Skip to content
Home » [Update] ค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead) | ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน คือ – NATAVIGUIDES

[Update] ค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead) | ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน คือ – NATAVIGUIDES

ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

\”ค่าใช้จ่าย\” ในการเรียนแพทย์ จุฬาฯ | laohaiFrung


ใส่ชุดนักศึกษามาหาพี่สิค้า😚😚
อากาสสดชื่นและปลอดภัยด้วย \”เครื่องฟอกอากาศ Electrolux Well A7\” ที่มีระบบการกรอง 5 ขั้นตอน ยับยั้งเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย พกพาไปห้องไหน ๆ ก็สะดวก ตั้งพื้นได้ ติดผนังก็ได้
ElectroluxTH MakeItLast SwedishThinkingBetterLiving
laohaiFrung frungnarikunn
Follow me ››
Facebook : https://www.facebook.com/laohaifrung
Instagram : https://www.instagram.com/frungnarikunn
For work : 0818990212 (คุณเมษา)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

\

การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและจัดประชุม/ฝึกอบรม


บรรยายโดย นางสุภาพร สภาวธรรม
ผู้อำนวยการกลุ่มติดตามและเบิกจ่ายงบประมาณ
สำนักการคลังและสินทรัพย์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การอบรมการจัดการความรู้(KM:Knowledge Management)องค์ความรู้สนับสนุนการปฏิบัติงานรองรับการยกระดับหน่วยงานภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 ของ สพฐ. ประจำปี พ.ศ. 2563
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุมเธียร์เตอร์ ชั้น 3 อาคารรัชมังคลาภิเษก กระทรวงศึกษาธิการ
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยาย ได้ที่ https://bit.ly/2vOgcyq

การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและจัดประชุม/ฝึกอบรม

การดำเนินงานโดยระบบ DSL : EP4 กระบวนการผู้กู้ที่ได้รับการอนุมัติบันทึกข้อมูลก่อนลงนามสัญญากู้ยืมฯ


การดำเนินงานโดยระบบ DSL : EP4 กระบวนการผู้กู้ที่ได้รับการอนุมัติบันทึกข้อมูลก่อนลงนามสัญญากู้ยืมเงิน

การดำเนินงานโดยระบบ DSL :  EP4 กระบวนการผู้กู้ที่ได้รับการอนุมัติบันทึกข้อมูลก่อนลงนามสัญญากู้ยืมฯ

สรุป เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ จัดตั้งสถานที่ในการป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคโควิด 19


สรุป เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ จัดตั้งสถานที่ในการป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า ๒๐๑๙ (โควิด19) (ว 4281 ลง 27ก.ค.64)
หนังสือสั่งการตามลิงค์นี้ https://rb.gy/nbqarq
https://drive.google.com/file/d/1aNWkF2enf_mjjV3zapG9Nx4N1Z6gNCQd/view?usp=sharing
https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_File/Covid_Health/Attach/25640724160026PM_community%20isolation_v2n%2024072021_.pdf

สรุป เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ จัดตั้งสถานที่ในการป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคโควิด 19

สรุปจบในคลิปเดียว คำนวณค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดิน ค่าใช้จ่ายโอนที่ดิน และค่าใช้จ่ายโอนบ้าน | Guru Living


สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ

ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ตัวอย่างการคำนวณ
นาย A ทำการขายบ้านให้นาย B โดยมีราคาซื้อขายอยู่ที่ 2,500,000 บาท และบ้านมีราคาประเมินกรมที่ดินอยู่ที่ 2,800,000 บาท โดยนาย A ถือครองบ้านหลังนี้มาแล้ว 2 ปี (มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านครบ 1 ปี) และนาย B กู้สินเชื่อจากธนาคารในวงเงินเต็มจำนวน 2,500,000 บาท คำถามคือจะมีค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินอะไรบ้าง

ค่าใช้จ่ายจะมี 5 ตัวหลักๆดังต่อไปนี้ครีบ
ค่าธรรมเนียมการโอน
ค่าจดจำนอง
ค่าอากรแสตมป์
ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

เรามาดูกันแต่ละตัวเลยครับ ในที่นี้ราคาเราคิดจากราคาขายหรือราคาประเมิณแล้วแต่ราคาไหนมากกว่าเอาราคานั้นครับ ในที่นี้เราใช้ 2,800,000 บาท ที่เป็นราคาประเมินครับ

ค่าธรรมเนียมการโอน คิด 2% จากราคาประเมิน
2,800,000 x 2% = 56,000 บาท
โดยปรกติแล้วค่าธรรมเนียมการโอน จะแบ่งกันรับผิดชอบคนละครึ่งระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย แล้วแต่ตกลงตามหน้าสัญญาครับ

ค่าจดจำนอง คิด 1% ของวงเงินสินเชื่อที่เราไปขอจากธนาคาร
2,500,000 x 1% = 25,000 บาท
ค่าจดจำนองทางผู้ซื้อต้องเป็นผู้จ่าย

3.ค่าอากรแสตมป์ คิดเป็น 0.5%ของราคาประเมิณ
2,800,000 x 0.5% = 14,000 บาท
แล้วแต่ตกลงกันหน้าสัญญาว่าจะให้ผู้ซื้อหรือผู้ขายชำระ

4.ภาษีธุรกิจเฉพาะ ในกรณีที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน 1 ปีหรือถือครองบ้านมาแล้วเกิน 5 ปี เราจะเสียแค่ค่าอากรแสตมป์ไม่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะครับ แต่ถ้าเสียโดยปรกติผู้ขายจะต้องเป็นคนเสียภาษีธุรกิจเฉพาะครับ

5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

5.1 เงินได้
ในกรณีนี้เราเลือกใช้ราคาที่มากที่สุดระหว่าง “ราคาขายหน้าสัญญา” กับ “ราคาประเมิณกรมที่ดิน” ในโจทย์นี้เราได้ได้ราคาทรัพย์ที่ 2.8 ล้านบาทครับ

5.2ค่าลดหย่อนตามปีที่ถือครอง
ในกรณีนี้เราถือครอง 2 ปีดูจากตารางเราต้องคิดรายได้เป็นร้อยละ 84 ของเงินได้(ราคาประเมิน)

ค่าลดหย่อน = เงินได้ x 84% = 2,800,000 x 84% = 2,352,000 บาท

มูลค่าที่จะนำมาคิดภาษี = เงินได้ ค่าลดหย่อน
= 2,800,000 2,352,000
= 448,000 บาท

5.3 หารจำนวนปีที่ถือครอง = มูลค่าที่จะนำมาคิดภาษี / 2 (ถือครองมา 2 ปี)
= 448,000 / 2
= 224,000 บาท

5.4 อัตราภาษีเงินได้ (ต่อปี)
นำเงิน 224,000 มาดูในช่องอัตราภาษีเงินได้ว่าเราอยู่ช่องไหนครับ ในที่นี้เราต้องเสียในช่วง

ช่วงแรก 1 300,000 บาท อัตราภาษี 5%
224,000 x 5% = 11,200 บาท

ดังนั้นอัตราภาษีเงินได้แต่ละปีคือ 11,200 บาท ต่อปี

ขั้นตอนสุดท้ายคือเอาจำนวนปีที่ถือครองเข้าไปคูณกับภาษีที่ต้องเสียในแต่ละปีจะได้เป็น
11,200 x 2(จำนวนปีที่ถือครอง)

ดังนั้นภาษีเงินได้ที่ผู้ขายต้องจ่ายคือ 22,400 บาท

จากโจทย์กำหนดจะเห็นว่าค่าใช้จ่ายต่างๆในกรมที่ดินจะมีดังนี้

ค่าธรรมเนียมการโอน 56,000 บาท
ค่าจดจำนอง 25,000 บาท
ค่าอากรแสตมป์ 14,000 บาท
ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ไม่เสีย
ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 22,400

ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ

ค่าใช้จ่ายกรมที่ดิน ค่าใช้จ่ายโอนบ้าน คำนวณค่าใช้จ่ายกรมที่ดิน ค่าใช้จ่ายกรมที่ดินคิดยังไง ค่าใช้จ่ายโอนที่ดิน ค่าใช้จ่ายโอนคอนโด ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้าน ค่าใช้จ่ายโอนบ้านมือสอง ค่าใช้จ่ายโอนบ้านมือหนึ่ง

สรุปจบในคลิปเดียว คำนวณค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดิน ค่าใช้จ่ายโอนที่ดิน และค่าใช้จ่ายโอนบ้าน | Guru Living

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *