Skip to content
Home » [Update] [สรุปง่ายๆ] หนี้สินหมุนเวียน คืออะไร SME ต้องรู้ ! | บัญชีมีกี่หมวด – NATAVIGUIDES

[Update] [สรุปง่ายๆ] หนี้สินหมุนเวียน คืออะไร SME ต้องรู้ ! | บัญชีมีกี่หมวด – NATAVIGUIDES

บัญชีมีกี่หมวด: คุณกำลังดูกระทู้

หนี้สินหมุนเวียน คือ หนี้สินของกิจการที่ต้องชำระคืนภายใน 1 ปี หรือภายในรอบระยะเวลาดำเนินการปกติของกิจการ ซึ่งไม่เกิน 12 เดือนนับจากวันที่ระบุในงบแสดงฐานะการเงิน เช่น เงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร, เจ้าหนี้การค้า หรือเงินกู้ระยะยาวที่จะต้องจ่ายภายใน 1 ปี โดยความสามารถในการชำระหนี้สินหมุนเวียน มักจะแปรผันกับสินทรัพย์หมุนเวียน

ปกติแล้วธุรกิจส่วนใหญ่จะไม่สามารถประกอบกิจการได้โดยใช้ส่วนทุนของเจ้าของเพียงอย่างเดียว จำเป็นต้องมีทุนจากการกู้ยืมด้วย โดยสินทรัพย์ของกิจการจะเท่ากับส่วนทุนของเจ้าของรวมกับหนี้สิน

ซึ่งหนี้สินของกิจการจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ หนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไม่หมุนเวียน โดยจะแบ่งตามระยะเวลาที่ต้องจ่ายหนี้คืน พูดง่ายๆคือหนี้หมุนเวียนจะต้อง “ชำระภายใน 1 ปี” ส่วนหนี้ไม่หมุนเวียน “กำหนดชำระ 1 ปีขึ้นไป”

Table of Contents

หนี้สินหมุนเวียน มีอะไรบ้าง?

เราสามารถดูหนี้สินหมุนเวียนได้จาก งบการเงิน (Financial Statement) โดยจะอยู่ในส่วนของ งบแสดงฐานะการเงิน หรืองบดุล (Statement of Financial Position) ซึ่งหนี้สินหมุนเวียน (เรียงลำดับ) ที่เห็นกันบ่อยๆได้แก่

1.เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

  • เงินเบิกเกินบัญชี (Bank overdraft หรือ O/D) คือสินเชื่อรูปแบบหนึ่งที่ธนาคารจะให้ผู้กู้จะสามารถเบิกเงินได้เกินกว่ายอดฝากตามวงเงินที่ได้ โดยนำไปใช้เพิ่มสภาพคล่องในแต่ละวัน สามารถเบิกเงินโดยใช้เช็คผ่านบัญชีกระแสรายวัน
  • เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (Short-term loans) คือ เงินกู้ยืมระยะสั้นที่มีกำหนดชำระภายในหนึ่งปี นอกจากหนี้ที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือบริการและเจ้าหนี้อื่น ในงบการเงินมักจะเขียนรวมกับเงินเบิกเกินบัญชี

2. ตั๋วเงินจ่าย

ตั๋วเงินจ่าย (Note Payable) เป็นหนังสือสัญญาที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรที่ระบุจำนวนเงินที่ต้องจ่ายในอนาคต ซึ่งอาจจะออกให้เจ้าหนี้การค้า ธนาคาร หรือผู้ให้กู้ยืมอื่นๆ

3. เจ้าหนี้การค้า

ถ้าอธิบายให้เข้าใจง่ายๆ เจ้าหนี้การค้าจะคล้ายๆกับการที่เรา ซื้อของมาแล้วยังไม่ได้จ่ายเงิน ซึ่งกิจการจะต้องชำระค่าสินค้าและบริการให้กับเจ้าหนี้การค้าตามระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ เจ้าหนี้การค้าก็ถือเป็นหนี้สินหมุนเวียนประเภทหนึ่ง

4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในรอบบัญชีปัจจุบัน แต่ยังไม่ได้จ่ายเงินจนกว่าจะถึงรอบถัดไป เช่น ค่าน้ำค่าไฟ เงินเดือนค้างจ่ายจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย หรือภาษีเงินได้ค้างจ่าย เป็นต้น 

5. เงินปันผลค้างจ่าย

เงินปันผลค้างจ่าย (Accrued Dividend) เป็นการที่บริษัทประกาศว่าจะจ่ายเงินปันผล แต่ยังไม่ได้จ่ายจริงๆ ทำให้เงินปันผลค้างจ่ายกลายเป็นหนี้สินหมุนเวียน และผู้ถือหุ้นมีฐานะเป็นเจ้าหนี้

6. เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี

เป็น ส่วนของหนี้สินระยะยาว ที่จะถึงกำหนดการชำระคืนภายในหนึ่งปี เช่น กู้ธนาคารมา 800,000 บาท ระยะยาวจะผ่อนหมด 10 ปี โดยผ่อนปีละ 80,000 บาท เงินจำนวน 80,000 ที่ต้องชำระในรอบบัญชีจะเป็นหนี้สินหมุนเวียน

7. เงินมัดจำและเงินประกัน

เงินหรือหลักทรัพย์ที่กิจการได้รับจากลูกค้าหรือพนักงานเพื่อเป็นหลักประกันว่าจะปฏิบัติตามสัญญา หรือประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งเมื่อมีการปฏิบัติตามสัญญา จะต้องคืนเงินทั้งหมดหรือบางส่วนภายในไม่เกิน 1 ปี

8. รายได้รับล่วงหน้า

เป็นรายได้ที่กิจการได้รับล่วงหน้า ซึ่งส่วนที่ไม่ใช่รายได้ของรอบบัญชีปัจจุบัน จะถือว่าเป็นหนี้สินหมุนเวียน และจะเป็นรายได้ในรอบบัญชีถัดไป

หนี้สินหมุนเวียน บอกอะไรได้?

หนี้สินหมุนเวียนสามารถนำไปหาสภาพคล่องของกิจการได้ โดยนำไปคำนวณหาอัตราส่วนทางการเงินดังนี้ :

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio) หรืออัตราส่วนสภาพคล่อง สามารถใช้วัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะสั้นของกิจการ โดยดูว่าสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นกี่เท่าของหนี้สินหมุนเวียน

อัตราส่วนนี้จะบอกให้รู้ว่า หากกิจการชำระหนี้ระยะสั้นไปแล้วจะเหลือสินทรัพย์หมุนเวียนไว้หมุนจ่ายดำเนินงานหรือไม่ ยิ่งค่าสูงยิ่งแสดงว่ามีสภาพคล่องค่อนข้างมาก

*สินทรัพย์หมุนเวียน คือสินทรัพย์ที่เปลี่ยนเป็นเงินได้ง่าย ใช้จนหมดได้ภายใน 1 ปี เช่น เงินสด, ลูกหนี้การค้า หรือ สินค่าคงเหลือ

สรุปง่ายๆคือ “จ่ายหนี้ของปีนี้ไปแล้ว ยังจะมีเงินหรือสินทรัพย์ไว้ใช้หมุนต่ออีกหรือเปล่า”

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน ÷ หนี้สินหมุนเวียน

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน มากกว่า 1 แสดงว่ากิจการมีสภาพคล่องดี น้อยกว่า 1 แสดงว่ากิจการมีสภาพคล่องต่ำ แต่ถ้าสูงกว่า 1 มากๆก็อาจหมายถึงว่า กิจการใช้สินทรัพย์หมุนเวียนได้ไม่เกิดประโยชน์สูงสุด

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) จะคล้ายกับอัตราส่วนทุนหมุนเวียน แต่จะบอกสภาพคล่องของกิจการได้ค่อนข้างดีกว่า เพราะ “หักสินค้าคงเหลือ” ที่สามารถเป็นเป็นเงินสดได้ยาก ออกจากสินทรัพย์หมุนเวียน

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ) ÷ หนี้สินหมุนเวียน

โดยการอัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็วไม่ควรน้อยกว่า 1 และสำหรับการบริหารอัตราส่วนนี้ไม่ควรมากเกินไป เพราะจะเหมือนกับการถือเงินสดมากเกินไป ควรนำไปลงทุนดีกว่า

สรุป

หนี้สินหมุนเวียนเป็นหนี้ที่ต้องชำระภายใน 1 ปี สามารถดูได้จากงบแสดงฐานะการเงินในงบการเงิน โดยจะมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับกิจการ และสามารถนำไปคำนวณอัตราส่วนทุนหมุนเวียน และทุนหมุนเวียนเร็ว เพื่อวิเคราะห์กิจการได้

[Update] งบการเงิน คืออะไร? ประกอบด้วยอะไรบ้าง | บัญชีมีกี่หมวด – NATAVIGUIDES

งบการเงิน (Financial Statement) คือ รายงานทางบัญชีที่แสดงรายละเอียดทางการเงินในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมา โดยงบการเงินจะประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่

งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position)
งบกำไรขาดทุน (Profit and Loss Statement)
งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (Statement of Changes Equity)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to Financial Statement) 

ประโยชน์หลักของ งบการเงิน คือ แสดงผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมา โดยผู้ที่ใช้ประโยชน์จากงบการเงิน (Financial Statements) ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น นักลงทุนที่สนใจ องค์กรรัฐาลที่เข้ามาตรวจสอบ ลูกจ้าง และ ลูกค้าที่ใช้พิจารณาความสามารถของคู่ค้า

ซึ่งงบการเงิน (Financial Statement) ในแต่ละส่วนจะแสดงรายละเอียดทางการเงินที่แตกต่างกัน ดังนี้

งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position)

งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) เป็นงบแสดงฐานะทางการเงินของกิจการ โดยงบแสดงฐานะทางการเงิน จะประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ สินทรัพย์ หนี้สิน และ ส่วนของเจ้าของ

สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ

งบกำไรขาดทุน (Profit and Loss Statement)

งบกำไรขาดทุน (Profit and Loss Statement) จะเป็นงบที่แสดงผลการดำเนินงานของบริษัทในรอบระยะเวลาหนึ่ง ว่าบริษัทมีกำไรหรือขาดทุนเท่าไหร่ โดยรอบระยะเวลาดังกล่าวอาจเป็น รายไตรมาส (บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือ 1 ปี (บริษัทที่ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์

กำไร = รายได้ – ค่าใช้จ่าย

งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement)

งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) เป็นงบที่แสดงเงินหมุนเวียนภายในกิจการ โดยจะแสดงว่าเงินนี้ได้มาอย่างไร ใช้ไปอย่างไร ซึ่งงบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) จะประกอบด้วย 3 กิจการรรม คือ กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน และ กิจกรรมจัดหาเงินทุน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (Statement of Changes Equity)

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (Statement of Changes Equity) คือ งบที่แสดงเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ ของกิจการหรือบริษัทนั้น ๆ (ตามชื่อ)

หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to Financial Statement)

หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to Financial Statement) คือ รายละเอียดเพิ่มเติมอื่น ๆ ของการจัดทำงบการเงินนั้น ๆ รวมทั้งข้อมูลอื่น ๆ ที่ไม่ได้ใส่ไว้ในงบการเงินใน 4 ส่วนที่เหลือ ทำหน้าที่เหมือนหมาตเหตุทั่ว ๆ ไป

อย่างไรก็ตาม งบการเงิน (Financial Statement) ก็ยังมีข้อจำกัดที่สำคัญ คือ เป็นข้อมูลในอดีต อีกทั้ง ข้อมูลบางอย่างที่อยู่ในงบการเงิน ไม่ใช่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน เช่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอย่างที่ดิน ที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นตลอดทุกปี


อีหล่าเอ๋ย – เต้ย อภิวัฒน์ : เซิ้ง|Music \u0026 kuentinStudio 【Official MV】


ศิลปิน : เต้ย อภิวัฒน์
เนื้อร้อง/ทำนอง : เต้ย อภิวัฒน์
เรียบเรียง : จินนี่ ภูไท
โปรดิวเซอร์ : เฮียป่อง ลูกผู้ใหญ่บ้าน
อำนวยการสร้าง : สิริพงค์ อังคสกุลเกียรติ
LYRICS
กะเข้าใจ ในวันนี้บ่มีเจ้าแล้ว
ดวงแก้ว ก้อนคำจากไกล
เจ็บแท้เด้ มันเจ็บแท้เด้ คือจังสิตาย
บ่อาจหายลบเลือนจากใจได้
ตายอ้ายตาย ข้าวกะกินบ่ได้
นั่งฮ้องไห้ ฮือ ฮือ
อยากบอกฮักว่าข้อยฮักเจ้า คงบ่มีโอกาสเว้า
ในยามเช้าตื่นมาบ่มีเจ้าแล้ว
เตียงเคยอยู่เฮาเคยนอน ปลอกหมอนที่เจ้าเคยใช้
ยังเก็บไว้แทนใจ น้องหล้าอยู่เด้อ
อยู่ทางนั้นสบายดีไหม เป็นจั่งได๋บ่ฮู้เลย
อีหล่าเอ๋ย อ้ายคิดฮอดเจ้าเด้อ
ตายอ้ายตาย ข้าวกะกินบ่ได้
นั่งฮ้องไห้ ฮือ ฮือ
อยากบอกฮักว่าข้อยฮักเจ้า คงบ่มีโอกาสเว้า
ในยามเช้าตื่นมาบ่มีเจ้าแล้ว
เตียงเคยอยู่เฮาเคยนอน ปลอกหมอนที่เจ้าเคยใช้
ยังเก็บไว้แทนใจ น้องหล้าอยู่เด้อ
อยู่ทางนั้นสบายดีไหม เป็นจั่งได๋บ่ฮู้เลย
อีหล่าเอ๋ย อ้ายคิดฮอดเจ้าเด้อ
อยากบอกฮักว่าข้อยฮักเจ้า คงบ่มีโอกาสเว้า
ในยามเช้าตื่นมาบ่มีเจ้าแล้ว
เตียงเคยอยู่เฮาเคยนอน ปลอกหมอนที่เจ้าเคยใช้
ยังเก็บไว้แทนใจ น้องหล้าอยู่เด้อ
อยู่ทางนั้นสบายดีไหม เป็นจั่งได๋บ่ฮู้เลย
อีหล่าเอ๋ย อ้ายคิดฮอดเจ้าเด้อ
อยากบอกฮักว่าข้อยฮักเจ้า คงบ่มีโอกาสเว้า
ในยามเช้าตื่นมาบ่มีเจ้าแล้ว
เตียงเคยอยู่เฮาเคยนอน ปลอกหมอนที่เจ้าเคยใช้
ยังเก็บไว้แทนใจ น้องหล้าอยู่เด้อ
อยู่ทางนั้นสบายดีไหม เป็นจั่งได๋บ่ฮู้เลย
อีหล่าเอ๋ย อ้ายคิดฮอดเจ้าเด้อ
อยู่ทางนั้นสบายดีไหม เป็นจั่งได๋บ่ฮู้เลย
อีหล่าเอ๋ย อ้ายคิดฮอดเจ้าเด้อ
MV Crew
Executive Producer : สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
Producer : สุรศักดิ์ ป้องศร ,อวิรุทธ์ อรรคบุตร , ศุภณัฐ นามวงศ์
Director | ลอด ออนเดอะร็อค
1st AD | ต้องเต ธิติ ศรีนวล
2nd AD | อนุสรณ์ ลิ้มฤทัย
Director of Photography | จ๊อบ สหายเสรี
1st AC | ณรงค์เกียรติ เวฬุวณารักษ์
2nd AC | จิรายุ คณะชาติ
3rd AC | สารัช พงษ์พีระ
Art Director | ปริญา นาธงชัย
1st AAD |ณัฐพงษ์ ศรีพรม
2nd AAD | โต้ง ดีเซล
3rd AAD | ตาม Tattoo
Props Master | อ๋อง วาจาดี
PM | อนุสรณ์ ลิ้มฤทัย
Graphic Design | ณัชรดา ไชยภพ
Editor | ณรงค์เกียรติ เวฬุวณารักษ์ / มาร์ค อโลน
Colorist | ณรงค์เกียรติ เวฬุวณารักษ์
ช่องทางติดตาม
Facebook:
https://www.facebook.com/ThiBaanTheSe…
https://www.facebook.com/SerngMusic
เว็บไซต์:
https://www.serngmusic.co.th
https://www.thibaantheseries.com
ข่าวไทบ้านสดก่อนใคร:
https://www.thibaans.com
ติดต่องานโปรดักชั่น,ลิขสิทธฺ์เพลง,งานนักแสดงในสังกัด
โทร 0832463936 (ผู้จัดการ เซิ้ง มิวสิค)
Email : [email protected]
บริษัท เซิ้ง มิวสิก จำกัด
เว็บไซต์: https://www.serngmusic.co.th
บริษัท เซิ้ง โปรดักชั่น แอนด์ ออแกไนเซอร์ จำกัด
โทร 0638500150 , 045960360
เว็บไซต์: https://www.serngproduction.co.th
เซิ้งโปรดักชั่น เซิ้งมิวสิค ThibaanChannel

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

อีหล่าเอ๋ย - เต้ย อภิวัฒน์ : เซิ้ง|Music \u0026 kuentinStudio 【Official MV】

ถ้าอ้ายหน้าใหม่ – เต้ย อภิวัฒน์ [ Official MV ]


เพลง ถ้าอ้ายหน้าใหม่
ศิลปิน: เต้ย อภิวัฒน์
เนื้อร้อง: อภิวัฒน์ บุญเอนก
ทำนอง: อภิวัฒน์ บุญเอนก
เรียบเรียง: อภิวัฒน์ บุญเอนก
โปรดิวเซอร์: อภิวัฒน์ บุญเอนก, เอ็ม นาโนน, ONUTZ
Mix \u0026 Mastering: ต่าย กีตาร์, เอ็ม นาโนน
สังกัด: คืนถิ่น สตูดิโอ
ติดต่องานการแสดง 081 6480904 (ผจก)
ติดตามผลงานได้ที่
Page : Kuentin Studio คืนถิ่น สตูดิโอ
Facebook : Toey Apiwat Boonanak (ครูเต้ย) https://www.facebook.com/toey.apiwatb…
ฝากกด Subscribe ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ
แนวเพลงในรูปแบบใหม่ Rแอนด์Bสตริงอีสาน
เป็นการผสมผสานกันระหว่างดนตรีอีสานบวกกับเสียงร้องที่เป็นสตริง

ถ้าอ้ายหน้าใหม่ - เต้ย อภิวัฒน์ [ Official MV ]

เข้าใจ debit credit โดยไม่ต้องจำ ตอนที่ 1


และแล้ว…โคนันก็ได้ช่วยไขปริศนาคาใจของคนเรียนบัญชีได้เรียบร้อย มาฟังโชว์คลี่คลายปริศนาได้จากคลิปนี้เลยค่ะ

เข้าใจ debit credit โดยไม่ต้องจำ ตอนที่ 1

เปิดบัญชีหรือยังจ๊ะ มาทำความรู้จัก #บัญชีเงินฝาก มีกี่ประเภท


เปิดบัญชีหรือยังจ๊ะ มาทำความรู้จัก #บัญชีเงินฝาก มีกี่ประเภท

ออมสิน เปิดรับฝากสลากออมสินดิจิทัล เงินฝากเผื่อเรียกดอกเบี้ยสูง10.8% มีจำนวนจำกัด


นายวิทัย รัตนากร ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน ระบุ ธนาคารออมสินเตรียมฉลองครบรอบก่อตั้งธนาคารเป็นปีที่ 108 ปี ในวันที่ 1 เม.ย. 64
1. ฝากสลากออมสินดิจิทัล1ปี ผ่านแอปพลิเคชั่น MyMo ระหว่างวันที่ 115 เม.ย. 64
ร้อมลุ้นรางวัลพิเศษจากการออกเลขสลากออมสินงวดที่ 16 เม.ย. 64 รางวัลละ 10,000 บาท จำนวน 108 รางวัล
2. เงินฝากเผื่อเรียกพิเศษฉลอง108ปี ดอกเบี้ยพิเศษแบบขั้นบันได สูงสุด 10.8% ต่อปี ระยะเวลาฝากเงิน 108 วัน อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 1.08% ต่อปี ผู้สนใจลงทะเบียนจองสิทธิการฝากเงินผ่านเว็บไซต์ www.gsb.or.th : https://www.gsb.or.th/ และช่องทาง Line:@GSBsociety ในวันที่ 2526 มี.ค. 64 รวม 2 วัน วันละ 1,500 ล้านบาท วงเงินรับฝากรวม 3,000 ล้านบาท
ขอบคุณข้อมูลจาก ธนาคารออมสิน

ขอบคุณทุกๆท่านที่กด Like กด share และ กด subscribe กำลังใจที่ดีมากๆครับ
และอย่าลืมกดรูปกระดิ่งเพื่อจะได้ไม่พลาดคลิปใหม่ ๆ นะครับ
FreedomChannelbyKasemsan แค่พื้นฐาน
ติดตามช่อง FreedomChannelbyKasemsan ▶ : https://www.youtube.com/channel/UCg1R…
Facebook Fan Page ▶ :

ติดต่องาน
Email : [email protected]

ออมสิน เปิดรับฝากสลากออมสินดิจิทัล เงินฝากเผื่อเรียกดอกเบี้ยสูง10.8% มีจำนวนจำกัด

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ บัญชีมีกี่หมวด

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *