Skip to content
Home » [Update] คุณสมบัติผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี | แจ้งชั่วโมงอบรมผู้ทําบัญชี 2560 – NATAVIGUIDES

[Update] คุณสมบัติผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี | แจ้งชั่วโมงอบรมผู้ทําบัญชี 2560 – NATAVIGUIDES

แจ้งชั่วโมงอบรมผู้ทําบัญชี 2560: คุณกำลังดูกระทู้

กลับสู่หน้าแรก Simplified Regulations

ดาวน์โหลด

 

ถาม-ตอบ

 

 

คุณสมบัติ

 
 

  1) ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเป็น CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในปัจจุบันจะต้องดำเนินการอย่างไร

 บุคคลที่ดำรงตำแหน่ง “CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี” ได้รับยกเว้นคุณสมบัติเรื่องการศึกษาและประสบการณ์ เนื่องจากเป็นผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่แล้วถือว่ามีคุณสมบัติและประสบการณ์เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยต้องอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชีให้ครบ 6 ชั่วโมงต่อปี ตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นไป
         

 สรุปคุณสมบัติของบุคคลที่ดำรงตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนปัจจุบัน ดังนี้

CFO: อบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี

ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี:

  • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
  • อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี

 

 

  2) หากบริษัทจดทะเบียนมีการเปลี่ยนแปลง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี จะต้องดำเนินการอย่างไร

 บริษัทพิจารณาว่าบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งนั้นมีคุณสมบัติอย่างไร โดยแบ่งได้เป็น 2 กรณีดังนี้

 

  1. คุณสมบัติของบุคคลที่เคยดำรงตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในบริษัทจดทะเบียนมาก่อน และ พ้นจากตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีของบริษัทจดทะเบียนไม่เกิน 1 ปี ดังนี้
    • CFO: อบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี
    • ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี:
      • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
      • อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี
  2. คุณสมบัติของบุคคลที่ไม่เคยดำรงตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในบริษัทจดทะเบียน หรือ เคยดำรงตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในบริษัทจดทะเบียนแต่พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วเกิน 1 ปี ดังนี้
    • CFO:  
      • จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไปหรือเทียบเท่า
      • ประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงิน 3 ปีใน 5 ปีล่าสุด หรือ ด้านใด ๆ ที่เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินกิจการ 5 ปีใน 7 ปีล่าสุด
      • อบรมหลักสูตร Orientation 12 ชั่วโมงและอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี 6 ชั่วโมง
    • ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี:
      • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
      • มีประสบการณ์ด้านบัญชี 3 ปีใน 5 ปีล่าสุด
      • อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี

            ทั้งนี้ ให้บริษัทแจ้งรายชื่อ CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ที่ได้รับการแต่งตั้ง เพื่อให้ผู้ลงทุนทราบผ่านระบบ SETLink ภายในวัน 3 วันทำการนับจากวันแต่งตั้ง

 

 

  3) บริษัทจดทะเบียนสามารถแต่งตั้งเลขานุการบริษัท ซึ่งจบด้านบัญชีเป็น CFO ได้หรือไม่

  ได้ โดยพิจารณาคุณสมบัติตามคำตอบของ Q2 ประกอบ

 

 

  4) CFO ของบริษัทจดทะเบียนลาออกไปเป็น CFO ของบริษัทย่อยที่ต่างประเทศเป็นเวลา 3 ปี จะกลับมารับตำแหน่ง CFO ของบริษัทจดทะเบียนอีกครั้งในปี 2562 CFO จำเป็นต้อง orientation หรือไม่

  เนื่องจากบุคคลดังกล่าวเป็น CFO ในบริษัทย่อยซึ่งมิใช่บริษัทจดทะเบียน กล่าวคือ พ้นจาก CFO ในบริษัทจดทะเบียนซึ่งเกินกว่า 1 ปี CFO จึงต้องมีคุณสมบัติทุกข้อก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง ทั้งด้านการศึกษา ประสบการณ์ และการอบรม จึงต้อง Orientation ไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง

 

 

  5) CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ดำรงตำแหน่งในหลายบริษัทจดทะเบียนได้หรือไม่

  CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ควรดำรงตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนเพียงแห่งเดียว เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มที่

 

 

  6) CFO ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้หรือไม่ เพื่อให้สามารถทำหน้าที่เป็นทั้ง CFO และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี

  ได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทจดทะเบียนควรมี CFO และผู้ควบคุมดูแลบัญชี เป็นคนละบุคคลกัน เนื่องจากตำแหน่งดังกล่าวมีความรับผิดชอบที่แตกต่างกัน เพื่อให้สามารถตรวจสอบและถ่วงดุลกันได้

 

 

  7) กรณีที่บริษัทจดทะเบียนไม่มีตำแหน่งที่เรียกว่า CFO แต่มี Senior Accounting Director และ Finance Director รายงานตรงต่อ CEO บริษัทจะกำหนดให้ใครดำรงตำแหน่ง CFO

  ในกรณีเช่นนี้ บริษัทอาจพิจารณาระบุบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในการจัดทำรายงานทาง การเงินเป็น CFO

 

 

  8) CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี เป็นชาวต่างชาติได้หรือไม่

 CFO เป็นชาวต่างชาติได้
 ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี : กรณีบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจะต้องมีผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีเป็นผู้ทำบัญชีที่มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

 

 

  9) ประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงินของ CFO หมายถึงประสบการณ์ด้านใดบ้าง

 ประสบการณ์ด้านบัญชี เช่น ประสบการณ์ด้านการทำบัญชี หรือตรวจสอบบัญชี

 ประสบการณ์ด้านการเงิน เช่น ที่ปรึกษาการเงิน, นักวิเคราะห์หุ้น, งานธนาคาร หรือผู้จัดการกองทุน

 ประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงินจะมาจากการเป็นพนักงานในบริษัทใดก็ได้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นพนักงานของบริษัทจดทะเบียน

 

 

  10) หากบุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น CFO ไม่มีประสบการณ์ด้านบัญชี/การเงิน จะดำเนินการอย่างไร

  บุคคลดังกล่าวต้องมีประสบการณ์ด้านใดๆ ที่เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินกิจการของบริษัทไม่น้อยกว่า 5 ปีในช่วง 7 ปีล่าสุด โดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทเห็นว่าเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินกิจการของบริษัท

 

 

  11) บริษัทจดทะเบียนต้องแก้ไขกฎบัตรของกรรมการตรวจสอบให้มีหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของ CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีหรือไม่

 ตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ได้กำหนดให้บริษัทแก้ไขกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบให้มีหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของ CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง คุณสมบัติและขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2558

 

 

 

การอบรม Orientation

 
 

  12) CFO ของบริษัทจดทะเบียนต้องอบรมหลักสูตรการเตรียมความพร้อมทางบัญชีและการเงิน (Orientation) หรือไม่

 บริษัทจดทะเบียนจะมีการเปลี่ยนแปลง CFO เป็นบุคคลที่ไม่เคยดำรงตำแหน่งเป็น CFO ในบริษัทจดทะเบียนมาก่อน หรือ พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวมาเกิน 1 ปี จะต้องอบรมหลักสูตร Orientation ก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง

 

 ตัวอย่างเช่น คุณสมชาย ลาออกจาก CFO ของบริษัทจดทะเบียน YY ในเดือน ก.ค 2560 และจะเข้าดำรงตำแหน่ง CFO ของบริษัทจดทะเบียน ZZ ในเดือน ม.ค 2562 ถือว่าพ้นจากตำแหน่งเกิน 1 ปี จะต้องอบรมหลักสูตร Orientation ก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง

 

 กรณีที่ คุณสมชาย ดำรงตำแหน่ง CFO โดยที่ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม Orientation จะส่งผลให้บริษัทจดทะเบียน ZZ ขาดคุณสมบัติการดำรงสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนในส่วนที่เกี่ยวกับ CFO โดยบริษัทจดทะเบียน ZZ จะต้องอธิบายสาเหตุ และแนวทางแก้ไข   ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (56-1)

 

 

  13) หลักสูตร Orientation มีจัดอบรมที่ใดบ้าง

 หลักสูตร Orientation จะมีประกาศรายละเอียดใน web site สำนักงาน ก.ล.ต ซึ่งเผยแพร่ที่
   www.sec.or.th/TH/Pages/LawandRegulations/AuditorFollow.aspx#B ดังนี้

 

  • หลักสูตร CFO Focus on Financial Reporting ซึ่งจัดโดยสภาวิชาชีพบัญชี
  • หลักสูตร Strategic CFO in Capital Markets สำหรับ Module: CFO and Financial Information Management ซึ่งจัดโดยศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • หลักสูตร Strategic Financial Leadership Beyond Accounting: Strategies to improve performance and financial management for sustainable success ซึ่งจัดโดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
  • หลักสูตร CFO’s Orientation Course for New IPOs ซึ่งจัดโดย TSI

 

 

  14) บริษัทอยู่ระหว่างสรรหา CFO เพื่อเข้าดำรงตำแหน่งในปี 2562 โดยบุคคลที่อยู่ระหว่างสรรหาได้ผ่านการอบรม Orientation แล้วในปี 2560 เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งต้องอบรม Orientation อีกหรือไม่

  หากบุคคลดังกล่าวอบรมหลักสูตร Orientation ของ CFO แล้วในปี 2560 และได้ผ่านการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงในปี 2561 ไม่ต้องอบรม Orientation ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งอีก

 

  อย่างไรก็ดี ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อบรม Refresh ในปีต่อๆมา หลังจากอบรม Orientation บุคคลดังกล่าวต้องเข้าอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อปีก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง

 

 

  15) หลักสูตร Orientation สามารถจัดภายในองค์กรของบริษัทจดทะเบียน (In-house Training) ได้หรือไม่

 ไม่ได้ เนื่องจากต้องเป็นหลักสูตรที่สำนักงาน ก.ล.ต. เผยแพร่ไว้ (รายละเอียดตาม Q13) โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทำหน้าที่ของ CFO ที่เกี่ยวข้องกับงบการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน หลักการและผลกระทบของมาตรฐานการบัญชีต่องบการเงิน ซึ่งจัดอบรมโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน ปัจจุบันมีหน่วยงานที่จัดคือ สภาวิชาชีพบัญชี TSI และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นต้น

 

 

 

การอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี (Refresh)

 
 

  16) บุคคลที่ดำรงตำแหน่งเป็น CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ในปัจจุบัน ต้องอบรม Refresh ให้ครบ 6 ชั่วโมง หรือไม่

 บุคคลที่ดำรงตำแหน่งเป็น CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ในปัจจุบัน ต้องเข้ารับการอบรมให้ครบ 6 ชั่วโมงต่อปี

 

 

  17) การอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีมีรูปแบบใดบ้าง

 การอบรมที่จัดโดยหน่วยงานใด ๆ ที่สามารถนับเป็นชั่วโมงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพด้านบัญชีตามที่สภาวิชาชีพบัญชีกำหนด (ชั่วโมง CPD ที่เป็นทางการสำหรับผู้ทำบัญชีหรือผู้สอบบัญชีด้านบัญชี) หรือจัดโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตลาดทุน เช่น TSI ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นต้น

 

 การจัด In-house Training หรือหลักสูตรอื่นใด ต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบว่าเนื้อหาและจำนวนชั่วโมงการอบรมของหลักสูตรมีความสอดคล้องและเป็นประโยชน์กับบริษัทและเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการและผลกระทบของมาตรฐานการบัญชีที่สอดคล้องกับลักษณะธุรกิจ หรือ คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการจัดทำงบการเงินของบริษัท

 

 

  18) การจัด In-house Training ที่มี CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี เป็นวิทยากร สามารถนับเป็นชั่วโมงของการอบรม Refresh ได้หรือไม่

 CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ที่เป็นวิทยากรในหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีให้นับเป็นชั่วโมงของการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีได้

 

 

  19) การอบรมหลักสูตรพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีจำเป็นต้องเป็นหลักสูตรที่นับเป็นชั่วโมง CPD หรือไม่

  ไม่จำเป็น

 

 

  20) สภาวิชาชีพบัญชีฯ มีโครงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องโดยการศึกษาด้วยตนเอง (Self-study CPD) ซึ่งใช้การสอบแทนการอบรมโดยนับเป็น 20 ชั่วโมง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี จะใช้การสอบดังกล่าวเป็นการอบรม Orientation/อบรม Refresh ได้หรือไม่

 สามารถนับเป็นเป็นชั่วโมงของการอบรมเฉพาะเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี (Refresh) ได้

 

 

 

อื่นๆ

 
 

  21) CFO เป็นชาวต่างชาติ จะหาหลักสูตร Orientation และ Refresh ภาษาอังกฤษจากที่ใด

 CFO ชาวต่างชาติสามารถเข้าเรียนในหลักสูตรที่เป็นภาษาอังกฤษ หรือในหลักสูตรที่เป็นภาษาไทยโดยอาจใช้วิธีจัดหาล่ามผู้แปลภาษาที่มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับบัญชีและการเงิน มาช่วยแปลและทำความเข้าใจเนื้อหาดังกล่าวให้กับ CFO ชาวต่างชาติได้ 

ทั้งนี้ TSI ได้จัดหลักสูตรภาษาอังกฤษ ดังนี้

 

  • หลักสูตร Orientation        : E-Learning CFO Orientation (English Version)
  • หลักสูตร Refresh            : E-Learning CFO Refresher Course (English Version)

 

ติดตามความคืบหน้าได้ที่ www.set.or.th/cfo

 

 

  22) บริษัทจะต้องเปิดเผยประวัติการอบรมของ CFO และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี อย่างไร

 บริษัทต้องเปิดเผยประวัติการเข้าอบรมหลักสูตร Orientation และ Refresh ของ CFO และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนด ดังนี้ 

 

หลักสูตร

CFO

ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี 2

Orientation

/

X

Refresh 1

/

/

 

1 ในกรณีที่เป็นหลักสูตรที่จัดอบรมเป็นการภายใน (in-house training) หรือหลักสูตรอื่นใด ให้ระบุความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบว่า หลักสูตรมีความสอดคล้องและเป็นประโยชน์ต่อบริษัทและจำนวนชั่วโมงอบรมของหลักสูตรดังกล่าวเป็นไปตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดหรือไม่ อย่างไร และให้เปิดเผยจำนวนชั่วโมงที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับด้านบัญชีเพิ่มเติมด้วย
2 ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ให้เปิดเผยว่าเป็นผู้ทำบัญชีที่มีคุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าด้วย

 

 

  23) หาก CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีของบริษัทจดทะเบียนมีการอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชีไม่ครบ 6 ชั่วโมงต่อปี จะมีประเด็นหรือผลกระทบอย่างไร และต้องเปิดเผยข้อมูลอย่างไร

 บริษัทจดทะเบียนมีหน้าที่เปิดเผยข้อมูลคุณสมบัติของผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (“CFO”) และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบโดยตรงในการควบคุมดูแลการทำบัญชี (“ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี”) ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (56-1) ดังนั้น หาก CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีไม่ได้อบรมตามเกณฑ์ที่กำหนด ต้องมีการเปิดเผยถึงเหตุผลความจำเป็นและแนวทางแก้ไขพร้อมกรอบเวลาเพื่อให้ผู้ถือหุ้นหรือผู้ลงทุนได้รับทราบข้อมูลว่า CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีควรพัฒนาความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานทางบัญชีอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อความน่าเชื่อถือและคุณภาพของรายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียน นอกจากนี้ การที่บริษัทจดทะเบียนมี CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ถือว่าบริษัทจดทะเบียนไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ดำรงสถานะ ซึ่งตลาดหลักทรัพย์ฯ อาจมีการตักเตือนหรือเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ลงทุนทราบผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์ฯ ต่อไป

 

 

 

 

 

 

[Update] คุณสมบัติผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี | แจ้งชั่วโมงอบรมผู้ทําบัญชี 2560 – NATAVIGUIDES

กลับสู่หน้าแรก Simplified Regulations

ดาวน์โหลด

 

ถาม-ตอบ

 

 

คุณสมบัติ

 
 

  1) ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเป็น CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในปัจจุบันจะต้องดำเนินการอย่างไร

 บุคคลที่ดำรงตำแหน่ง “CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี” ได้รับยกเว้นคุณสมบัติเรื่องการศึกษาและประสบการณ์ เนื่องจากเป็นผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่แล้วถือว่ามีคุณสมบัติและประสบการณ์เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยต้องอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชีให้ครบ 6 ชั่วโมงต่อปี ตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นไป
         

 สรุปคุณสมบัติของบุคคลที่ดำรงตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนปัจจุบัน ดังนี้

CFO: อบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี

ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี:

  • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
  • อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี

 

 

  2) หากบริษัทจดทะเบียนมีการเปลี่ยนแปลง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี จะต้องดำเนินการอย่างไร

 บริษัทพิจารณาว่าบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งนั้นมีคุณสมบัติอย่างไร โดยแบ่งได้เป็น 2 กรณีดังนี้

 

  1. คุณสมบัติของบุคคลที่เคยดำรงตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในบริษัทจดทะเบียนมาก่อน และ พ้นจากตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีของบริษัทจดทะเบียนไม่เกิน 1 ปี ดังนี้
    • CFO: อบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี
    • ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี:
      • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
      • อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี
  2. คุณสมบัติของบุคคลที่ไม่เคยดำรงตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในบริษัทจดทะเบียน หรือ เคยดำรงตำแหน่ง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในบริษัทจดทะเบียนแต่พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วเกิน 1 ปี ดังนี้
    • CFO:  
      • จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไปหรือเทียบเท่า
      • ประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงิน 3 ปีใน 5 ปีล่าสุด หรือ ด้านใด ๆ ที่เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินกิจการ 5 ปีใน 7 ปีล่าสุด
      • อบรมหลักสูตร Orientation 12 ชั่วโมงและอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี 6 ชั่วโมง
    • ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี:
      • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
      • มีประสบการณ์ด้านบัญชี 3 ปีใน 5 ปีล่าสุด
      • อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงต่อปี

            ทั้งนี้ ให้บริษัทแจ้งรายชื่อ CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ที่ได้รับการแต่งตั้ง เพื่อให้ผู้ลงทุนทราบผ่านระบบ SETLink ภายในวัน 3 วันทำการนับจากวันแต่งตั้ง

 

 

  3) บริษัทจดทะเบียนสามารถแต่งตั้งเลขานุการบริษัท ซึ่งจบด้านบัญชีเป็น CFO ได้หรือไม่

  ได้ โดยพิจารณาคุณสมบัติตามคำตอบของ Q2 ประกอบ

 

 

  4) CFO ของบริษัทจดทะเบียนลาออกไปเป็น CFO ของบริษัทย่อยที่ต่างประเทศเป็นเวลา 3 ปี จะกลับมารับตำแหน่ง CFO ของบริษัทจดทะเบียนอีกครั้งในปี 2562 CFO จำเป็นต้อง orientation หรือไม่

  เนื่องจากบุคคลดังกล่าวเป็น CFO ในบริษัทย่อยซึ่งมิใช่บริษัทจดทะเบียน กล่าวคือ พ้นจาก CFO ในบริษัทจดทะเบียนซึ่งเกินกว่า 1 ปี CFO จึงต้องมีคุณสมบัติทุกข้อก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง ทั้งด้านการศึกษา ประสบการณ์ และการอบรม จึงต้อง Orientation ไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง

 

 

  5) CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ดำรงตำแหน่งในหลายบริษัทจดทะเบียนได้หรือไม่

  CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ควรดำรงตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนเพียงแห่งเดียว เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มที่

 

 

  6) CFO ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชีตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้หรือไม่ เพื่อให้สามารถทำหน้าที่เป็นทั้ง CFO และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี

  ได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทจดทะเบียนควรมี CFO และผู้ควบคุมดูแลบัญชี เป็นคนละบุคคลกัน เนื่องจากตำแหน่งดังกล่าวมีความรับผิดชอบที่แตกต่างกัน เพื่อให้สามารถตรวจสอบและถ่วงดุลกันได้

 

 

  7) กรณีที่บริษัทจดทะเบียนไม่มีตำแหน่งที่เรียกว่า CFO แต่มี Senior Accounting Director และ Finance Director รายงานตรงต่อ CEO บริษัทจะกำหนดให้ใครดำรงตำแหน่ง CFO

  ในกรณีเช่นนี้ บริษัทอาจพิจารณาระบุบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในการจัดทำรายงานทาง การเงินเป็น CFO

 

 

  8) CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี เป็นชาวต่างชาติได้หรือไม่

 CFO เป็นชาวต่างชาติได้
 ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี : กรณีบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจะต้องมีผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีเป็นผู้ทำบัญชีที่มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

 

 

  9) ประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงินของ CFO หมายถึงประสบการณ์ด้านใดบ้าง

 ประสบการณ์ด้านบัญชี เช่น ประสบการณ์ด้านการทำบัญชี หรือตรวจสอบบัญชี

 ประสบการณ์ด้านการเงิน เช่น ที่ปรึกษาการเงิน, นักวิเคราะห์หุ้น, งานธนาคาร หรือผู้จัดการกองทุน

 ประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงินจะมาจากการเป็นพนักงานในบริษัทใดก็ได้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นพนักงานของบริษัทจดทะเบียน

 

 

  10) หากบุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น CFO ไม่มีประสบการณ์ด้านบัญชี/การเงิน จะดำเนินการอย่างไร

  บุคคลดังกล่าวต้องมีประสบการณ์ด้านใดๆ ที่เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินกิจการของบริษัทไม่น้อยกว่า 5 ปีในช่วง 7 ปีล่าสุด โดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทเห็นว่าเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการดำเนินกิจการของบริษัท

 

 

  11) บริษัทจดทะเบียนต้องแก้ไขกฎบัตรของกรรมการตรวจสอบให้มีหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของ CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีหรือไม่

 ตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ได้กำหนดให้บริษัทแก้ไขกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบให้มีหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของ CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง คุณสมบัติและขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2558

 

 

 

การอบรม Orientation

 
 

  12) CFO ของบริษัทจดทะเบียนต้องอบรมหลักสูตรการเตรียมความพร้อมทางบัญชีและการเงิน (Orientation) หรือไม่

 บริษัทจดทะเบียนจะมีการเปลี่ยนแปลง CFO เป็นบุคคลที่ไม่เคยดำรงตำแหน่งเป็น CFO ในบริษัทจดทะเบียนมาก่อน หรือ พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวมาเกิน 1 ปี จะต้องอบรมหลักสูตร Orientation ก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง

 

 ตัวอย่างเช่น คุณสมชาย ลาออกจาก CFO ของบริษัทจดทะเบียน YY ในเดือน ก.ค 2560 และจะเข้าดำรงตำแหน่ง CFO ของบริษัทจดทะเบียน ZZ ในเดือน ม.ค 2562 ถือว่าพ้นจากตำแหน่งเกิน 1 ปี จะต้องอบรมหลักสูตร Orientation ก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง

 

 กรณีที่ คุณสมชาย ดำรงตำแหน่ง CFO โดยที่ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม Orientation จะส่งผลให้บริษัทจดทะเบียน ZZ ขาดคุณสมบัติการดำรงสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนในส่วนที่เกี่ยวกับ CFO โดยบริษัทจดทะเบียน ZZ จะต้องอธิบายสาเหตุ และแนวทางแก้ไข   ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (56-1)

 

 

  13) หลักสูตร Orientation มีจัดอบรมที่ใดบ้าง

 หลักสูตร Orientation จะมีประกาศรายละเอียดใน web site สำนักงาน ก.ล.ต ซึ่งเผยแพร่ที่
   www.sec.or.th/TH/Pages/LawandRegulations/AuditorFollow.aspx#B ดังนี้

 

  • หลักสูตร CFO Focus on Financial Reporting ซึ่งจัดโดยสภาวิชาชีพบัญชี
  • หลักสูตร Strategic CFO in Capital Markets สำหรับ Module: CFO and Financial Information Management ซึ่งจัดโดยศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • หลักสูตร Strategic Financial Leadership Beyond Accounting: Strategies to improve performance and financial management for sustainable success ซึ่งจัดโดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
  • หลักสูตร CFO’s Orientation Course for New IPOs ซึ่งจัดโดย TSI

 

 

  14) บริษัทอยู่ระหว่างสรรหา CFO เพื่อเข้าดำรงตำแหน่งในปี 2562 โดยบุคคลที่อยู่ระหว่างสรรหาได้ผ่านการอบรม Orientation แล้วในปี 2560 เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งต้องอบรม Orientation อีกหรือไม่

  หากบุคคลดังกล่าวอบรมหลักสูตร Orientation ของ CFO แล้วในปี 2560 และได้ผ่านการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี 6 ชั่วโมงในปี 2561 ไม่ต้องอบรม Orientation ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งอีก

 

  อย่างไรก็ดี ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อบรม Refresh ในปีต่อๆมา หลังจากอบรม Orientation บุคคลดังกล่าวต้องเข้าอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อปีก่อนเข้าดำรงตำแหน่ง

 

 

  15) หลักสูตร Orientation สามารถจัดภายในองค์กรของบริษัทจดทะเบียน (In-house Training) ได้หรือไม่

 ไม่ได้ เนื่องจากต้องเป็นหลักสูตรที่สำนักงาน ก.ล.ต. เผยแพร่ไว้ (รายละเอียดตาม Q13) โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทำหน้าที่ของ CFO ที่เกี่ยวข้องกับงบการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน หลักการและผลกระทบของมาตรฐานการบัญชีต่องบการเงิน ซึ่งจัดอบรมโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน ปัจจุบันมีหน่วยงานที่จัดคือ สภาวิชาชีพบัญชี TSI และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นต้น

 

 

 

การอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี (Refresh)

 
 

  16) บุคคลที่ดำรงตำแหน่งเป็น CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ในปัจจุบัน ต้องอบรม Refresh ให้ครบ 6 ชั่วโมง หรือไม่

 บุคคลที่ดำรงตำแหน่งเป็น CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ในปัจจุบัน ต้องเข้ารับการอบรมให้ครบ 6 ชั่วโมงต่อปี

 

 

  17) การอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีมีรูปแบบใดบ้าง

 การอบรมที่จัดโดยหน่วยงานใด ๆ ที่สามารถนับเป็นชั่วโมงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพด้านบัญชีตามที่สภาวิชาชีพบัญชีกำหนด (ชั่วโมง CPD ที่เป็นทางการสำหรับผู้ทำบัญชีหรือผู้สอบบัญชีด้านบัญชี) หรือจัดโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตลาดทุน เช่น TSI ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นต้น

 

 การจัด In-house Training หรือหลักสูตรอื่นใด ต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบว่าเนื้อหาและจำนวนชั่วโมงการอบรมของหลักสูตรมีความสอดคล้องและเป็นประโยชน์กับบริษัทและเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการและผลกระทบของมาตรฐานการบัญชีที่สอดคล้องกับลักษณะธุรกิจ หรือ คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการจัดทำงบการเงินของบริษัท

 

 

  18) การจัด In-house Training ที่มี CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี เป็นวิทยากร สามารถนับเป็นชั่วโมงของการอบรม Refresh ได้หรือไม่

 CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ที่เป็นวิทยากรในหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีให้นับเป็นชั่วโมงของการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีได้

 

 

  19) การอบรมหลักสูตรพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชีจำเป็นต้องเป็นหลักสูตรที่นับเป็นชั่วโมง CPD หรือไม่

  ไม่จำเป็น

 

 

  20) สภาวิชาชีพบัญชีฯ มีโครงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องโดยการศึกษาด้วยตนเอง (Self-study CPD) ซึ่งใช้การสอบแทนการอบรมโดยนับเป็น 20 ชั่วโมง CFO/ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี จะใช้การสอบดังกล่าวเป็นการอบรม Orientation/อบรม Refresh ได้หรือไม่

 สามารถนับเป็นเป็นชั่วโมงของการอบรมเฉพาะเพื่อพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางด้านบัญชี (Refresh) ได้

 

 

 

อื่นๆ

 
 

  21) CFO เป็นชาวต่างชาติ จะหาหลักสูตร Orientation และ Refresh ภาษาอังกฤษจากที่ใด

 CFO ชาวต่างชาติสามารถเข้าเรียนในหลักสูตรที่เป็นภาษาอังกฤษ หรือในหลักสูตรที่เป็นภาษาไทยโดยอาจใช้วิธีจัดหาล่ามผู้แปลภาษาที่มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับบัญชีและการเงิน มาช่วยแปลและทำความเข้าใจเนื้อหาดังกล่าวให้กับ CFO ชาวต่างชาติได้ 

ทั้งนี้ TSI ได้จัดหลักสูตรภาษาอังกฤษ ดังนี้

 

  • หลักสูตร Orientation        : E-Learning CFO Orientation (English Version)
  • หลักสูตร Refresh            : E-Learning CFO Refresher Course (English Version)

 

ติดตามความคืบหน้าได้ที่ www.set.or.th/cfo

 

 

  22) บริษัทจะต้องเปิดเผยประวัติการอบรมของ CFO และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี อย่างไร

 บริษัทต้องเปิดเผยประวัติการเข้าอบรมหลักสูตร Orientation และ Refresh ของ CFO และผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนด ดังนี้ 

 

หลักสูตร

CFO

ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี 2

Orientation

/

X

Refresh 1

/

/

 

1 ในกรณีที่เป็นหลักสูตรที่จัดอบรมเป็นการภายใน (in-house training) หรือหลักสูตรอื่นใด ให้ระบุความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบว่า หลักสูตรมีความสอดคล้องและเป็นประโยชน์ต่อบริษัทและจำนวนชั่วโมงอบรมของหลักสูตรดังกล่าวเป็นไปตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดหรือไม่ อย่างไร และให้เปิดเผยจำนวนชั่วโมงที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับด้านบัญชีเพิ่มเติมด้วย
2 ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี ให้เปิดเผยว่าเป็นผู้ทำบัญชีที่มีคุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าด้วย

 

 

  23) หาก CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีของบริษัทจดทะเบียนมีการอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชีไม่ครบ 6 ชั่วโมงต่อปี จะมีประเด็นหรือผลกระทบอย่างไร และต้องเปิดเผยข้อมูลอย่างไร

 บริษัทจดทะเบียนมีหน้าที่เปิดเผยข้อมูลคุณสมบัติของผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (“CFO”) และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบโดยตรงในการควบคุมดูแลการทำบัญชี (“ผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชี”) ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (56-1) ดังนั้น หาก CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีไม่ได้อบรมตามเกณฑ์ที่กำหนด ต้องมีการเปิดเผยถึงเหตุผลความจำเป็นและแนวทางแก้ไขพร้อมกรอบเวลาเพื่อให้ผู้ถือหุ้นหรือผู้ลงทุนได้รับทราบข้อมูลว่า CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีควรพัฒนาความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานทางบัญชีอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อความน่าเชื่อถือและคุณภาพของรายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียน นอกจากนี้ การที่บริษัทจดทะเบียนมี CFO หรือผู้ควบคุมดูแลการทำบัญชีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ถือว่าบริษัทจดทะเบียนไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ดำรงสถานะ ซึ่งตลาดหลักทรัพย์ฯ อาจมีการตักเตือนหรือเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ลงทุนทราบผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์ฯ ต่อไป

 

 

 

 

 

 


E-Learning : การตรวจสอบบัญชีอย่างมืออาชีพ ตอน งบการเงินเปรียบเทียบและตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชี


ผู้สอบบัญชีอบรมเก็บชั่วโมง CPD ปี 2563
แบบศึกษาด้วยตัวเอง 50 ชั่วโมง โดยไม่ต้องสอบ
ดูประกาศจากสภาวิชาชีพบัญชี http://www.tfac.or.th/Article/Detail/122945
สั่งซื้อได้ที่ http://www.thaicpdonline.com
หรือติดต่อสอบถามเพิ่มเติมที่
คุณคิว 028184533 ต่อ 11 หรือ 0867772361​
ID LINE : thaicpd หรือ http://line.me/ti/p/~thaicpd
Email: [email protected]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

E-Learning : การตรวจสอบบัญชีอย่างมืออาชีพ ตอน งบการเงินเปรียบเทียบและตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชี

Code of Ethics | จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับย่อภายใน 3 นาที


สภาวิชาชีพบัญชีได้จัดทำคลิปวิดีโอ “จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี” เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจเรื่อง จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี โดยได้กำหนดมาตรการป้องกัน และข้อยุติเกี่ยวกับความขัดแย้งทางจรรยาบรรณหากเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ต้องปฏิบัติงานโดยอ้างอิงจากกฎหมาย ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และนโยบายขององค์กร
จึงขอเชิญชวนให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีทุกท่านร่วมส่งต่อ เพื่อเป็นการแชร์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีทุกท่านเล็งเห็นความสำคัญต่อการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ
หากมีคำถามหรือข้อสงสัย สามารถติดต่อ คณะอนุกรรมการกำหนดจรรยาบรรณ สภาวิชาชีพบัญชี www.tfac.or.th

Code of Ethics | จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับย่อภายใน 3 นาที

เก็บชั่วโมง CPD ของผู้ทำบัญชีและ CPA แบบไม่เป็นทางการได้อย่างไร 2564/ อ.แก้วใส


สภาวิชาชีพบัญชีมีมาตรการช่วยเหลือปี 2564 โดยอนุโลมให้ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีเก็บชม. CPD แบบไม่เป็นทางการได้ อ.แก้วใส รศ.ดร.ดลกณิศ เต็งอำนวย เคลียร์ชัด เราจะเก็บชม.CPD ทางใดได้บ้าง มีหลักเกณฑ์เงื่อนไขอย่างไร CPD
Line @makeaccounteasy FB @makeaccounteasy
ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชี CPA เก็บชม.CPD สภาวิชาชีพบัญชี

เก็บชั่วโมง CPD ของผู้ทำบัญชีและ CPA แบบไม่เป็นทางการได้อย่างไร 2564/ อ.แก้วใส

การใช้ชั่วโมงอบรม พัฒนาตามเกณฑ์ ว21/2560


การใช้ชั่วโมงอบรม พัฒนาตามเกณฑ์ ว21/2560

ติวรัฐธรรมนูญ 2560 #ครึ่งชั่วโมงบรรลุธรรมรัฐธรรมนูญ


ติดตามข้อมูลเพิ่มเติม สนใจติว ติดต่อ สอบถาม Line @ : https://line.me/R/ti/p/%40wmu3923a
ID Line :@masterpm
ติดตามข่าวสาร สรุปข้อมูลความรอบรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน
https://www.facebook.com/knowledgeforexam/

ติวรัฐธรรมนูญ 2560 #ครึ่งชั่วโมงบรรลุธรรมรัฐธรรมนูญ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ แจ้งชั่วโมงอบรมผู้ทําบัญชี 2560

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *