอต่อบุคคลภายนอกนี้ควรจะมีความถูกต้องแน่นอน
มีหลักฐาน และเชื่อถือได้นั่นเอง

            บัญชีต้นทุน
เป็นหลักการบัญชีที่เกี่ยวกับการสะสมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ทั้งเพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจในเรื่องอื่น

โดยปกติแล้วการบัญชีต้นทุนจะทำหน้าที่หลักในการสะสมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
เพื่อคำนวณหาต้นทุนของผลิตภัณฑ์
รวมทั้งใช้ประมาณมูลค่าของสินค้าคงเหลือ
นอกจากนี้การบัญชีต้นทุนยังเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประมาณหรือการพยากรณ์ต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อการตัดสินใจอีกด้วย
ซึ่งในส่วนนี้เองจึงทำให้การบัญชีต้นทุนเข้ามามีบทบาทเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ในปัจจุบันนี้การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและการผลิตได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
เช่น การนำเครื่องจักรกล
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต เป็นต้น
การนำบัญชีต้นทุนเข้ามาใช้เพื่อทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่ถูกต้อง
และมีความสามารถที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่ฝ่ายบริหารได้อย่างรวดเร็ว
ทันสมัย
และเชื่อถือได้จึงเป็นสิ่งที่นักบัญชีต้นทุนจะต้องมีความเข้าใจ
และสามารถที่จะประยุกต์การบัญชีต้นทุนให้ใช้ได้กับลักษณะของธุรกิจต่าง
ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

           
จากขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของการบัญชีการเงิน
และการบัญชีต้นทุน
ทำให้เราสามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีการเงินและการบัญชีต้นทุนได้
2 ลักษณะ ดังนี้

1)
การคำนวณต้นทุนขาย (Cost of
Goods sold)

การจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอกถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบประการสำคัญของการบัญชีการเงิน
ในกรณีที่กิจการเป็นธุรกิจซื้อขายสินค้าโดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนขายเพื่อแสดงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนก็สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุน
แต่ในกรณีที่กิจการมีลักษณะเป็นธุรกิจผลิตสินค้า
การคำนวณต้นทุนขายจำเป็นต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุนในการคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่ผลิตได้เพื่อขาย
ซึ่งสามารถทำความเข้าใจได้จากการเปรียบเทียบการคำนวณต้นทุนขายต่อไปนี้

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินค้าคงเหลือต้นงวด

xxx

 

สินค้าสำเร็วรูปคงเหลือต้นงวด

xxx

บวก

: ซื้อสินค้า(สุทธิ)

xxx

 

บวก

: ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป

xxx

สินค้าที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

 

สินค้าสำเร็จรูปที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

หัก

: สินค้าคงเหลือปลายงวด

xxx

 

หัก

: สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือปลายงวด

xxx

ต้นทุนขาย

xxx

 

ต้นทุนขาย

xxx

 

การจัดทำงบกำไรขาดทุน สำหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า
และธุรกิจผลิตสินค้าในส่วนอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกัน
คำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูปจะขออธิบายในส่วนต่อไป

2)
การแสดงสินค้าคงเหลือ (Inventories)

งบดุล (Balance
Sheet)
เป็นงบการเงินชนิดหนึ่งที่การบัญชีการเงินมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการให้มีความถูกต้อง
เที่ยงธรรม และเชื่อถือได้มากที่สุด
ในส่วนที่การบัญชีต้นทุนได้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องก็คือการแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือ
ในหมวดของสินทรัพย์หมุนเวียน
ซึ่งจะต้องใช้หลักการบัญชีต้นทุนในการรวบรวมข้อมูลและคำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือ
ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดิบ งานระหว่างผลิต
และสินค้าสำเร็จรูป

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

เงินสด

xxx

 

เงินสด

xxx

ลูกหนี้

xxx

 

ลูกหนี้

xxx

สินค้าคงเหลือ

xxx

 

สินค้าคงเหลือ
 :

 

 

 

 

    
สินค้าสำเร็จรูป

xxx

 

 

 

     งานระหว่างผลิต

xxx

 

 

 

     วัตถุดิบ

xxx

เมื่อได้ทราบถึงความสัมพันธ์ที่การบัญชีต้นทุนมีต่อการบัญชีการเงินแล้ว
ขอให้สังเกตว่าในการทำหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนนำเสนอข้อมูลให้แก่การบัญชีการเงินที่ต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
เพื่อเสนอข้อมูลให้แก่บุคคลภายนอก ดังนั้น
การคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่จะนำไปคำนวณต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุน
หรือแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือในงบดุล
ที่ถือเป็นหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนจึงต้องมีลักษณะเป็นหลักการบัญชีหรือวิธีการที่มีกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องและเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป

เนื่องจากคำว่า บัญชีต้นทุน และ บัญชีบริหาร
มีความหมายและลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก
ดังนั้นเราจะพบวาในบางครั้งการใช้คำทั้งสองก็มักจะมีการใช้แทนกันอยู่ตลอดเวลา
แต่โดยทั่วไปการบัญชีต้นทุนมีขอบเขตเพียงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณหาต้นทุนการผลิตของสินค้าหรือบริการเท่านั้น

ส่วนคำว่า บัญชีบริหาร หมายถึง กระบวนการที่เกี่ยวกับ

1)

การรับรู้และประเมินภาวการณ์ของการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
เพื่อนำมากำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีที่เหมาะสม

2)

การวัดและประมาณภาวการณ์ในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
ทั้งที่เกิดขึ้นแล้วและยังไม่เกิดขึ้น

3)

การกำหนดวิธีการในการจดบันทึกและเก็บสะสมรวบรวมข้อมูลในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ 
เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงการบริหาร

4)

การวิเคราะห์และการกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสมกับการตัดสินใจ

5)
การตีความและการเสนอข้อมูล

6)
การติดต่อสื่อสาร
นั่นคือการจัดทำรายงานที่เหมาะสมต่อบุคคลที่ต้องการ
กล่าวคือ รายงานภายในก็จะเสนอต่อฝ่ายบริหาร
รายงานภายนอกก็จะเสนอต่อบุคคลทั่วไป

ดังนั้น การบัญชีบริหาร คือ
กระบวนการทางบัญชีที่มุ่งไปในส่วนของการนำข้อมูลทางบัญชีการเงิน
และบัญชีต้นทุน มาทำการวิเคราะห์
และแปลความหมายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร
ทั้งในด้านการวางแผน การควบคุม
การประเมินและวัดผลการดำเนินงานของบุคคลในองค์กร
หรือหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร
แต่โดยส่วนใหญ่ข้อมูลที่มีบทบาทสำคัญต่อการบริหารกิจการก็คือ
ข้อมูลทางด้านต้นทุน (Cost
Information) ดังนั้น
จึงทำให้เกิดความเข้าใจโดยทั่วไปว่าการบัญชีบริหารก็คือการบัญชีต้นทุน
แต่ในทางหลักการที่ถูกต้องแล้วการบัญชีต้นทุนเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีบริหารเท่านั้น
ซึ่งความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน
และการบัญชีบริหาร สามารถแสดงได้ ดังภาพ

NAVIGATOR: 


หน้าหลัก
 –>
การบัญชีต้นทุน–>
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน–>
ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

 

[Update] | ต้นทุน หมาย ถึง – NATAVIGUIDES

หน้าหลัก
 การบัญชีต้นทุน


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน


วิธีการบัญชีในระบบการผลิต


การบัญชีต้นทุนการผลิต


การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้

บทฝึกหัด

แหล่งวิทยากร
อาจารย์ผู้สอน 

 

 

 


การบัญชีต้นทุน : โดยอาจารย์อนุรักษ์  ทองสุโขวงศ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

 ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

      
  

การบัญชีต้นทุน (Cost
Accounting)
จัดเป็นวิธีการทางบัญชีที่ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนของธุรกิจ
ประเภทอุตสาหกรรม
โดยมีวัตถุประสงค์พื้นฐานในการจัดทำรายงานทางการเงินตลอดจนวิเคราะห์
และจำแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน (Cost
Management)
ตามความต้องการของผู้บริหาร
ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แต่กิจประเภทอุตสาหกรรมเท่านั้น
ที่จะต้องใช้วิธีการทางบัญชีหรือข้อมูลของบัญชีต้นทุน
แต่ยังมีธุรกิจอีกหลายประเภท เช่น โรงแรม โรงพยาบาล
โรงเรียน มหาวิทยาลัย ธนาคาร บริษัทเงินทุน
บริษัทสายการบิน และกิจการอื่น ๆ 
อีกมากมายที่ได้มีการนำวิธีการบัญชีต้นทุนไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ที่สำคัญของข้อมูลทางบัญชีต้นทุนพอสรุปได้ดังนี้

            1.1
เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost
of goods sold) ประจำงวด
ซึ่งจะนำไปหักออกจากรายได้ในงบกำไรขาดทุน เพื่อะช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบผลการดำเนินงานของกิจการว่ามีผลกำไรหรือขาดทุนอย่างไร

           
1.2
เพื่อใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ (Inventory
Evaluation) ในธุรกิจอุตสาหกรรม
สินค้าคงเหลือที่จะปรากฏในงบดุลจะประกอบด้วย วัตถุดิบ
งานระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป
ซึ่งการแสดงมูลค่าของสินค้าคงเหลือเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง
หรือใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดจำเป็นต้องอาศัยวิธีการทางบัญชีต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ

           
1.3
เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจวางแผนและควบคุม (Planning
and Control)
ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถดำเนินธุรกิจไปอย่างมีแบบแผน
และบรรลุเป้าหมายตามความต้องการของธุรกิจในที่สุด
นอกจากนี้ข้อมูลทางบัญชีต้นทุนยังช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความผิดพลาดหรือจุดบกพร่องในการดำเนินธุรกิจ
เพื่อหาทางกำหนดวิธีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ได้อย่างทันท่วงที

           
1.4
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตัดสินใจ(Decision
Making) ทั้งนี้ในการดำเนินธุรกิจ
ผู้บริหารมักจะต้องประสบปัญหาที่จะต้องทำการแก้ไขอยู่ตลอดเวลา
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาในระยะสั้น
หรือปัญหาที่จะส่งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น
การตัดสินใจเกี่ยวกับการรับใบสั่งซื้อพิเศษ
การปิดโรงงานชั่วคราว การเพิ่ม –
ลดรายการผลิต การตั้งราคาสินค้า การวิเคราะห์กำไร
การกำหนดกลยุทธ์ในการประมูลงาน เป็นต้น

            ขอบเขตของหลักการบัญชีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วนใหญ่ ๆ คือ บัญชีการเงิน (Financial
accounting ) และบัญชีต้นทุน
(Cost Accounting) ซึ่งบัญชีการเงิน
นั้นค่อนข้างที่จะมีขอบเขตกว้าง
เนื่องจากเป็นบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
เช่น ผู้ถือหุ้น นักลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น
การวิเคราะห์งบการเงินจึงเป็นเครื่องมือที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่บุคคลต่าง
ๆ ดังกล่าว เช่น
นักลงทุนก่อนที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจใดก็จะต้องทำการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการหรือธุรกิจนั้น
ๆ เสียก่อน ทั้งนี้ เพื่อจะได้ทราบถึงความเสี่ยง
และความเป็นไปได้ที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจนั้น
เป็นต้น และด้วยเหตุผลที่ว่า
งบการเงินนี้จะต้องจัดทำขึ้นเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
ซึ่งจะนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจที่แตกต่างกัน
ดังนั้น
งบการเงินนี้จึงต้องจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
(Generally Accepted Accounting Principles :
GAAP) 
และจากการจัดทำงบการเงินภายใต้หลักการบัญชีที่ยอมรับกันทั่วไปนี้เอง
จึงทำให้ข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในงบการเงินเป็นข้อมูลในอดีตทั้งสิ้น
ทั้งนี้เพราะการจัดทำงบการเงินที่เสนอต่อบุคคลภายนอกนี้ควรจะมีความถูกต้องแน่นอน
มีหลักฐาน และเชื่อถือได้นั่นเอง

            บัญชีต้นทุน
เป็นหลักการบัญชีที่เกี่ยวกับการสะสมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ทั้งเพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจในเรื่องอื่น

โดยปกติแล้วการบัญชีต้นทุนจะทำหน้าที่หลักในการสะสมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
เพื่อคำนวณหาต้นทุนของผลิตภัณฑ์
รวมทั้งใช้ประมาณมูลค่าของสินค้าคงเหลือ
นอกจากนี้การบัญชีต้นทุนยังเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประมาณหรือการพยากรณ์ต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อการตัดสินใจอีกด้วย
ซึ่งในส่วนนี้เองจึงทำให้การบัญชีต้นทุนเข้ามามีบทบาทเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ในปัจจุบันนี้การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและการผลิตได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
เช่น การนำเครื่องจักรกล
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต เป็นต้น
การนำบัญชีต้นทุนเข้ามาใช้เพื่อทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่ถูกต้อง
และมีความสามารถที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่ฝ่ายบริหารได้อย่างรวดเร็ว
ทันสมัย
และเชื่อถือได้จึงเป็นสิ่งที่นักบัญชีต้นทุนจะต้องมีความเข้าใจ
และสามารถที่จะประยุกต์การบัญชีต้นทุนให้ใช้ได้กับลักษณะของธุรกิจต่าง
ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

           
จากขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของการบัญชีการเงิน
และการบัญชีต้นทุน
ทำให้เราสามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีการเงินและการบัญชีต้นทุนได้
2 ลักษณะ ดังนี้

1)
การคำนวณต้นทุนขาย (Cost of
Goods sold)

การจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอกถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบประการสำคัญของการบัญชีการเงิน
ในกรณีที่กิจการเป็นธุรกิจซื้อขายสินค้าโดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนขายเพื่อแสดงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนก็สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุน
แต่ในกรณีที่กิจการมีลักษณะเป็นธุรกิจผลิตสินค้า
การคำนวณต้นทุนขายจำเป็นต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุนในการคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่ผลิตได้เพื่อขาย
ซึ่งสามารถทำความเข้าใจได้จากการเปรียบเทียบการคำนวณต้นทุนขายต่อไปนี้

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินค้าคงเหลือต้นงวด

xxx

 

สินค้าสำเร็วรูปคงเหลือต้นงวด

xxx

บวก

: ซื้อสินค้า(สุทธิ)

xxx

 

บวก

: ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป

xxx

สินค้าที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

 

สินค้าสำเร็จรูปที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

หัก

: สินค้าคงเหลือปลายงวด

xxx

 

หัก

: สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือปลายงวด

xxx

ต้นทุนขาย

xxx

 

ต้นทุนขาย

xxx

 

การจัดทำงบกำไรขาดทุน สำหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า
และธุรกิจผลิตสินค้าในส่วนอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกัน
คำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูปจะขออธิบายในส่วนต่อไป

2)
การแสดงสินค้าคงเหลือ (Inventories)

งบดุล (Balance
Sheet)
เป็นงบการเงินชนิดหนึ่งที่การบัญชีการเงินมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการให้มีความถูกต้อง
เที่ยงธรรม และเชื่อถือได้มากที่สุด
ในส่วนที่การบัญชีต้นทุนได้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องก็คือการแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือ
ในหมวดของสินทรัพย์หมุนเวียน
ซึ่งจะต้องใช้หลักการบัญชีต้นทุนในการรวบรวมข้อมูลและคำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือ
ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดิบ งานระหว่างผลิต
และสินค้าสำเร็จรูป

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

เงินสด

xxx

 

เงินสด

xxx

ลูกหนี้

xxx

 

ลูกหนี้

xxx

สินค้าคงเหลือ

xxx

 

สินค้าคงเหลือ
 :

 

 

 

 

    
สินค้าสำเร็จรูป

xxx

 

 

 

     งานระหว่างผลิต

xxx

 

 

 

     วัตถุดิบ

xxx

เมื่อได้ทราบถึงความสัมพันธ์ที่การบัญชีต้นทุนมีต่อการบัญชีการเงินแล้ว
ขอให้สังเกตว่าในการทำหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนนำเสนอข้อมูลให้แก่การบัญชีการเงินที่ต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
เพื่อเสนอข้อมูลให้แก่บุคคลภายนอก ดังนั้น
การคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่จะนำไปคำนวณต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุน
หรือแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือในงบดุล
ที่ถือเป็นหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนจึงต้องมีลักษณะเป็นหลักการบัญชีหรือวิธีการที่มีกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องและเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป

เนื่องจากคำว่า บัญชีต้นทุน และ บัญชีบริหาร
มีความหมายและลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก
ดังนั้นเราจะพบวาในบางครั้งการใช้คำทั้งสองก็มักจะมีการใช้แทนกันอยู่ตลอดเวลา
แต่โดยทั่วไปการบัญชีต้นทุนมีขอบเขตเพียงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณหาต้นทุนการผลิตของสินค้าหรือบริการเท่านั้น

ส่วนคำว่า บัญชีบริหาร หมายถึง กระบวนการที่เกี่ยวกับ

1)

การรับรู้และประเมินภาวการณ์ของการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
เพื่อนำมากำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีที่เหมาะสม

2)

การวัดและประมาณภาวการณ์ในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
ทั้งที่เกิดขึ้นแล้วและยังไม่เกิดขึ้น

3)

การกำหนดวิธีการในการจดบันทึกและเก็บสะสมรวบรวมข้อมูลในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ 
เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงการบริหาร

4)

การวิเคราะห์และการกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสมกับการตัดสินใจ

5)
การตีความและการเสนอข้อมูล

6)
การติดต่อสื่อสาร
นั่นคือการจัดทำรายงานที่เหมาะสมต่อบุคคลที่ต้องการ
กล่าวคือ รายงานภายในก็จะเสนอต่อฝ่ายบริหาร
รายงานภายนอกก็จะเสนอต่อบุคคลทั่วไป

ดังนั้น การบัญชีบริหาร คือ
กระบวนการทางบัญชีที่มุ่งไปในส่วนของการนำข้อมูลทางบัญชีการเงิน
และบัญชีต้นทุน มาทำการวิเคราะห์
และแปลความหมายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร
ทั้งในด้านการวางแผน การควบคุม
การประเมินและวัดผลการดำเนินงานของบุคคลในองค์กร
หรือหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร
แต่โดยส่วนใหญ่ข้อมูลที่มีบทบาทสำคัญต่อการบริหารกิจการก็คือ
ข้อมูลทางด้านต้นทุน (Cost
Information) ดังนั้น
จึงทำให้เกิดความเข้าใจโดยทั่วไปว่าการบัญชีบริหารก็คือการบัญชีต้นทุน
แต่ในทางหลักการที่ถูกต้องแล้วการบัญชีต้นทุนเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีบริหารเท่านั้น
ซึ่งความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน
และการบัญชีบริหาร สามารถแสดงได้ ดังภาพ

NAVIGATOR: 


หน้าหลัก
 –>
การบัญชีต้นทุน–>
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน–>
ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

 


คำแพง – แซ็ค ชุมแพ [Official Audio]


ดาวน์โหลดเพลงคำแพง แซ็ค ชุมแพ กด 492285 รหัสศิลปิน 272
ติดต่องานโชว์ โทร.0818235155 พี่ตั้ม สามารถ ทองขาว
……………………………………………………………………….
เพลงคำแพง แซ็ค ชุมแพ
คำร้อง/ทำนอง เอ๊ะ ต้นไม้มิวสิค
เรียบเรียง นนท์ อานนท์ ต้นไม้มิวสิค
Graphic Director น๊อตซิ่ง ต้นไม้มิวสิค
Producer เอ๊ะ ต้นไม้มิวสิค
สังกัด Tonmai Music \u0026 Studio
………………………………………………………………………..
เขามีความหมายกับเจ้า เจ้ามีความหมายต่ออ้าย
เจ้าให้เขาหมดใจหมดกาย อ้ายกะยอมตายให้เจ้าได้คือกัน
ครองฮักสองคนโลดตอนนี้ โชคดีให้เป็นของเจ้า
โชคร้ายอ้ายสิรับเอา อ้ายบ่สมน้องกะคือว่า
บ่แม่นหมาวัดและกะบ่ได้ใจนาง
หว่านแหลงดาง กะดักใจนางไว้บ่ได้
เฮ็ดดีปานได๋ เฮ็ดดีปานได๋ เจ้ากะบ่หัวซา
นั่งฮ้องนอนไห้ ย้อนสงสารใจเจ้าของ
น้องบ่เคยมอง ย่างสากกะบ่อยากใกล้
ฮักเจ้าหลาย ฮักเจ้าหลาย ได้ยินบ่
เป็นจั่งได๋น้องความฮัก ปานถืกกับดักฮัดหัวใจ
ติดกับดักฮักคนเดียวออกบ่ได้
อ้ายคงทำได้แค่รอ ถึงจะท้อแต่บ่เคยหมดหวัง
ยอมเจ็บยอมให้หัวใจพัง ซังเด้ซัง ซังหัวใจเจ้าของ
ได้แต่กอดตัวเองไว้ยามเหงา เจ้ากอดเขา เขากอดเจ้าคงบ่ห่าง
จั่งจ่อก่ออยู่เถียงนาฮ้าง เบิ่งเขาย่างผ่านไป
บ่แม่นหมาวัดและกะบ่ได้ใจนาง
หว่านแหลงดาง กะดักใจนางไว้บ่ได้
เฮ็ดดีปานได๋ เฮ็ดดีปานได๋ เจ้ากะบ่หัวซา
นั่งฮ้องนอนไห้ ย้อนสงสารใจเจ้าของ
น้องบ่เคยมอง ย่างสากกะบ่อยากใกล้
ฮักเจ้าหลาย ฮักเจ้าหลาย ได้ยินบ่
บ่แม่นหมาวัดและกะบ่ได้ใจนาง
หว่านแหลงดาง กะดักใจนางไว้บ่ได้
เฮ็ดดีปานได๋ เฮ็ดดีปานได๋ เจ้ากะบ่หัวซา
นั่งฮ้องนอนไห้ ย้อนสงสารใจเจ้าของ
น้องบ่เคยมอง ย่างสากกะบ่อยากใกล้
ฮักเจ้าหลาย ฮักเจ้าหลาย ได้ยินบ่
รอเจ้าอยู่เด้อ คำแพง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คำแพง - แซ็ค ชุมแพ [Official Audio]

◣มสธ.◢ สื่อสอนเสริม 32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ ครั้งที่ 1-1 ผลิตภาค 1/2561


ผลิตรายการโดย
สำนักเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.)
Sukhothai Thammathirat Open University (STOU)
­
ติดตามรายการดี ๆ ของทาง ◣ มสธ.◢ ได้ที่
➊ Website ▸ media.stou.ac.th หรือ www.stou.ac.th
➋ Facebook และ YouTube ▸ STOU CHANNEL
­
▸ STOU CHANNEL [ Educational Channel for All ]
­

◣มสธ.◢ สื่อสอนเสริม 32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ  ครั้งที่ 1-1 ผลิตภาค 1/2561

วิธีคำนวณต้นทุน เพื่อตั้งราคาขาย | คิดต้นทุนยังไงให้ได้กำไรทุกครั้งที่คุณขาย


ต้นทุนเป็นเรื่องหนักใจสำหรับคนทำธุรกิจหลายคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ทำธุรกิจครั้งแรก หรือทำธุรกิจใหม่ที่เราอาจจะไม่คุ้นกับโครงสร้างต้นทุนในมุมมองต่าง ซึ่งปัญหานี้เกิดขึ้นทุกวันครับ หลายธุรกิจพลาดตรงนี้จนกลัวที่จะขาย หรือแย่หน่อยก็ ‘เผลอขาย’ ในราคาที่ไม่ได้กำไร
ก่อนที่จะเริ่มดูวิดีโอ เตรียมเครื่องคิดเลขไว้ด้วยนะครับ เผื่อใครคิดไม่ทันก็กดหยุดวิดีโอแล้วคำนวณต้นทุนตามตัวอย่าง ตามที่ผมทำไปด้วย จะได้เรียนรู้ไปพร้อมกันเลย
วิดีโอนี้จะอธิบายถึงต้นทุนต่างๆ และวิธีการคำนวณต้นทุนในรูปแบบที่เรียบง่ายที่สุด
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวกับต้นทุน
วิธีการคำนวณต้นทุน + ตัวอย่าง
ปัญหาที่เจอบ่อยเวลาคำนวณต้นทุน
เริ่มกันก่อนนะครับ ต้นทุนมีอะไรบ้าง:
ต้นทุนวัตถุดิบ หากคุณเป็นธุรกิจซื้อมาขายไป ส่วนนี้คำนวณง่ายครับ แต่หากคุณทำขนม เปิดโรงงานผลิตสินค้า ต้นทุนพวกนี้จะขึ้นอยู่กับราคาวัตถุดิบและสูตรในการผลิตของคุณ ถ้าถามว่าสูตรผลิตมาจากไหน คุณก็ต้องหาสูตรกันเอง เช่นหาจากข้อมูลออนไลน์ หรือลองผิดลองถูก ทำขึ้นมาดูก่อน
ค่าแรง ต้นทุนส่วนค่าแรงสามารถคิดได้ทั้งแบบเงินเดือนค่าจ้างขั้นต่ำ หรือคิดจากเงินเดือนจริงของคุณก็ได้ แล้วก็หารด้วยชั่วโมงที่คุณใช้ในการผลิต เช่น หากคุณมีเงินเดือน 15,000 และคุณใช้เวลาทำขนม 1 ชั่วโมง ค่าแรงของคุณก็ควรจะเท่ากับ 62.5 บาท (ดูวิธีคำนวณในวิดีโอนะครับ) หากอยากคิดละเอียดหน่อยก็ต้องจดชั่วโมงที่คุณใช้ทั้งหมดเลย ซื้อของใช้เวลาเท่าไร ขายของเท่าไร ส่งของเท่าไร
ค่าไฟ คำนวณจากค่า WATT ดูได้หลังเครื่องของคุณ คุณต้องรู้ยูนิทค่าไฟตัวเองนะครับ หากคุณไม่ได้ทำโรงงานผลิต ค่าไฟคงไม่ได้เยอะมาก ในส่วนนี้ก็ไม่ต้องซีเรียสเรื่องการคำนวณให้แป๊ะๆก็ได้ เพราะตัวเลขนี้จะไม่ได้กระทบต่อการตัดสินใจในธุรกิจมากนัก (แค่ต้องมั่นใจว่าใช้ไฟอย่างประหยัด ไม่เปิดทิ้งไว้มั่วๆก็พอ)
ของเสีย ค่าใช้จ่ายลับที่ทำให้หลายคนขาดทุนมาแล้ว เริ่มแรกคิดไปก่อนเลยว่าทำสิบครั้งจะเสียหนึ่งครั้ง หมายความว่าค่าใช้จ่าย ต้นทุนของเสียอยู่ที่ 10% แต่คุณก็ต้องเก็บตัวเลขจริงอีกทีด้วย ให้ลองทำไปซัก 5 ครั้ง 10 ครั้ง แล้วดูว่าคุณทำจริง ทำเสียเยอะแค่ไหน ข้อดีก็คือยิ่งเราทำเยอะ เราก็ยิ่งเก่ง ค่าใช้จ่ายส่วนนี้มีแนวโน้มที่จะลดได้เรื่อยๆหากคุณเป็นคนใส่ใจกับการทำงาน
นอกจากต้นทุนแล้ว ในวิดีโอยังพูดเรื่องการตั้งราคาด้วยนะครับ ดูให้จบนะครับ ผมยัดความรู้ไว้เต็มเลย
ลองดูวิดีโอนี้ด้วยครับ: การตลาด รวมทุกอย่างที่คุณต้องรู้ https://youtu.be/T4O8ynTmE7k เหมาะสำหรับมือใหม่มากๆ
ติดตามบล็อกของผมได้ที่: https://thaiwinner.com/
หนังสือบริหารธุรกิจของผม: https://thaiwinner.com/businesshandbook/
ติดตามช่องยูทูปของเราได้ทีนี่: https://www.youtube.com/channel/UCW2EwoTtQDFq9oBdQ8KsKg?sub_confirmation=1

วิธีคำนวณต้นทุน เพื่อตั้งราคาขาย | คิดต้นทุนยังไงให้ได้กำไรทุกครั้งที่คุณขาย

— Yield การคิดต้นทุนวัตถุดิบที่แท้จริง (ยิว) l Penguin Trick —


Yield การคิดต้นทุนวัตถุดิบที่แท้จริง (ยิว) l Penguin Trick
.
.
เชื่อว่าหลายๆร้านอาจจะมองข้ามเรื่องเล็กๆ ในตอนคิดค่าต้นทุนวัตดุดิบ
ว่าจริงๆเเล้วเราไม่สามารถคิดจากวัตถุดิบเต็มจำนวนได้
.
เพราะวัตถุดิบสำหรับปรุงอาหารนั่น มี Yield (ยิว) หรือส่วนที่ไม่จำเป็นที่ต้องตัดออก
วันนี้เราจะมาลองดูเทคนิคและตัวอย่างง่ายๆ ในการคิดต้นทุนที่แท้จริงของต้นทุนวัตถุดิบกัน
.
.
.
ติดตามTorpenguin ผู้ชายขายบริการในช่องทางอื่นๆได้ที่
Youtube : https://bit.ly/3gOuSAj
Twitter : https://twitter.com/torpenguin
Instragram : https://www.instagram.com/torpenguin/
ติดต่องาน Email : [email protected]
.
penguintrick
penguintalk
ต่อเพนกวิน
Torpenguin
ผู้ชายขายบริการ

-- Yield การคิดต้นทุนวัตถุดิบที่แท้จริง (ยิว) l Penguin Trick --

ພ່ໍແມ່ກີດກັ້ນ / พ่อแม่กีดกัน – Pipo DerNi ft. STS 73 (Acoustic guitar) [Official Video]


Music : ພໍ່ແມ່ກີດກັ້ນ / พ่อแม่กีดกัน Pipo DerNi ft. STS 73
Acoustic guitar : Meud
Lyrics : Pipo DerNi \u0026 STS 73
Mix \u0026 Mastering : Pipo DerNi
Assistant : Sin Thobi
Actor : P’pixa Syhanouvong
Video Editor : Pipo DerNi

Pipo DerNi🎤🎹🎶
FB: https://www.facebook.com/pipo.derni.3
IG : Pipo_Derni
Tiktok : Pipo DerNi
STS 73 🎤
FB : https://www.facebook.com/profile.php?id=100024400179265
Tiktok : STS73

Acoustic guitar
Meud 🪕🎸
FB : https://www.facebook.com/meud.tk.1

กดติดตาม กดไลค์

ພ່ໍແມ່ກີດກັ້ນ / พ่อแม่กีดกัน - Pipo DerNi ft. STS 73 (Acoustic guitar) [Official Video]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ต้นทุน หมาย ถึง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *