Skip to content
Home » [Update] | การ ตั้ง ราคา ขาย สินค้า – NATAVIGUIDES

[Update] | การ ตั้ง ราคา ขาย สินค้า – NATAVIGUIDES

การ ตั้ง ราคา ขาย สินค้า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Posted by admin on. Updated:

279

SHARES

Facebook

Twitter

หลังจากเราได้ศึกษากันในหัวข้อ สุดยอดกลยุทธ์การตั้งราคาสินค้า จะทราบกันแล้วว่า กลยุทธ์การตั้งราคามีทั้งหมด 14 รูปแบบ และบทความนี้จะมาต่อกันว่า ในแต่ละโมเดลธุรกิจ จะเหมาะสมกับโมเดลการคิดราคาแบบไหนบ้าง

1.Product Pricing Model ธุรกิจสินค้าทั่วไป

จะแตกต่างจากสินค้าดิจิตอลหรือการให้บริการสินค้าที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง (เช่นการขนส่ง, การผลิต และการจัดเก็บ) ซึ่งจะมีผลต่อการตั้งราคา สำหรับการตั้งราคาสำหรับสินค้าทั่วไปนี้จะพิจารณาจากต้นทุน และกำหนดราคาที่ให้ผลกำไรสูงสุด มีการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้ยืนหยัดต่อสู้กับคู่แข่งได้

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ:  cost-plus pricing, competitive pricing, prestige pricing และ value-based pricing

2.Digital Product Pricing Model ธุรกิจสินค้าดิจิตอล

สินค้าดิจิตอล ได้แก่ ซอฟท์แวร์, หลักสูตรออนไลน์ และหนังสือดิจิตอล ซึ่งต้องการความแตกต่างในการกำหนดราคา เนื่องจากไม่มีข้อเสนอที่จับต้องได้หรือต้นทุนการผลิตที่เกี่ยวข้อง โดยราคาที่ตั้งควรที่จะสะท้อนถึงแบรนด์, ธุรกิจและมูลค่าโดยรวมของสินค้าของคุณ

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competition-based pricing, freemium pricing และ value-based pricing

3.Restaurant Pricing Model ธุรกิจร้านอาหาร

การตั้งราคาสำหรับร้านอาหารจะแตกต่างจากธุรกิจอื่น เนื่องด้วยจะมีต้นทุนทางกายภาพ, ค่าโสหุ้ยหรือค่าใช้จ่ายจิปาถะ และค่าบริการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด คุณจำเป็นต้องพิจาณาฐานลูกค้า, แนวโน้มการตลาดโดยรวมละแวกใกล้คุณ รวมทั้งต้นทุนอาหารทั้งหมดด้วย

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: cost-plus pricing, premium pricing และ value-based pricing

4.Event Pricing Model ธุรกิจอีเวนต์หรือธุรกิจรับจัดงาน

ธุรกิจอีเวนต์ไม่สามารถกำหนดราคาด้วยต้นทุนการผลิตได้ แต่จะอาศัยค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการทำการตลาดและการส่งเสริมการขาย ได้แก่ พิธีกร, เครือข่ายเพื่อความบันเทิง และประสบการณ์ในการจัดงานต่างๆ สิ่งเหล่านี้จะนำมาใช้เพื่อตั้งราคาขายตั๋วที่ใช้ร่วมงานนั่นเอง

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competition-based pricing, dynamic pricing และ value-based pricing

5.Services Pricing Model ธุรกิจการให้บริการ

การตั้งราคาสำหรับธุรกิจการให้บริการเป็นเรื่องยาก เนื่องจากไม่มีต้นทุนการผลิต แต่มูลค่าจะมาจากความสามารถของผู้ให้บริการเอง เช่น อาชีพฟรีแลนซ์ และผู้รับเหมาต่างๆ

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: hourly pricing, project-based pricing และ value-based pricing

6.Nonprofit Pricing model ธุรกิจที่ไม่แสวงหาผลกำไร

องค์กรที่ไม่แสวงหากำไรก็ต้องใช้กลยุทธ์การตั้งราคาด้วยเช่นกัน เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้พวกเขาประสบความสำเร็จในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยจะพิจารณาจากการใช้จ่ายในปัจจุบัน, จุดคุ้มทุน, กำไรในอุดมคติและวิธีการที่กลยุทธ์จะสื่อสารกับคนในองค์กร กลยุทธ์การตั้งราคามีเอกสักษณ์เฉพาะ เพราะมักจะใช้หลายกลยุทธ์รวมกันนั่นเอง

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-plus pricing, demand pricing และ hourly pricing

7.Educationa Pricing Model ธุรกิจการศึกษา

ธุรกิจการศึกษาจะครอบคลุมค่าใช้จ่ายสำคัญหลากหลายที่ต้องนำมาพิจารณา โดยขึ้นอยู่กับระดับการศึกษาการศึกษาเอกชนหรือรัฐบาล และโปรแกรมการศึกษาหรือสาขาวิชา ค่าใช้จ่ายเฉพาะที่ต้องพิจารณาในกลยุทธ์การกำหนดราคาด้านการศึกษา ได้แก่ ค่าเล่าเรียน, ทุนการศึกษา, ค่าธรรมเนียมเพิ่มเติม (ห้องปฏิบัติการ, หนังสือ, ที่พักอาศัย, อาหาร ฯลฯ ) ปัจจัยสำคัญอื่นๆที่ควรนำมาใช้ในการประกอบการพิจารณาร่วมด้วย คือการแข่งขันระหว่างสถานศึกษาที่คล้ายกัน, ความต้องการ (จำนวนใบสมัครนักเรียน) จำนวนและค่าใช้จ่ายของอาจารย์ ครูและอัตราการเข้าเรียน

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-based pricing และ premium pricing

8.Real Estate Pricing Model ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จะครอบคลุมถึงการประเมินมูลค่าบ้าน, การแข่งขันในตลาด, ความต้องการที่อยู่อาศัย และค่าครองชีพ รวมทั้งปัจจัยอื่นที่มีบทบาท ได้แก่ การประมูลซื้อ-ขาย, การขายผ่านตัวแทนอสังหาริมทรัพย์ และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, dynamic pricing, premium pricing และ value-based pricing

9.Agency Pricing Model ธุรกิจเอเจนซี่

การตั้งราคาของธุรกิจเอเจนซี่จะส่งผลกระทบต่อผลกำไร, ความสุขของลูกค้า และการตลาด ควรปรับให้เหมาะสมเพื่อให้คุณสามารถกำหนดราคาที่ดีที่สุดในการเพิ่มผลกำไรของธุรกิจของคุณ

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: hourly pricing, project-based pricing และ value-based pricing

10.Manufacturing Pricing Model ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต

อุตสาหกรรมการผลิตมีความซับซ้อน ด้วยจำนวนชิ้นส่วนจำนวนมากและการตั้งราคาไม่แตกต่างกัน โดยจะพิจารณาจากวิวัฒนาการของผลิตภัณฑ์, ความต้องการ, ต้นทุนการผลิต, ราคาขาย, ปริมาณการขายต่อหน่วยและต้นทุนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง อีกส่วนสำคัญในกลยุทธ์การตั้งราคาสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตคือ การทำความเข้าใจกับจำนวนเงินสูงสุดที่ตลาดจะจ่ายให้กับผลิตภัณฑ์เฉพาะของคุณเพื่อให้ได้ผลกำไรมากที่สุด

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-plus pricing และ value-based pricing

Ecommerce Pricing Model ธุรกิจ Ecommerce

การตั้งราคาธุรกิจ Ecommerce คือ การกำหนดราคาขายสินค้าผ่านสื่อออนไลน์ หมายความว่า คุณต้องคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ลูกค้าของคุณยินดีจ่ายสำหรับสินค้าออนไลน์ของคุณ และสินค้าใดที่คุณต้องซื้อหรือสร้างเพิ่ม อาจคำนึงถึงแคมเปญ เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์เหล่านี้ รวมถึงความง่ายในการค้นหาผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับของคุณในสื่อของคู่แข่งร่วมด้วย

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-based pricing, dynamic pricing, freemium pricing, penetration pricing และ value-based pricing

ตัวอย่างธุรกิจกับการตั้งราคา

Chicago Cubs

1.Chicago Cubs

Chicago Cubs คือตัวอย่างของการใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบยืดหยุ่น หรือ Dynamic Pricing  โดยจะกำหนดราคาที่แตกต่างกันไปตามความต้องการของตลาดและลูกค้า ราคาสำหรับเกม Cubs มักจะมีราคาแพงกว่าในช่วงวันหยุด เมื่อผู้คนจำนวนมากกำลังเยี่ยมชมเมืองและมีแนวโน้มที่จะไปเล่นเกม

HubSpot

2.HubSpot

HubSpot เป็นตัวอย่างของการใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบ freemium pricing (ให้ก่อนรับทีหลัง)โดย HubSpot จะให้บริการ CRM ฟรี (ตลอดไป) แต่คิดค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงเครื่องมือการตลาดการขายและบริการอื่นๆแทน นอกจากนี้ HubSpot ยังให้การเข้าถึงคุณลักษณะเฉพาะอย่างจำกัด กลยุทธ์การกำหนดราคาประเภทนี้ ช่วยให้ลูกค้ารู้จักกับ HubSpot และเป็นการสร้างความไว้วางใจกับลูกค้าก่อนที่จะขอให้พวกเขาจ่ายเงินสำหรับการเข้าถึงเพิ่มเติมนั่นเอง

Netflix

3.Netflix

Netflix เป็นตัวอย่างคลาสสิกของการใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบ penetration pricing โดยจะตั้งราคาต่ำในช่วงเปิดตัว (ทุกคนจำได้เมื่อมันคือ $ 7.99) และเพิ่มราคาเมื่อเวลาผ่านไป แม้ราคาจะเพิ่มขึ้น แต่ Netflix ยังคงรักษาและรับลูกค้าอยู่เสมอ แน่นอนว่า Netflix จะเพิ่มค่าธรรมเนียมการสมัครสมาชิกเพียง $1 หรือ $2 ในแต่ละครั้ง แต่พวกเขาทำอย่างสม่ำเสมอ ใครจะรู้ว่าค่าธรรมเนียมจะเป็นอย่างไรใน 5 หรือ 10 ปี?

AWAY

4.AWAY

มีตัวอย่างสินค้ามากมายที่นำกลยุทธ์การตั้งราคาแบบ premium pricing มาใช้ ได้แก่ Rolex, Tesla, Nike และกระเป๋าเดินทาง AWAY กระเป๋าเดินทางจำเป็นต้องมีมูลค่าเกือบ $500 หรือไม่? แต่อย่างไรก็ตาม AWAY ยังคงประสบความสำเร็จอย่างมาก แม้ว่าพวกเขาจะเรียกเก็บเงินค่ากระเป๋าเดินทางราคาสูง เมื่อคุณซื้อ AWAY เปรียบเสมือนคุณได้ซื้อประสบการณ์ ด้วยเอกลักษณ์และภาพลักษณ์ของแบรนด์ AWAY ที่มีต่อลูกค้า ทำให้มูลค่าของกระเป๋าเดินทางเหมาะสมกับราคาที่ลูกค้าต้องจ่ายไปนั่นเอง

Shopify

5.Shopify

Shopify เป็นแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซที่ช่วยในการจัดการร้านค้าและขายผลิตภัณฑ์ออนไลน์ ซึ่ง Shopify จะทำงานคล้ายกับ HubSpot จึงใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบ competitive pricing เพื่อแข่งขันนั่นเอง

มีตัวเลือกซอฟต์แวร์อีคอมเมิร์ซจำนวนมากในตลาดทุกวันนี้ แต่ Shopify สร้างความแตกต่างด้วยคุณสมบัติที่พวกเขาเสนอ พวกเขามีผลิตภัณฑ์ 3 รุ่น 3 ราคาที่คิดอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้ลูกค้าได้มีตัวเลือกเพิ่มขึ้นและด้วยตัวเลือกที่หลากหลายในปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายของ Shopify จึงมีการแข่งขันสูงและมักจะเหมือนหรือต่ำกว่าแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซอื่นๆในตลาดปัจจุบันอีกด้วย

การนำกลยุทธ์การตั้งราคามาใช้กับธุรกิจของคุณ แน่นอนว่าคุณไม่สามารถกำหนดราคาได้ทันที เนื่องจากมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นคู่แข่ง, ต้นทุนการผลิต, ความต้องการของลูกค้า, ความต้องการของตลาด,ผลกำไร เป็นต้น ดังนั้นการศึกษา วิจัย และนำมาทดลองใช้ และปรับให้เหมาะสมกับธุรกิจของคุณจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด

 Resource:  https://blog.hubspot.com/sales/pricing-strategy

รูปแบบการตั้งราคาสินค้า

1.Competition-Based Pricing การตั้งราคาเพื่อแข่งขัน เป็นการตั้งราคาเพื่อให้เกิดการเปรียบเทียบกับคู่แข่งที่ขายสินค้าประเภทเดียวกันเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด ได้แก่ การตั้งราคาแพงกว่า การตั้งราคาถูกกว่า และการตั้งราคาเท่ากัน (แต่คุณภาพเราดีกว่าเล็กน้อย)

2.Cost-Plus Pricing การตั้งราคาบวกจากต้นทุน เป็นการตั้งราคาที่นิยมใช้ โดยการบวกกำไรที่คิดไว้เข้าไปเป็นราคาสินค้า เหมาะกับสินค้าที่สามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างชัดเจน รู้ต้นทุนที่แน่นอน และเป็นสินค้าที่จับต้องได้

3.Dynamic Pricing การตั้งราคาแบบยืดหยุ่น เป็นการตั้งราคาสินค้าและบริการชนิดเดียวกันหลายราคาแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลาด้วยเหตุผลบางอย่าง เช่น ราคาตั๋วเครื่องบิน, ที่พัก อีเว้นต่างๆ จะเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณความต้องการในการจอง

4.Freemium Pricing การตั้งราคาแบบให้ก่อนรับทีหลัง เป็นการผสมคำระหว่าง “free” และ “premium” ใช้เมื่อต้องการเพิ่มปริมาณลูกค้าใหม่อย่างรวดเร็ว เพราะชอบของฟรีและหากชอบจะเกิดการแนะนำต่อ โดยเฉพาะหากสินค้าและบริการของคุณมีคุณภาพและคุ้มค่า

5.High-Low Pricing การตั้งราคาขายสูงแต่ขายจริงต่ำ เป็นการตั้งราคาที่สูงไว้ก่อนและนำมาจัดโปรโมชั่นลดราคาให้ต่ำภายหลัง ซึ่งจะเพิ่มยอดขายได้มากแค่ในช่วงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเท่านั้น ได้แก่ clearance sales, black Friday, ลดราคาสิ้นปี หรือการลดราคาตามเทศกาล เป็นต้น

6.Hourly Pricing การตั้งราคารายชั่วโมง หรือที่เรียกว่าการตั้งราคาตามเรท นิยมใช้ตั้งราคาสำหรับผู้ประกอบอาชีพที่ปรึกษา, ฟรีแลนซ์ และอาชีพที่ต้องใช้ฝีมือต่างๆ ซึ่งจะคิดราคาต่อชั่วโมงหรือตามแต่ตกลงกัน ลูกค้าส่วนใหญ่มักจะพอใจและเชื่อใจ เพราะจะได้รับผลตอบแทนที่ดีและมีคุณค่าต่อพวกเขาถึงแม้จะต้องแลกด้วยค่าใช้จ่ายที่แพงก็ตาม

7.Skimmimg Pricing การตั้งราคาสูงๆไว้ก่อน เป็นการตั้งราคาสูงๆในตอนเปิดตัวสินค้าและค่อยๆลดลงเรื่อยๆในเวลาต่อมา มักใช้กับสินค้าไฮเทคใหม่ๆ หรือสินค้าที่กำลังเป็นกระแส เพราะลูกค้าส่วนใหญ่จะยินดีจ่ายเพื่อแลกกับการเป็นเจ้าของคนแรกๆ ซึ่งราคาสูงที่ตั้งนั้นต้องมั่นใจว่าเป็นสินค้าคุณภาพยอดเยี่ยม ลูกค้าจะชื่นชอบและภูมิใจเมื่อได้ครอบครอง มิฉะนั้นพวกเขาจะไม่กลับมาซื้ออีก แม้คุณจะลดราคาในภายหลังแล้วก็ตาม เพราะเหมือนถูกหลอกลวงนั่นเอง

8.Penetration Pricing การตั้งราคาเจาะตลาด เป็นการตั้งราคาที่ตรงข้ามกับแบบ Skimming โดยจะตั้งราคาให้ต่ำในช่วงแรกของการเปิดตัวสินค้า เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคยอมรับ มาทดลองซื้อไปใช้ เมื่อสินค้าเป็นที่รู้จักก็กลับมาขายในราคาปกติ เหมาะกับสินค้าที่เพิ่งเข้าสู่ตลาดและใช้ราคาเป็นปัจจัยในการตัดสินใจซื้อ เช่น สินค้าสะดวกซื้อต่างๆ

9.Premium Pricing การตั้งราคาสูง เพื่อภาพลักษณ์ที่พิเศษของสินค้า เหมาะกับสินค้าที่ช่วยยกระดับฐานะ ได้แก่ สินค้าแบรนด์เนม แฟชั่นหรู และสินค้า luxury ต่างๆ

10.Project-Based Pricing หรือการตั้งราคาตามโครงการ ซึ่งจะตรงข้ามกับการกำหนดราคารายชั่วโมง (Hourly Pricing) เป็นการตั้งราคาโดยจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมคงที่ต่อโครงการแทนการแลกเปลี่ยนเงินโดยตรงตามแต่ระยะเวลาที่กำหนด

11.Value-Based Pricing การตั้งราคาแบบประเมินคุณค่า เป็นการตั้งราคาโดยคำนึงถึงความเต็มใจที่จะจ่ายของลูกค้าที่ยอมจ่ายเพื่อแลกกับคุณค่าที่จะได้รับจากสินค้าและบริการ โดยผู้ขายสามารถชาร์จราคาเพิ่มจากความแตกต่างของสินค้าและบริการที่สามาถสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคแบบเหนือกว่าคู่แข่งได้

12.Bundle Pricing การตั้งราคาแบบลดแลกแจกแถม เป็นการนำสินค้าหลายชิ้นมารวมกันแล้วตั้งราคาใหม่ที่ต่ำลง ที่รู้จักดีคือการซื้อ 1แถม1 วิธีการนี้จะช่วยกระตุ้นการตัดสินใจซื้อของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว เหมาะกับสินค้าที่ต้องใช้บ่อยๆ หมดแล้วต้องใช้ทันที เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค

13.Psychological Pricing การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา เป็นการตั้งราคาโดยอาศัยความรู้สึกของผู้ซื้อที่มีต่อราคา ได้แก่ การตั้งราคาที่ลงท้ายด้วยเลข 9 หรือการตั้งราคากับสินค้าราคาแพงที่จำกัดสถานที่ขาย รวมทั้งการลดราคาเมื่อซื้อชิ้นถัดไป หรือฟรีของสมนาคุณ ที่สำคัญตัวช่วยที่สำคัญคือป้ายบอกสินค้าลดราคา ขนาดตัวอักษร สีที่ใช้ การวางสินค้า ล้วนแล้วแต่กระตุ้นการตัดสินใจซื้อของลูกค้าได้ง่ายขึ้น

14.Geographic Pricing การตั้งราคาตามแนวภูมิศาสตร์ เป็นการตั้งราคาโดยการพิจารณาถึงต้นทุนด้านการขนส่งไปยังตลาดตามภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ การตั้งราคาตามเขต หรือการตั้งราคาแบบผู้ขายรับภาระค่าขนส่งเอง เป็นต้น

[Update] | การ ตั้ง ราคา ขาย สินค้า – NATAVIGUIDES

Posted by admin on. Updated:

279

SHARES

Facebook

Twitter

หลังจากเราได้ศึกษากันในหัวข้อ สุดยอดกลยุทธ์การตั้งราคาสินค้า จะทราบกันแล้วว่า กลยุทธ์การตั้งราคามีทั้งหมด 14 รูปแบบ และบทความนี้จะมาต่อกันว่า ในแต่ละโมเดลธุรกิจ จะเหมาะสมกับโมเดลการคิดราคาแบบไหนบ้าง

1.Product Pricing Model ธุรกิจสินค้าทั่วไป

จะแตกต่างจากสินค้าดิจิตอลหรือการให้บริการสินค้าที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง (เช่นการขนส่ง, การผลิต และการจัดเก็บ) ซึ่งจะมีผลต่อการตั้งราคา สำหรับการตั้งราคาสำหรับสินค้าทั่วไปนี้จะพิจารณาจากต้นทุน และกำหนดราคาที่ให้ผลกำไรสูงสุด มีการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้ยืนหยัดต่อสู้กับคู่แข่งได้

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ:  cost-plus pricing, competitive pricing, prestige pricing และ value-based pricing

2.Digital Product Pricing Model ธุรกิจสินค้าดิจิตอล

สินค้าดิจิตอล ได้แก่ ซอฟท์แวร์, หลักสูตรออนไลน์ และหนังสือดิจิตอล ซึ่งต้องการความแตกต่างในการกำหนดราคา เนื่องจากไม่มีข้อเสนอที่จับต้องได้หรือต้นทุนการผลิตที่เกี่ยวข้อง โดยราคาที่ตั้งควรที่จะสะท้อนถึงแบรนด์, ธุรกิจและมูลค่าโดยรวมของสินค้าของคุณ

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competition-based pricing, freemium pricing และ value-based pricing

3.Restaurant Pricing Model ธุรกิจร้านอาหาร

การตั้งราคาสำหรับร้านอาหารจะแตกต่างจากธุรกิจอื่น เนื่องด้วยจะมีต้นทุนทางกายภาพ, ค่าโสหุ้ยหรือค่าใช้จ่ายจิปาถะ และค่าบริการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด คุณจำเป็นต้องพิจาณาฐานลูกค้า, แนวโน้มการตลาดโดยรวมละแวกใกล้คุณ รวมทั้งต้นทุนอาหารทั้งหมดด้วย

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: cost-plus pricing, premium pricing และ value-based pricing

4.Event Pricing Model ธุรกิจอีเวนต์หรือธุรกิจรับจัดงาน

ธุรกิจอีเวนต์ไม่สามารถกำหนดราคาด้วยต้นทุนการผลิตได้ แต่จะอาศัยค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการทำการตลาดและการส่งเสริมการขาย ได้แก่ พิธีกร, เครือข่ายเพื่อความบันเทิง และประสบการณ์ในการจัดงานต่างๆ สิ่งเหล่านี้จะนำมาใช้เพื่อตั้งราคาขายตั๋วที่ใช้ร่วมงานนั่นเอง

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competition-based pricing, dynamic pricing และ value-based pricing

5.Services Pricing Model ธุรกิจการให้บริการ

การตั้งราคาสำหรับธุรกิจการให้บริการเป็นเรื่องยาก เนื่องจากไม่มีต้นทุนการผลิต แต่มูลค่าจะมาจากความสามารถของผู้ให้บริการเอง เช่น อาชีพฟรีแลนซ์ และผู้รับเหมาต่างๆ

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: hourly pricing, project-based pricing และ value-based pricing

6.Nonprofit Pricing model ธุรกิจที่ไม่แสวงหาผลกำไร

องค์กรที่ไม่แสวงหากำไรก็ต้องใช้กลยุทธ์การตั้งราคาด้วยเช่นกัน เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้พวกเขาประสบความสำเร็จในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยจะพิจารณาจากการใช้จ่ายในปัจจุบัน, จุดคุ้มทุน, กำไรในอุดมคติและวิธีการที่กลยุทธ์จะสื่อสารกับคนในองค์กร กลยุทธ์การตั้งราคามีเอกสักษณ์เฉพาะ เพราะมักจะใช้หลายกลยุทธ์รวมกันนั่นเอง

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-plus pricing, demand pricing และ hourly pricing

7.Educationa Pricing Model ธุรกิจการศึกษา

ธุรกิจการศึกษาจะครอบคลุมค่าใช้จ่ายสำคัญหลากหลายที่ต้องนำมาพิจารณา โดยขึ้นอยู่กับระดับการศึกษาการศึกษาเอกชนหรือรัฐบาล และโปรแกรมการศึกษาหรือสาขาวิชา ค่าใช้จ่ายเฉพาะที่ต้องพิจารณาในกลยุทธ์การกำหนดราคาด้านการศึกษา ได้แก่ ค่าเล่าเรียน, ทุนการศึกษา, ค่าธรรมเนียมเพิ่มเติม (ห้องปฏิบัติการ, หนังสือ, ที่พักอาศัย, อาหาร ฯลฯ ) ปัจจัยสำคัญอื่นๆที่ควรนำมาใช้ในการประกอบการพิจารณาร่วมด้วย คือการแข่งขันระหว่างสถานศึกษาที่คล้ายกัน, ความต้องการ (จำนวนใบสมัครนักเรียน) จำนวนและค่าใช้จ่ายของอาจารย์ ครูและอัตราการเข้าเรียน

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-based pricing และ premium pricing

8.Real Estate Pricing Model ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จะครอบคลุมถึงการประเมินมูลค่าบ้าน, การแข่งขันในตลาด, ความต้องการที่อยู่อาศัย และค่าครองชีพ รวมทั้งปัจจัยอื่นที่มีบทบาท ได้แก่ การประมูลซื้อ-ขาย, การขายผ่านตัวแทนอสังหาริมทรัพย์ และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, dynamic pricing, premium pricing และ value-based pricing

9.Agency Pricing Model ธุรกิจเอเจนซี่

การตั้งราคาของธุรกิจเอเจนซี่จะส่งผลกระทบต่อผลกำไร, ความสุขของลูกค้า และการตลาด ควรปรับให้เหมาะสมเพื่อให้คุณสามารถกำหนดราคาที่ดีที่สุดในการเพิ่มผลกำไรของธุรกิจของคุณ

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: hourly pricing, project-based pricing และ value-based pricing

10.Manufacturing Pricing Model ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต

อุตสาหกรรมการผลิตมีความซับซ้อน ด้วยจำนวนชิ้นส่วนจำนวนมากและการตั้งราคาไม่แตกต่างกัน โดยจะพิจารณาจากวิวัฒนาการของผลิตภัณฑ์, ความต้องการ, ต้นทุนการผลิต, ราคาขาย, ปริมาณการขายต่อหน่วยและต้นทุนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง อีกส่วนสำคัญในกลยุทธ์การตั้งราคาสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตคือ การทำความเข้าใจกับจำนวนเงินสูงสุดที่ตลาดจะจ่ายให้กับผลิตภัณฑ์เฉพาะของคุณเพื่อให้ได้ผลกำไรมากที่สุด

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-plus pricing และ value-based pricing

Ecommerce Pricing Model ธุรกิจ Ecommerce

การตั้งราคาธุรกิจ Ecommerce คือ การกำหนดราคาขายสินค้าผ่านสื่อออนไลน์ หมายความว่า คุณต้องคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ลูกค้าของคุณยินดีจ่ายสำหรับสินค้าออนไลน์ของคุณ และสินค้าใดที่คุณต้องซื้อหรือสร้างเพิ่ม อาจคำนึงถึงแคมเปญ เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์เหล่านี้ รวมถึงความง่ายในการค้นหาผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับของคุณในสื่อของคู่แข่งร่วมด้วย

กลยุทธ์การตั้งราคาที่แนะนำ: competitive pricing, cost-based pricing, dynamic pricing, freemium pricing, penetration pricing และ value-based pricing

ตัวอย่างธุรกิจกับการตั้งราคา

Chicago Cubs

1.Chicago Cubs

Chicago Cubs คือตัวอย่างของการใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบยืดหยุ่น หรือ Dynamic Pricing  โดยจะกำหนดราคาที่แตกต่างกันไปตามความต้องการของตลาดและลูกค้า ราคาสำหรับเกม Cubs มักจะมีราคาแพงกว่าในช่วงวันหยุด เมื่อผู้คนจำนวนมากกำลังเยี่ยมชมเมืองและมีแนวโน้มที่จะไปเล่นเกม

HubSpot

2.HubSpot

HubSpot เป็นตัวอย่างของการใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบ freemium pricing (ให้ก่อนรับทีหลัง)โดย HubSpot จะให้บริการ CRM ฟรี (ตลอดไป) แต่คิดค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงเครื่องมือการตลาดการขายและบริการอื่นๆแทน นอกจากนี้ HubSpot ยังให้การเข้าถึงคุณลักษณะเฉพาะอย่างจำกัด กลยุทธ์การกำหนดราคาประเภทนี้ ช่วยให้ลูกค้ารู้จักกับ HubSpot และเป็นการสร้างความไว้วางใจกับลูกค้าก่อนที่จะขอให้พวกเขาจ่ายเงินสำหรับการเข้าถึงเพิ่มเติมนั่นเอง

Netflix

3.Netflix

Netflix เป็นตัวอย่างคลาสสิกของการใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบ penetration pricing โดยจะตั้งราคาต่ำในช่วงเปิดตัว (ทุกคนจำได้เมื่อมันคือ $ 7.99) และเพิ่มราคาเมื่อเวลาผ่านไป แม้ราคาจะเพิ่มขึ้น แต่ Netflix ยังคงรักษาและรับลูกค้าอยู่เสมอ แน่นอนว่า Netflix จะเพิ่มค่าธรรมเนียมการสมัครสมาชิกเพียง $1 หรือ $2 ในแต่ละครั้ง แต่พวกเขาทำอย่างสม่ำเสมอ ใครจะรู้ว่าค่าธรรมเนียมจะเป็นอย่างไรใน 5 หรือ 10 ปี?

AWAY

4.AWAY

มีตัวอย่างสินค้ามากมายที่นำกลยุทธ์การตั้งราคาแบบ premium pricing มาใช้ ได้แก่ Rolex, Tesla, Nike และกระเป๋าเดินทาง AWAY กระเป๋าเดินทางจำเป็นต้องมีมูลค่าเกือบ $500 หรือไม่? แต่อย่างไรก็ตาม AWAY ยังคงประสบความสำเร็จอย่างมาก แม้ว่าพวกเขาจะเรียกเก็บเงินค่ากระเป๋าเดินทางราคาสูง เมื่อคุณซื้อ AWAY เปรียบเสมือนคุณได้ซื้อประสบการณ์ ด้วยเอกลักษณ์และภาพลักษณ์ของแบรนด์ AWAY ที่มีต่อลูกค้า ทำให้มูลค่าของกระเป๋าเดินทางเหมาะสมกับราคาที่ลูกค้าต้องจ่ายไปนั่นเอง

Shopify

5.Shopify

Shopify เป็นแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซที่ช่วยในการจัดการร้านค้าและขายผลิตภัณฑ์ออนไลน์ ซึ่ง Shopify จะทำงานคล้ายกับ HubSpot จึงใช้กลยุทธ์การตั้งราคาแบบ competitive pricing เพื่อแข่งขันนั่นเอง

มีตัวเลือกซอฟต์แวร์อีคอมเมิร์ซจำนวนมากในตลาดทุกวันนี้ แต่ Shopify สร้างความแตกต่างด้วยคุณสมบัติที่พวกเขาเสนอ พวกเขามีผลิตภัณฑ์ 3 รุ่น 3 ราคาที่คิดอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้ลูกค้าได้มีตัวเลือกเพิ่มขึ้นและด้วยตัวเลือกที่หลากหลายในปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายของ Shopify จึงมีการแข่งขันสูงและมักจะเหมือนหรือต่ำกว่าแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซอื่นๆในตลาดปัจจุบันอีกด้วย

การนำกลยุทธ์การตั้งราคามาใช้กับธุรกิจของคุณ แน่นอนว่าคุณไม่สามารถกำหนดราคาได้ทันที เนื่องจากมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นคู่แข่ง, ต้นทุนการผลิต, ความต้องการของลูกค้า, ความต้องการของตลาด,ผลกำไร เป็นต้น ดังนั้นการศึกษา วิจัย และนำมาทดลองใช้ และปรับให้เหมาะสมกับธุรกิจของคุณจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด

 Resource:  https://blog.hubspot.com/sales/pricing-strategy

รูปแบบการตั้งราคาสินค้า

1.Competition-Based Pricing การตั้งราคาเพื่อแข่งขัน เป็นการตั้งราคาเพื่อให้เกิดการเปรียบเทียบกับคู่แข่งที่ขายสินค้าประเภทเดียวกันเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด ได้แก่ การตั้งราคาแพงกว่า การตั้งราคาถูกกว่า และการตั้งราคาเท่ากัน (แต่คุณภาพเราดีกว่าเล็กน้อย)

2.Cost-Plus Pricing การตั้งราคาบวกจากต้นทุน เป็นการตั้งราคาที่นิยมใช้ โดยการบวกกำไรที่คิดไว้เข้าไปเป็นราคาสินค้า เหมาะกับสินค้าที่สามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างชัดเจน รู้ต้นทุนที่แน่นอน และเป็นสินค้าที่จับต้องได้

3.Dynamic Pricing การตั้งราคาแบบยืดหยุ่น เป็นการตั้งราคาสินค้าและบริการชนิดเดียวกันหลายราคาแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลาด้วยเหตุผลบางอย่าง เช่น ราคาตั๋วเครื่องบิน, ที่พัก อีเว้นต่างๆ จะเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณความต้องการในการจอง

4.Freemium Pricing การตั้งราคาแบบให้ก่อนรับทีหลัง เป็นการผสมคำระหว่าง “free” และ “premium” ใช้เมื่อต้องการเพิ่มปริมาณลูกค้าใหม่อย่างรวดเร็ว เพราะชอบของฟรีและหากชอบจะเกิดการแนะนำต่อ โดยเฉพาะหากสินค้าและบริการของคุณมีคุณภาพและคุ้มค่า

5.High-Low Pricing การตั้งราคาขายสูงแต่ขายจริงต่ำ เป็นการตั้งราคาที่สูงไว้ก่อนและนำมาจัดโปรโมชั่นลดราคาให้ต่ำภายหลัง ซึ่งจะเพิ่มยอดขายได้มากแค่ในช่วงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเท่านั้น ได้แก่ clearance sales, black Friday, ลดราคาสิ้นปี หรือการลดราคาตามเทศกาล เป็นต้น

6.Hourly Pricing การตั้งราคารายชั่วโมง หรือที่เรียกว่าการตั้งราคาตามเรท นิยมใช้ตั้งราคาสำหรับผู้ประกอบอาชีพที่ปรึกษา, ฟรีแลนซ์ และอาชีพที่ต้องใช้ฝีมือต่างๆ ซึ่งจะคิดราคาต่อชั่วโมงหรือตามแต่ตกลงกัน ลูกค้าส่วนใหญ่มักจะพอใจและเชื่อใจ เพราะจะได้รับผลตอบแทนที่ดีและมีคุณค่าต่อพวกเขาถึงแม้จะต้องแลกด้วยค่าใช้จ่ายที่แพงก็ตาม

7.Skimmimg Pricing การตั้งราคาสูงๆไว้ก่อน เป็นการตั้งราคาสูงๆในตอนเปิดตัวสินค้าและค่อยๆลดลงเรื่อยๆในเวลาต่อมา มักใช้กับสินค้าไฮเทคใหม่ๆ หรือสินค้าที่กำลังเป็นกระแส เพราะลูกค้าส่วนใหญ่จะยินดีจ่ายเพื่อแลกกับการเป็นเจ้าของคนแรกๆ ซึ่งราคาสูงที่ตั้งนั้นต้องมั่นใจว่าเป็นสินค้าคุณภาพยอดเยี่ยม ลูกค้าจะชื่นชอบและภูมิใจเมื่อได้ครอบครอง มิฉะนั้นพวกเขาจะไม่กลับมาซื้ออีก แม้คุณจะลดราคาในภายหลังแล้วก็ตาม เพราะเหมือนถูกหลอกลวงนั่นเอง

8.Penetration Pricing การตั้งราคาเจาะตลาด เป็นการตั้งราคาที่ตรงข้ามกับแบบ Skimming โดยจะตั้งราคาให้ต่ำในช่วงแรกของการเปิดตัวสินค้า เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคยอมรับ มาทดลองซื้อไปใช้ เมื่อสินค้าเป็นที่รู้จักก็กลับมาขายในราคาปกติ เหมาะกับสินค้าที่เพิ่งเข้าสู่ตลาดและใช้ราคาเป็นปัจจัยในการตัดสินใจซื้อ เช่น สินค้าสะดวกซื้อต่างๆ

9.Premium Pricing การตั้งราคาสูง เพื่อภาพลักษณ์ที่พิเศษของสินค้า เหมาะกับสินค้าที่ช่วยยกระดับฐานะ ได้แก่ สินค้าแบรนด์เนม แฟชั่นหรู และสินค้า luxury ต่างๆ

10.Project-Based Pricing หรือการตั้งราคาตามโครงการ ซึ่งจะตรงข้ามกับการกำหนดราคารายชั่วโมง (Hourly Pricing) เป็นการตั้งราคาโดยจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมคงที่ต่อโครงการแทนการแลกเปลี่ยนเงินโดยตรงตามแต่ระยะเวลาที่กำหนด

11.Value-Based Pricing การตั้งราคาแบบประเมินคุณค่า เป็นการตั้งราคาโดยคำนึงถึงความเต็มใจที่จะจ่ายของลูกค้าที่ยอมจ่ายเพื่อแลกกับคุณค่าที่จะได้รับจากสินค้าและบริการ โดยผู้ขายสามารถชาร์จราคาเพิ่มจากความแตกต่างของสินค้าและบริการที่สามาถสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคแบบเหนือกว่าคู่แข่งได้

12.Bundle Pricing การตั้งราคาแบบลดแลกแจกแถม เป็นการนำสินค้าหลายชิ้นมารวมกันแล้วตั้งราคาใหม่ที่ต่ำลง ที่รู้จักดีคือการซื้อ 1แถม1 วิธีการนี้จะช่วยกระตุ้นการตัดสินใจซื้อของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว เหมาะกับสินค้าที่ต้องใช้บ่อยๆ หมดแล้วต้องใช้ทันที เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค

13.Psychological Pricing การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา เป็นการตั้งราคาโดยอาศัยความรู้สึกของผู้ซื้อที่มีต่อราคา ได้แก่ การตั้งราคาที่ลงท้ายด้วยเลข 9 หรือการตั้งราคากับสินค้าราคาแพงที่จำกัดสถานที่ขาย รวมทั้งการลดราคาเมื่อซื้อชิ้นถัดไป หรือฟรีของสมนาคุณ ที่สำคัญตัวช่วยที่สำคัญคือป้ายบอกสินค้าลดราคา ขนาดตัวอักษร สีที่ใช้ การวางสินค้า ล้วนแล้วแต่กระตุ้นการตัดสินใจซื้อของลูกค้าได้ง่ายขึ้น

14.Geographic Pricing การตั้งราคาตามแนวภูมิศาสตร์ เป็นการตั้งราคาโดยการพิจารณาถึงต้นทุนด้านการขนส่งไปยังตลาดตามภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ การตั้งราคาตามเขต หรือการตั้งราคาแบบผู้ขายรับภาระค่าขนส่งเอง เป็นต้น


เทคนิคการตั้งราคาสินค้าเพื่อลงขายใน Facebook Marketplace (ภาค 1)


เทคนิคการตั้งราคาสินค้าเพื่อลงขายใน Facebook Marketplace (ภาค 1)
โดยการนำสินค้าจาก shopee มาลงขายใน Facebook Marketplace
เทคนิคการตั้งราคาสินค้าเพื่อลงขายใน Facebook Marketplace (ภาค 2) ดูที่ https://youtu.be/V9dvFTwdz6g
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
กดติดตามเพื่อรับชมคลิปใหม่ๆก่อนใครได้ที่ https://bit.ly/2WkQH2D
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ช่องทางติดต่อ / ติดต่องาน
เฟซบุ๊ค : http://www.facebook.com/kjeedofficial
อีเมลล์ : [email protected]
Line : https://lin.ee/RDgFiWu
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
สั่งซื้อ \u0026 สมัครตัวแทนจำหน่าย
แบรนด์แฮวอน (ครีม , กันแดด , คอลลาเจน , ยาสีฟัน , โฟมล้างหน้า) 👉 https://bit.ly/2BgVOZe
แบรนด์ไฮโซเคราติน (แชมพู , ทรีทเม้นท์ , เซรัม) 👉https://bit.ly/30K09Pf
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
คลิปอื่นๆในช่องนี้ที่น่าสนใจ
📌 Facebook Marketplace
https://bit.ly/2N9WMsE
📌 Facebook Fanpage
https://bit.ly/2CiZkCM
📌 มือใหม่ ขายของออนไลน์
https://bit.ly/37D4PHY
📌 Seo
https://bit.ly/2YGGZHg
📌App ดีมีประโยชน์ (สอนแต่งภาพ)
https://bit.ly/2Y9aYZs
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
คัมภีร์แม่ค้าออนไลน์ ตั้งราคาสินค้า marketplace

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เทคนิคการตั้งราคาสินค้าเพื่อลงขายใน Facebook Marketplace (ภาค 1)

30 วิธีตั้งราคาสินค้า – คิดราคาขายอย่างไรถึงจะเหมาะกับสินค้าเรา | Pricing Guide


30 วิธีตั้งราคาสินค้า คิดราคาขายอย่างไรถึงจะเหมาะกับสินค้าเรา | Pricing Guide
วิดีโอนี้ผมจะมาแนะนำวิธีตั้งราคาสินค้าทุกวิธีที่ผมรู้จักเลย
หากพลาดวิธีไหนก็สามารถคอมเม้นต์มาบอกได้นะครับ จะได้เป็นการแบ่งปันกับเพื่อนๆผู้อื่นด้วย
1 บวกกำไรจากต้นทุน
2 เทียบคู่แข่ง
3 ถามลูกค้า
4 ถามผู้ผลิต
5 ราคาตีตลาด
6 กีดกันคู่แข่ง
7 Bundle
8 Dynamic Pricing
9 ประมูล
10 ปรับตามช่องทางการขาย
11 Promotion
12 ราคาจอง
13 ลดล้างสต๊อก
14 กดดันด้านเวลาหรือจำนวน
15 Skimming
16 Premium
17 Membership/Subscription
18 Freemium
19 เลขคี่
20 ราคาเผื่อต่อ
21 ขายส่ง
22 ราคาแต่ละชั้นระดับ
23 ราคาลูกค้าเก่า
24 Price Discrimination การแบ่งแยกราคา
25 ราคาตามชั่วโมง
26 จ่ายเท่าที่ลูกค้าอยากจ่าย
27 ราคาเปรียบเทียบ
28 ง้อลูกค้า
29 ราคาตามผลประกอบการ
30 คูปอง
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
⭐⭐ กดติดตามช่องของผม เพื่อไม่พลาดความรู้ธุรกิจและการตลาดใหม่ๆ ⭐⭐
👍 https://www.youtube.com/c/ThaiWinner?sub_confirmation=1
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ดูอีบุ๊คธุรกิจและคอร์สการตลาดของผม: https://thaiwinner.com/productsandservices/
⭐ หัวข้อวิดีโอการตลาดที่คุณน่าจะสนใจ
🎥 การตลาดเบื้องต้น (ฉบับเต็ม) พื้นฐานการตลาดแบบละเอียดมาก
👉 https://youtu.be/T4O8ynTmE7k
🎥 เรียน Digital Marketing ฟรี สอน การตลาดออนไลน์ แบบเบื้องต้น
👉 https://youtu.be/lpaQQCbDx2E
🎥 การตลาดเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง? เรียนจบแล้วทำงานอะไร? (มือใหม่ต้องดู)
👉 https://youtu.be/WsR1yqOztI8
🎥 วิธีพยากรณ์ยอดขาย แบบง่ายๆ (พร้อมตัวอย่างในหลายกรณี) SALES FORECAST
👉 https://youtu.be/TNNDJR9huSU
⭐ ประวัติธุรกิจที่คุณน่าจะสนใจ
🎥 เจ้าของ foodpanda คือใคร | เปิดเผยข้อมูล บริษัท ฟู้ดแพนด้า ที่ทุกคนไม่รู้
👉 https://youtu.be/gBY4LoCyvRk
🎥 ลงทุนแมน รายได้เท่าไร ไขปริศนาเพจนักลงทุนสุดปัง | บริษัท แอลทีแมน จำกัด (LONGTUNMAN)
👉 https://youtu.be/kkJLSVFD75U
🎥 กระทิงแดงรวยแค่ไหน? | ประวัติและรายได้บริษัทกระทิงแดง
👉 https://youtu.be/RsdNJKuc4U
🎥 ประวัติ Grab และ GoJek (Get) | เปิดประวัติเจ้าของสองบริษัทที่คุณไม่คาดคิด
👉 https://youtu.be/DLIu5ZnUDk
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
✨✨ ข้อมูลความรู้อื่นๆ ✨✨
ติดตามบล็อกของผมได้ที่: https://thaiwinner.com/
คู่มือธุรกิจแจกฟรี โหลดได้เลย: https://thaiwinner.com/freeresources/
ดูอีบุ๊คและคอร์สการตลาดของผม: https://thaiwinner.com/productsandservices/
ติดตามช่องยูทูปของผมได้ทีนี่
👉 https://www.youtube.com/c/ThaiWinner?sub_confirmation=1

30 วิธีตั้งราคาสินค้า - คิดราคาขายอย่างไรถึงจะเหมาะกับสินค้าเรา | Pricing Guide

5 นิสัยเศรษฐีที่คุณต้อง มีถ้าอยากรวย


เพจรู้รอบตอบโจทย์ธุรกิจ
โทร: 0989248558
ติดต่อ Line: @banksupakit
CoachBankSupakit RichSkills NewSkills
ประวัติโค้ชแบงค์และแหล่งข้อมูลอ้างอิง: https://bit.ly/3ijnpK1

5 นิสัยเศรษฐีที่คุณต้อง มีถ้าอยากรวย

สอนคิดต้นทุน กำไร ราคาขาย ขายยังไงให้ได้กำไร ไม่ขาดทุน


ขายของแล้วไม่รู้จะขายเท่าไหร่ดี \”ถูก หรือ แพง\”
จะขาดทุนไหม ได้กำไรหรือเปล่า
ขายดีมาก แต่ทำไมไม่ได้กำไร
ใครกำลังสงสัย มาดูคลิปนี้ได้เลยค่ะ
สอนคิดต้นทุน คำนวณราคาขาย ขายขนมให้ได้กำไร
ใครมีอะไรดีๆ แนะนำอยากแบ่งปัน คอมเม้นไว้ได้เลยนะคะ
.
ติดตามเราผ่านช่องทางอื่น ๆ
.
🧁 🥤 🍰 สอนทำขนมน่ารัก แสนอร่อยมากมาย
เพจ : Bakery Homemade By LittleGirl
https://www.facebook.com/Bakery.Littl…
หรือ 🔍 พิมพ์ค้นหาบนfacebook 👉 @Bakery.LittleGirl
.

😁 😍 พูดคุยแบ่งปันบอกเล่าเรื่องราวดีๆ
เพจ : Little Girl คือเด็กผู้หญิงจอมยุ่ง
https://www.facebook.com/littlegirlbusy
หรือ 🔍. พิมพ์ค้นหาบนfacebook 👉 @littlegirlbusy
.

🛒 กลุ่มรีวิวของดีที่อยากบอกต่อ ที่ทุกบ้านต้องมี
จากคนซื้อจริงใช้จริง มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ และรีวิวไปด้วยกันค่ะ
https://www.facebook.com/groups/littlegirlwithshopping
หรือ 🔍 พิมพ์ค้นหาบนfacebook 👉 ทุกบ้านต้องมี รีวิวของดีบอกต่อ
.
พื้นที่แบ่งปันเรื่องราว
…โตไปด้วยกัน …มีความสุขไปด้วยกันนะคะ ❤

สอนคิดต้นทุน กำไร ราคาขาย ขายยังไงให้ได้กำไร ไม่ขาดทุน

ตั้งราคาอย่างไร ให้คนตัดสินใจซื้อทันที


เพจรู้รอบตอบโจทย์ธุรกิจ
โทร: 0989248558
ติดต่อ Line: @banksupakit
CoachBankSupakit การตั้งราคาBusinessPrice
ประวัติโค้ชแบงค์และแหล่งข้อมูลอ้างอิง: https://bit.ly/3ijnpK1

ตั้งราคาอย่างไร ให้คนตัดสินใจซื้อทันที

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ การ ตั้ง ราคา ขาย สินค้า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *