Skip to content
Home » [Update] การใช้ Pronoun และ Noun ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions ) ภาษาอังกฤษ | ประโยค ภาษา อังกฤษ ประธาน กริยา กรรม – NATAVIGUIDES

[Update] การใช้ Pronoun และ Noun ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions ) ภาษาอังกฤษ | ประโยค ภาษา อังกฤษ ประธาน กริยา กรรม – NATAVIGUIDES

ประโยค ภาษา อังกฤษ ประธาน กริยา กรรม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

คำนาม 

คือ ชื่อเรียกคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ และสิ่งที่เป็นนามธรรม

                 เวลาพูดถึงคำนาม ให้เรานึกถึง ตัวเองก่อนอันดับแรกว่า ตัวเราเป็นอะไร ตัวเราเป็นคน แล้วให้สมมติ(หรือไม่สมมติก็ได้) ว่าเรามีสัตว์เลี้ยงตัวโปรดอยู่ สัตว์เลี้ยงนั้นจะเป็นอะไรก็ได้ แล้วก็มีสิ่งของ มีสถานที่ที่เราชอบ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้นึกถึงทั้งหมดนี้ คือคำนามในภาพรวม ตัวเรา(ซึ่งเป็นคน) เลี้ยงสัตว์ มีสิ่งของ มีสถานที่ และมีความชอบในสิ่งของหรือสถานที่นั้น(นามธรรม) ก็จะสามารถช่วยให้เราเข้าใจคำนามได้ในมุมกว้างๆ 

                 พอจะเจาะลึกเข้าไปอีก เป็นคำนามทั่วไป กับคำนามเฉพาะ ก็ให้เราเอาตัวเองเป็นหลักก่อนว่า ตอนแรกคิดว่าเราเป็นคน ซึ่งเป็นแค่คนทั่วๆไป แต่พอเรามาดูอีกที เรามีชื่อเฉพาะของเรา การมีชื่อขึ้นมาเจาะจงว่าเป็นตัวเราเนี่ยแหละ ก็เลยกลายให้คนธรรมดา กลายเป็นคนที่มีชื่อเรียกเฉพาะเจาะจง มีคนเดียวในโลกที่ชื่อแบบนี้ หน้าตาแบบนี้ แล้วเวลาเขียนชื่อเราทุกครั้ง ก็ต้องเขียนเป็นตัวอักษรใหญ่ ไม่ว่าจะชื่อเล่นหรือชื่อจริง พอคิดได้แบบนี้แล้ว เข้าใจแล้ว มันก็จะนำไปสู่การเข้าใจในเรื่องของความแตกต่างระหว่างคำนามทั่วไป กับ คำนามเฉพาะ 

               นอกจากนี้แล้ว เมื่อนึกถึงจำนวนของคำนามที่ยังไม่นับ ก็ให้นึกถึงอยู่สองพวกคือ มีเพียงหนึ่ง (เอกพจน์) และ มากกว่าหนึ่ง หรือสองขึ้นไป (พหูพจน์) ซึ่งก็จะมีกฏการทำคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ตามด้านล่างนี้แล้ว  แต่ถ้านึกถึงจำนวนของคำนามในเรื่องของจำนวนนับให้นึกถึง นับได้ (countable) กับ นับไม่ได้ (uncountable)  ซึ่งมีรายละเอียดตามข้างล่างนี้ (ก่อนที่จะอ่านเนื้อหาข้างล่าง ขอให้เข้าใจภาพรวมของคำนามที่ได้เกริ่นไว้ข้างต้นนี้ก่อน) 

ชนิดของคำนาม (

Types of Noun)

1. 

คำนามทั่วไป (Common Nouns)

 – 

กล่าวถึงคำนามที่เป็นคน สัตว์ สิ่งของ และสิ่งที่เป็นนามธรรมโดยไม่เฉพาะเจาะจง

          

คำนามทั่วไป เป็นได้ทั้งคำนามนับได้และคำนามนับไม่ได้

                   

 คือ คำนามที่สามารถนับเป็นจำนวนนับได้ เป็นได้ทั้งคำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์

          

กฎในการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ มีดังนี้

                1. 

เติม 

–s 

ได้เลย

                2. 

เติม

 – es 

หลังคำนามที่ลงท้ายด้วย

 s, z, x, sh, and ch

                3. 

คำนามที่ลงท้ายด้วย 

y

                   3.1 

เปลี่ยน 

เป็น 

ies 

ในกรณีที่หน้า 

เป็นพยัญชนะ

                   3.2 

เติม 

–s 

ได้เลย ในกรณีที่หน้า 

เป็นสระ

                4. 

คำนามที่ลงท้ายด้วย

 o

                   4.1 

เติม

 – es 

หลังคำนาม ในกรณีที่หน้า 

เป็นพยัญชนะ

                   4.2 

เติม

 – s 

ได้เลย ในกรณีที่หน้า 

เป็นสระ

                5. 

เปลี่ยน

 f 

หรือ

 fe 

เป็น

 

 ves 

หลังคำนามที่ลงท้ายด้วย

 f or fe

                   *

 

 

คำนามที่ลงท้ายด้วย

 f 

หรือ

 fe 

บางคำที่สามารถเติม

 

– s 

ได้เลย

                6. 

เปลี่ยนรูปเมื่อเป็นพหูพจน์

                   

 

คือ คำนามที่ไม่สามารถนับได้ โดยปกติจะเป็นสสารหรือความคิด

 

พจน์ของคำนามเป็นเอกพจน์ได้เท่านั้น

2. 

คำนามเฉพาะ (Proper Nouns)

 – 

ชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ จะขึ้นต้นด้วยตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ

หน้าที่ของคำนาม (

Functions of Noun)

1. 

ประธานของประโยค

 

2. 

กรรมของประโยค

 

3. กรรมของคำบุพบท

คำสรรพนาม (Pronoun)

          

คำสรรพนาม

 คือ คำที่ใช้แทนคำนาม ส่วนเรื่องคำสรรพนามที่ไม่มีอะไรมาก เห็นคำนี้เมื่อไหร่ ให้นึกทันที ว่าเค้าทำหน้าที่แทนคำนาม ก็จะมีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็ทำงานตามหน้าที่ตามชื่อ ไม่ยาก แต่อาศัยท่องจำในตอนแรกบวกกับ ความเข้าใจในเรื่องของตำแหน่งประเภทของคำที่เราต้องทราบ ซึ่งจะได้อธิบายไว้ในการใช้ของแต่ละข้อ 

ชนิดของคำสรรพนาม 

(

Types of Pronoun)

1. 

บุรุษสรรพนาม (

Personal Pronoun)

    

 

คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคน สถานที่ สิ่งของ และความคิด

    1.1 

คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นประธาน

 (Subject Pronouns) ให้สังเกตคำนามที่อยู่หน้ากริยา แล้วเลือกใช้คำสรรพนามแทนให้เหมาะสมตามความหมายของคำนามนั้น ว่าแปลแล้ว เป็นคนที่เป็นผู้ชาย ผู้หญิง หรือสัตว์ หรือสิ่งของ หรือเป็นคนที่มีหลายคน ซึ่งต้องพิจารณาอีกว่า คนที่มีหลายคนจะใช้คำว่าอะไร (ขึ้นอยู่กับความสามารถในการแปลคำนามนั้นๆ)

          – I, You, We, They, He, She, It

    1.2 

คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรม

 (Object Pronouns) คำอธิบายเกือบจะเหมือนข้อ 1.1 แต่ต่างกันตรงที่ให้สังเกตคำนามที่อยู่ หลัง กริยา

          – me, you, us, them, him, her, it

2. 

สรรพนามเจ้าของ

 (

Possessive Pronouns)

      คือ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ

    2.1 

คําคุณศัพท์ที่ใช้ขยายนามเพื่อบอกความเป็นเจ้าของของนา

ม (

Possessive Adjective Pronouns) คำสรรพนามชนิดนี้ ต่างจาก 2.2 โดยต้องมีคำนามตามหลัง (อยู่หน้าคำนาม) เนื่องจาก ชื่อของมันคือ Possessive Adjective
ถ้าใครทราบว่า Adjective แปลว่า คำคุณศัพท์ ทำหน้าที่ขยายคำนาม ตำแหน่งของเค้าอยู่หน้าคำนาม ก็จะเป็นหน้าที่ของคำสรรพนามชนิดนี้ทั้งหมด ทั้งเรื่องการขยายคำนาม และตำแหน่งที่เค้าอยู่

– my, your, our, their, his, her, its

    2.2 

คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ (

Possessive Pronouns) คำสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของชนิดนี้ ชื่อก็บอกยี่ห้ออยู่แล้วว่า Possessive Pronoun แสดงความเป็นเจ้าของ แต่เป็นเจ้าของแบบแทนคำนามเลย

          – mine, yours, ours, theirs, his, hers, its

3.  

สรรพนามตนเอง (

Reflexive Pronouns)

         คือ

 สรรพนามที่แสดงตนเอง แสดงการเน้น ย้ำให้เห็นชัดเจน เป็นการเน้นย้ำว่า “ประธานกระทำกริยานั้นด้วยตนเอง” จะใช้ยังไง ให้ดูที่ประธานของประโยคเป็นหลัก ซึ่งประธานของประโยค สามารถเป็นได้ทั้งคำนามและคำสรรพนาม ต้องแปลและสังเกตได้เอง

           – myself, yourself/yourselves, ourselves, themselves, himself, herself, itself

ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions )

รูปกรรมของบุพบท  objects of prepositions   Gerunds (เจอรันสฺ) เป็นกริยารูปหนึ่งที่ลงท้ายด้วย ing และทำหน้าที่เป็น คำนาม (noun) ฉะนั้นตำแหน่งของคำกริยาประเภทนี้ในประโยคคือ ประธาน (subject) กรรมตรง (direct object) ประธานเสริม (subject complement) และกรรมของบุพบท (object of preposition)
ตำแหน่งของ Gerunds

Gerunds (เจอรันสฺ) เป็นกริยารูปหนึ่งที่ลงท้ายด้วย ing และทำหน้าที่เป็น คำนาม (noun) ฉะนั้นตำแหน่งของคำกริยาประเภทนี้ในประโยคคือ ประธาน (subject) กรรมตรง (direct object) ประธานเสริม (subject complement) และกรรมของบุพบท (object of preposition)
ตำแหน่งของ Gerunds
1. ประธาน (subject)
ตัวอย่าง
Traveling might satisfy your desire for new experiences.
การเดินทางอาจจะสนองตอบความปรารถนาด้วยประสบการณ์ใหม่ๆ ของคุณ
หมายเหตุ กรณีนี้รูปกริยา Traveling เป็นประธาน ก็เพราะวางอยู่หน้ากริยาหลักของประโยค นั่นคือ might satisfy
2. กรรมตรง (direct object)
ตัวอย่าง
I hope that you appreciate my offering you this opportunity.
ผมหวังว่าคุณจะชื่นชอบการที่ผมให้โอกาสคุณครั้งนี้
หมายเหตุ กรณีนี้ my offering you this opportunity เป็นกรรมตรง ก็ เพราะเป็นการตอบคำถามว่า ชื่นชอบ <appreciate> “อะไร’’
3. ประธานเสริม (subject complement)
ตัวอย่าง
His favorite activity is playing golf.
กิจกรรมที่ชื่นชอบของเขาคือการเล่นกอล์ฟ
= Playing golf is his favorite activity.
หมายเหตุ กรณีนี้ playing golf เป็นเสมือนประธานเสริม อยู่หลัง verb to be “is” ส่วน Playing golf ที่วางอยู่หน้าประโยค ทำหน้าที่ประธาน
4. กรรมของบุพบท (object of preposition)
ตัวอย่าง
She suffered for years without complaining.
เธอทนทุกข์มาหลายปีโดยไม่ปริปากบ่น
หมายเหตุ กรณีนี้รูปกริยา complaining วางอยู่หลังบุพบท <preposition> คือ “without” จึงถือว่าเป็นกรรมของบุพบท
ประเภทของ Gerunds
จากตัวอย่างข้างบน อาจจะกล่าวคร่าวๆ ได้ว่า gerunds อาจจะเป็นกริยารูป ing ที่ทำหน้าที่นามที่เป็นคำเดี่ยว เรียกว่า single-word gerunds และที่เป็นวลี คือมีถ้อยคำอื่นตามหลังกริยารูป ing ที่ทำหน้าที่นาม เรียกว่า gerund phrase เช่น
single-word gerunds         gerund phrases
traveling                                           traveling to the countryside
waiting                                              waiting for a bus
การใช้     
สิ่งที่ท่านผู้อ่านจะได้ศึกษาและเรียนรู้ต่อไปนี้ นับว่ามีความสำคัญและต้องจดจำ หรือฝึกใช้ให้บ่อย โดยผู้เขียนจะขอกล่าวเป็นกรณีไปดังนี้
1. gerunds after verbs
2. gerunds after prepositions
3. gerunds after adjectives with prepositions
4. gerunds after verbs with prepositions
5. gerunds after verbs and objects
6. gerunds after “go”
7. gerunds with passive meaning
8. gerunds after some expressions
ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
1. gerunds after verbs
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำกริยา (verbs) ต่อไปนี้ ได้แก่
admit                 advise             appreciate          avoid
complete         consider         delay                    deny
detest                dislike             enjoy                    escape
excuse               finish               like (=enjoy)    postpone
practise             mind               miss                      begin
continue           hate                 prefer                  risk
suggest              involve           justify                 spend (time)
resist                  resume           waste(time)      quit
delay                  fancy               forgive               put off
can’t help         can’t stand     can’t resist
ตัวอย่าง
I appreciate his playing that music.
ผมชื่นชอบการเล่นบทเพลงนั้นของเขา
We prefer his writing to speaking about important matters.
เราชอบการเขียนมากกว่าการพูดของเขาเกี่ยวกับเรื่องสำคัญๆ
Do you mind opening the window?
คุณจะรังเกียจไหมครับที่จะเปิดหน้าต่างให้หน่อย
Mother doesn’t like me wearing this suit.
แม่ไม่ชอบให้ดิฉันสวมใส่ชุดนี้
หมายเหตุ มีบ่อยที่หน้า gerund มี object pronouns เช่น me, him, her, them, us, you, it หรือ possessive adjectives เข่น my, his, her, their, our, your, its เมื่อวางอยู่หลังคำกริยาดังกล่าวมา
โปรดดูตัวอย่างเพิ่มเติมจากหมายเหตุในหัวข้อนี้
(1) ใช้รูป possessive adjective + gerund
When she hears her husband’s (whistle) she accompanies it with (sing).
→When she hears his whistling she accompanies it with singing.
(2) ใช้รูป object pronoun + gerund
I remember George (take) out his cheque book but I didn’t notice him (write) it.
→I remember him taking out his cheque book but I didn’t notice him writing it.
2. gerunds after prepositions
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำบุพบท ได้แก่ for, of, on, after, before, with, without, by, from, about, at
ตัวอย่าง
Instead of celebrating at home, they went out to dinner.
แทนที่จะฉลองกันอยู่ที่บ้าน พวกเขากลับออกไปทานอาหารเย็นนอกบ้านShe made a wish before blowing out the candles.
เธออธิษฐานก่อนจะเป่าเทียนให้ดับ
He was fined for driving without lights.
เขาถูกปรับฐานขับรถโดยไม่เปิดไฟ
3. gerunds after adjectives with prepositions
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำคุณศัพท์ (adjectives) ที่มีบุพบท (prepositions) ตามหลัง ได้แก่
afraid of             good at                committed to      happy about
content with     interested in     amazed at/by      mad at/about
ashamed of       aware of              bored with/by    capable of
tired of               excited about    worried about    disappointed                                                                                                                                 in/with
fond of               glad about           guilty of                different from
opposed to       proud of              reponsible for     satisfied with
sick of                sorry about        sorry for               sure of
surprised at     upset about       be/get used to     famous for
ตัวอย่าง
Children are always happy about celebrating birthdays.
เด็กๆ มีความสุขในการฉลองวันเกิด
I am fond of swimming.
ฉันชอบว่ายน้ำ
I am tired of listening to you.
ผมเบื่อฟังคุณ
4. gerunds after verbs with prepositions.
เราใช้ gerunds กับคำกริยา (verbs) ที่มีบุพบท (prepositions) ตามหลัง ได้แก่
admit to                  believe in         count on         dream of/about
give up                    object to           thank… for     think of
adjust to                 agree with        approve of      blame…for
care about             consist of         decide on         depend on/upon
feel like                   hear about      insist on             look for
prevent…from    rely on/upon     succeed in     suspect…of
warn…about        talk about           take care of    forget about
hear of                   plan on                 forget about    look forward to
argue about         refrain from       concentrate on      discourage from
ตัวอย่าง
She thanked the man for helping her.
เธอชอบคุณผู้ชายที่ช่วยเหลือเธอ
I look forward to receiving your reply.
ผมรอคอยที่จะได้รับคำตอบของคุณ
Have you ever thought about sending flowers to her?
คุณเคยคิดว่าจะส่งดอกไม้ไปให้เธอบ้างไหม
5. gerunds after verbs and objects
เราใช้ gerunds หลังคำกริยา (verbs) ที่มักมีกรรม (objects) รองรับ ดังโครงสร้าง verb + object + gerund ได้แก่
find         hear         notice    see
watch     feel         observe     smell
ตัวอย่าง
The waiter heard a man yawning.
พนักงานเสิร์ฟได้ยินชายคนหนึ่งหาว
Did you notice them waving?
คุณสังเกตเห็นพวกเขาโบกมือหรือเปล่า
หมายเหตุ คำกริยาดังกล่าวในข้อนี้ เป็นกริยาที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สึก (verbs of sensation/perception) ซึ่งสามารถตามด้วยรูป bare infinitive (หรือกริยช่อง 1 ที่ไม่มี to (ข้างหน้า) ความแตกต่างอยู่ที่ action กล่าวคือ หากหลังกริยาเหล่านี้ ใช้รูป gerund จะแสดงสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น แต่ถ้าใช้ bare infinitive จะไม่เน้นสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น ดังนั้น ในตัวอย่างดังกล่าวข้างบน อาจจะใช้ bare infinitive ก็ได้ ดังนี้
The waiter heard a man yawn.
Did you notice them wave?
6. gerunds after “go”
เราใช้ gerund หลังกริยา go (รวม went และ gone) เมื่อตามด้วย คำกริยา (verbs) ที่แสดงความหมายเชิงกิจกรรมสันทนาการ (recreational activities) ได้แก่
boat            fish        sail         ski
bowl            hike        shop     swim
camp        hunt        sightsee     windsurf
dance         jog        skate     canoe
ตัวอย่าง
I went shopping with my husband yesterday.
ดิฉันได้ไปจับจ่ายซื้อของกับสามีของดิฉันเมื่อวานนี้
Would you like to go boating with me?
คุณอยากไปพายเรือเล่นกับผมไหม
We went sightseeing around Bangkok two days ago.
เราไปเที่ยวชมรอบกรุงเททฯ เมื่อสองวันที่ผ่านมา
7. gerunds with passive meaning
หลังคำกริยาบางคำ ตามด้วยรูป gerunds ซึ่งให้ความหมายเชิงถูกกระทำ (passive meaning) คำกริยาเหล่านี้ ได้แก่
need     want     merit     deserve
ตัวอย่าง
Your hair needs cutting.
= Your hair needs to be cut.
ผมของคุณสมควรจะได้รับการตัดได้แล้ว
My shoes want mending.
= My shoes want to be mended.
รองเท้าของผมควรจะได้รับการซ่อมได้แล้ว
His brave action deserves rewarding.
= His brave action deserves to be rewarded.
การกระทำที่กล้าหาญของเขาสมควรที่จะได้รับรางวัล
8. gerunds after some expressions
เราใช้ gerunds หลังข้อความบางอย่าง ได้แก่
It’s a waste of time/money/…
It’s no use …
It’s (not) worth …
There’s no point (in) …
have fun/a good time/trouble/difficulty/…
spend/ waste time
What about …? (ใช้เพี่อการเสนอแนะ)
How about…? (ใช้เพื่อการเสนอแนะ)
ตัวอย่าง
We had a good time watching the ice skating competition.
เราได้รับความสนุกสนานที่ได้ชมการแข่งสเก็ตน้ำแข็ง
It’s not worth reparing the machine.
มัน ไม่คุ้มค่าที่จะซ่อมเครื่องจักรดังกล่าว
It’s a waste of time watching that movie.
เสียเวลาเปล่าที่จะชมภาพยนตร์เรื่องนั้น
ต่างความหมาย
คำกริยาบางคำ เมื่อตามด้วยรูป gerunds และ infinitives จะให้ความหมายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้การจะเลือกใช้รูป gerunds หรือ infinitives ต้องอาศัยการตีความหมายเป็นสำคัญ ได้แก่
1. remember + gerunds vs remember + to-infinitives
ตัวอย่าง
I remember posting the letter.
ฉันจำได้ว่าได้ส่งจดหมายไปแล้ว
I must remember to post the letter.
ฉันจะต้องจำให้ได้ว่าจะต้องส่งจดหมาย
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป remember + gerund หมายถึง “จำได้ในสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว’’ ส่วนรูป remember + to-infinitive หมายถึง “จำไว้ว่าจะทำสิ่งนั้นๆ” แสดงว่ายัง ไม่ได้กระทำสิ่งนั้น
2. forget + gerunds VS forget + to-infinitives
ตัวอย่าง
I forgot taking the exam.
ผมลืมไปว่าได้เข้าสอบแล้ว
I forgot to take the exam yesterday.
ผมลืมเข้าสอบเมื่อวานนี้
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป forget + gerund หมายถึง “ลืมในสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้ว” ส่วนรูป forget + to-infmitive หมายถึง “ลืมที่จะกระทำสิ่งนั้น’’
3. regret + gerunds vs regret + to-infinitives
ตัวอย่าง
I regret saying what I said.
ผมเสียใจที่พูดในสิ่งที่พูดออกไป
I regret to say I feel ill.
ผมเสียใจที่จะกล่าวว่าผมป่วย
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป regret + gerund หมายถึง “เสียใจในสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว’’ ส่วนรูป regret + to-infinitive หมายถึง” เสียใจในสิ่งที่จะกระทำ’’ แสดงว่าไม่ได้ทำมาในอดีต
สรุป จากกรณีการใช้ที่นำมาเปรียบเทียบกันทั้งในรูปของการตามด้วย gerunds และ to-infinitives พอจะสรุปรวบยอดเพื่อให้เป็นแนวคิดในการตัดสินใจใช้คำกริยาทั้ง 3 คำ ระหว่างตามด้วย gerunds และ infinitives ได้ดังนี้
ก. ตามด้วย gerunds หมายถึง อดีต (past) คือ ได้เกิดขึ้นไปแล้ว
ข. ตามด้วย to-infinitives หมายถึง ปัจจุบัน (present) หรือ อนาคต (future) คือ ยังไม่เกิด หรือยังไม่ได้กระทำ
4. try + gerunds VS try + to-infinitives
ตัวอย่าง
I try holding my breath.
ผมทดลองกลั้นลมหายใจ
I try to hold my breath.
ผมพยายามกลั้นลมหายใจ
หมายเหตุ เมื่อใช้ try + gerund จะหมายถึง “ทดลอง’’ (experiment) เหมือนกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์แต่ถ้าใช้ try + to-infinitive จะหมายถึง “พยายาม’’ คือ พยายามที่จะทำบางสิ่งบางอย่าง
5. stop + gerunds vs stop + to-infinitives
ตัวอย่าง
You must stop smoking.
คุณจะต้องหยุด (เลิก) สูบบุหรี่
He stopped his car to smoke.
เขาจอดรถเพื่อจะสูบบุหรี่
หมายเหตุ เมื่อใช้ Stop + gerund จะหมายถึง “หยุดทำในสิ่งที่กำลังทำอยู่” แต่ถ้าใช้ stop + to-infinitive จะหมายถึง “หยุด (สิ่งหนึ่ง) เพื่อจะทำอีกสิ่งหนึ่ง”
6. go on + gerunds vs go on + to-infinitives
ตัวอย่าง
Go on talking.
พูตต่อไป
We went on to discuss finance.
เราได้หันไปพูดถึงเรื่องการเงิน
หมายเหตุ เมื่อใช้ go on + gerund จะหมายถึง “ดำเนินต่อไปในสิ่งที่กำลังทำอยู่’’ แต่ถ้าใช้ go on + to-infinitive จะหมายถึง “เปลี่ยนไปทำอีกสิ่งที่ต่างไปจากสิ่งเดิม”
7. mean + gerunds vs mean + to-infinitives
ตัวอย่าง
Having a party tonight will mean working extra hours tomorrow.
การจัดงานเลี้ยงคืนนี้จะหมายถึงการทำงานล่วงเวลาเพิ่มขึ้นพรุ่งนี้
I mean to work harder next year.
ผมตั้งใจจะทำงานหนักขึ้นปีหน้า
หมายเหตุ เมื่อใช้ mean + gerund คำว่า mean = signify แปลว่า “หมายถึง” ส่วนเมื่อใช้ mean – to-infinitive คำว่า mean = intend แปลว่า “ตั้งใจ”
ที่มา:รองศาสตราจารย์ทณุ  เตียวรัตนกุล

[Update] การใช้ Pronoun และ Noun ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions ) ภาษาอังกฤษ | ประโยค ภาษา อังกฤษ ประธาน กริยา กรรม – NATAVIGUIDES

คำนาม 

คือ ชื่อเรียกคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ และสิ่งที่เป็นนามธรรม

                 เวลาพูดถึงคำนาม ให้เรานึกถึง ตัวเองก่อนอันดับแรกว่า ตัวเราเป็นอะไร ตัวเราเป็นคน แล้วให้สมมติ(หรือไม่สมมติก็ได้) ว่าเรามีสัตว์เลี้ยงตัวโปรดอยู่ สัตว์เลี้ยงนั้นจะเป็นอะไรก็ได้ แล้วก็มีสิ่งของ มีสถานที่ที่เราชอบ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้นึกถึงทั้งหมดนี้ คือคำนามในภาพรวม ตัวเรา(ซึ่งเป็นคน) เลี้ยงสัตว์ มีสิ่งของ มีสถานที่ และมีความชอบในสิ่งของหรือสถานที่นั้น(นามธรรม) ก็จะสามารถช่วยให้เราเข้าใจคำนามได้ในมุมกว้างๆ 

                 พอจะเจาะลึกเข้าไปอีก เป็นคำนามทั่วไป กับคำนามเฉพาะ ก็ให้เราเอาตัวเองเป็นหลักก่อนว่า ตอนแรกคิดว่าเราเป็นคน ซึ่งเป็นแค่คนทั่วๆไป แต่พอเรามาดูอีกที เรามีชื่อเฉพาะของเรา การมีชื่อขึ้นมาเจาะจงว่าเป็นตัวเราเนี่ยแหละ ก็เลยกลายให้คนธรรมดา กลายเป็นคนที่มีชื่อเรียกเฉพาะเจาะจง มีคนเดียวในโลกที่ชื่อแบบนี้ หน้าตาแบบนี้ แล้วเวลาเขียนชื่อเราทุกครั้ง ก็ต้องเขียนเป็นตัวอักษรใหญ่ ไม่ว่าจะชื่อเล่นหรือชื่อจริง พอคิดได้แบบนี้แล้ว เข้าใจแล้ว มันก็จะนำไปสู่การเข้าใจในเรื่องของความแตกต่างระหว่างคำนามทั่วไป กับ คำนามเฉพาะ 

               นอกจากนี้แล้ว เมื่อนึกถึงจำนวนของคำนามที่ยังไม่นับ ก็ให้นึกถึงอยู่สองพวกคือ มีเพียงหนึ่ง (เอกพจน์) และ มากกว่าหนึ่ง หรือสองขึ้นไป (พหูพจน์) ซึ่งก็จะมีกฏการทำคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ตามด้านล่างนี้แล้ว  แต่ถ้านึกถึงจำนวนของคำนามในเรื่องของจำนวนนับให้นึกถึง นับได้ (countable) กับ นับไม่ได้ (uncountable)  ซึ่งมีรายละเอียดตามข้างล่างนี้ (ก่อนที่จะอ่านเนื้อหาข้างล่าง ขอให้เข้าใจภาพรวมของคำนามที่ได้เกริ่นไว้ข้างต้นนี้ก่อน) 

ชนิดของคำนาม (

Types of Noun)

1. 

คำนามทั่วไป (Common Nouns)

 – 

กล่าวถึงคำนามที่เป็นคน สัตว์ สิ่งของ และสิ่งที่เป็นนามธรรมโดยไม่เฉพาะเจาะจง

          

คำนามทั่วไป เป็นได้ทั้งคำนามนับได้และคำนามนับไม่ได้

                   

 คือ คำนามที่สามารถนับเป็นจำนวนนับได้ เป็นได้ทั้งคำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์

          

กฎในการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ มีดังนี้

                1. 

เติม 

–s 

ได้เลย

                2. 

เติม

 – es 

หลังคำนามที่ลงท้ายด้วย

 s, z, x, sh, and ch

                3. 

คำนามที่ลงท้ายด้วย 

y

                   3.1 

เปลี่ยน 

เป็น 

ies 

ในกรณีที่หน้า 

เป็นพยัญชนะ

                   3.2 

เติม 

–s 

ได้เลย ในกรณีที่หน้า 

เป็นสระ

                4. 

คำนามที่ลงท้ายด้วย

 o

                   4.1 

เติม

 – es 

หลังคำนาม ในกรณีที่หน้า 

เป็นพยัญชนะ

                   4.2 

เติม

 – s 

ได้เลย ในกรณีที่หน้า 

เป็นสระ

                5. 

เปลี่ยน

 f 

หรือ

 fe 

เป็น

 

 ves 

หลังคำนามที่ลงท้ายด้วย

 f or fe

                   *

 

 

คำนามที่ลงท้ายด้วย

 f 

หรือ

 fe 

บางคำที่สามารถเติม

 

– s 

ได้เลย

                6. 

เปลี่ยนรูปเมื่อเป็นพหูพจน์

                   

 

คือ คำนามที่ไม่สามารถนับได้ โดยปกติจะเป็นสสารหรือความคิด

 

พจน์ของคำนามเป็นเอกพจน์ได้เท่านั้น

2. 

คำนามเฉพาะ (Proper Nouns)

 – 

ชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ จะขึ้นต้นด้วยตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ

หน้าที่ของคำนาม (

Functions of Noun)

1. 

ประธานของประโยค

 

2. 

กรรมของประโยค

 

3. กรรมของคำบุพบท

คำสรรพนาม (Pronoun)

          

คำสรรพนาม

 คือ คำที่ใช้แทนคำนาม ส่วนเรื่องคำสรรพนามที่ไม่มีอะไรมาก เห็นคำนี้เมื่อไหร่ ให้นึกทันที ว่าเค้าทำหน้าที่แทนคำนาม ก็จะมีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็ทำงานตามหน้าที่ตามชื่อ ไม่ยาก แต่อาศัยท่องจำในตอนแรกบวกกับ ความเข้าใจในเรื่องของตำแหน่งประเภทของคำที่เราต้องทราบ ซึ่งจะได้อธิบายไว้ในการใช้ของแต่ละข้อ 

ชนิดของคำสรรพนาม 

(

Types of Pronoun)

1. 

บุรุษสรรพนาม (

Personal Pronoun)

    

 

คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคน สถานที่ สิ่งของ และความคิด

    1.1 

คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นประธาน

 (Subject Pronouns) ให้สังเกตคำนามที่อยู่หน้ากริยา แล้วเลือกใช้คำสรรพนามแทนให้เหมาะสมตามความหมายของคำนามนั้น ว่าแปลแล้ว เป็นคนที่เป็นผู้ชาย ผู้หญิง หรือสัตว์ หรือสิ่งของ หรือเป็นคนที่มีหลายคน ซึ่งต้องพิจารณาอีกว่า คนที่มีหลายคนจะใช้คำว่าอะไร (ขึ้นอยู่กับความสามารถในการแปลคำนามนั้นๆ)

          – I, You, We, They, He, She, It

    1.2 

คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรม

 (Object Pronouns) คำอธิบายเกือบจะเหมือนข้อ 1.1 แต่ต่างกันตรงที่ให้สังเกตคำนามที่อยู่ หลัง กริยา

          – me, you, us, them, him, her, it

2. 

สรรพนามเจ้าของ

 (

Possessive Pronouns)

      คือ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ

    2.1 

คําคุณศัพท์ที่ใช้ขยายนามเพื่อบอกความเป็นเจ้าของของนา

ม (

Possessive Adjective Pronouns) คำสรรพนามชนิดนี้ ต่างจาก 2.2 โดยต้องมีคำนามตามหลัง (อยู่หน้าคำนาม) เนื่องจาก ชื่อของมันคือ Possessive Adjective
ถ้าใครทราบว่า Adjective แปลว่า คำคุณศัพท์ ทำหน้าที่ขยายคำนาม ตำแหน่งของเค้าอยู่หน้าคำนาม ก็จะเป็นหน้าที่ของคำสรรพนามชนิดนี้ทั้งหมด ทั้งเรื่องการขยายคำนาม และตำแหน่งที่เค้าอยู่

– my, your, our, their, his, her, its

    2.2 

คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ (

Possessive Pronouns) คำสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของชนิดนี้ ชื่อก็บอกยี่ห้ออยู่แล้วว่า Possessive Pronoun แสดงความเป็นเจ้าของ แต่เป็นเจ้าของแบบแทนคำนามเลย

          – mine, yours, ours, theirs, his, hers, its

3.  

สรรพนามตนเอง (

Reflexive Pronouns)

         คือ

 สรรพนามที่แสดงตนเอง แสดงการเน้น ย้ำให้เห็นชัดเจน เป็นการเน้นย้ำว่า “ประธานกระทำกริยานั้นด้วยตนเอง” จะใช้ยังไง ให้ดูที่ประธานของประโยคเป็นหลัก ซึ่งประธานของประโยค สามารถเป็นได้ทั้งคำนามและคำสรรพนาม ต้องแปลและสังเกตได้เอง

           – myself, yourself/yourselves, ourselves, themselves, himself, herself, itself

ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions )

รูปกรรมของบุพบท  objects of prepositions   Gerunds (เจอรันสฺ) เป็นกริยารูปหนึ่งที่ลงท้ายด้วย ing และทำหน้าที่เป็น คำนาม (noun) ฉะนั้นตำแหน่งของคำกริยาประเภทนี้ในประโยคคือ ประธาน (subject) กรรมตรง (direct object) ประธานเสริม (subject complement) และกรรมของบุพบท (object of preposition)
ตำแหน่งของ Gerunds

Gerunds (เจอรันสฺ) เป็นกริยารูปหนึ่งที่ลงท้ายด้วย ing และทำหน้าที่เป็น คำนาม (noun) ฉะนั้นตำแหน่งของคำกริยาประเภทนี้ในประโยคคือ ประธาน (subject) กรรมตรง (direct object) ประธานเสริม (subject complement) และกรรมของบุพบท (object of preposition)
ตำแหน่งของ Gerunds
1. ประธาน (subject)
ตัวอย่าง
Traveling might satisfy your desire for new experiences.
การเดินทางอาจจะสนองตอบความปรารถนาด้วยประสบการณ์ใหม่ๆ ของคุณ
หมายเหตุ กรณีนี้รูปกริยา Traveling เป็นประธาน ก็เพราะวางอยู่หน้ากริยาหลักของประโยค นั่นคือ might satisfy
2. กรรมตรง (direct object)
ตัวอย่าง
I hope that you appreciate my offering you this opportunity.
ผมหวังว่าคุณจะชื่นชอบการที่ผมให้โอกาสคุณครั้งนี้
หมายเหตุ กรณีนี้ my offering you this opportunity เป็นกรรมตรง ก็ เพราะเป็นการตอบคำถามว่า ชื่นชอบ <appreciate> “อะไร’’
3. ประธานเสริม (subject complement)
ตัวอย่าง
His favorite activity is playing golf.
กิจกรรมที่ชื่นชอบของเขาคือการเล่นกอล์ฟ
= Playing golf is his favorite activity.
หมายเหตุ กรณีนี้ playing golf เป็นเสมือนประธานเสริม อยู่หลัง verb to be “is” ส่วน Playing golf ที่วางอยู่หน้าประโยค ทำหน้าที่ประธาน
4. กรรมของบุพบท (object of preposition)
ตัวอย่าง
She suffered for years without complaining.
เธอทนทุกข์มาหลายปีโดยไม่ปริปากบ่น
หมายเหตุ กรณีนี้รูปกริยา complaining วางอยู่หลังบุพบท <preposition> คือ “without” จึงถือว่าเป็นกรรมของบุพบท
ประเภทของ Gerunds
จากตัวอย่างข้างบน อาจจะกล่าวคร่าวๆ ได้ว่า gerunds อาจจะเป็นกริยารูป ing ที่ทำหน้าที่นามที่เป็นคำเดี่ยว เรียกว่า single-word gerunds และที่เป็นวลี คือมีถ้อยคำอื่นตามหลังกริยารูป ing ที่ทำหน้าที่นาม เรียกว่า gerund phrase เช่น
single-word gerunds         gerund phrases
traveling                                           traveling to the countryside
waiting                                              waiting for a bus
การใช้     
สิ่งที่ท่านผู้อ่านจะได้ศึกษาและเรียนรู้ต่อไปนี้ นับว่ามีความสำคัญและต้องจดจำ หรือฝึกใช้ให้บ่อย โดยผู้เขียนจะขอกล่าวเป็นกรณีไปดังนี้
1. gerunds after verbs
2. gerunds after prepositions
3. gerunds after adjectives with prepositions
4. gerunds after verbs with prepositions
5. gerunds after verbs and objects
6. gerunds after “go”
7. gerunds with passive meaning
8. gerunds after some expressions
ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
1. gerunds after verbs
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำกริยา (verbs) ต่อไปนี้ ได้แก่
admit                 advise             appreciate          avoid
complete         consider         delay                    deny
detest                dislike             enjoy                    escape
excuse               finish               like (=enjoy)    postpone
practise             mind               miss                      begin
continue           hate                 prefer                  risk
suggest              involve           justify                 spend (time)
resist                  resume           waste(time)      quit
delay                  fancy               forgive               put off
can’t help         can’t stand     can’t resist
ตัวอย่าง
I appreciate his playing that music.
ผมชื่นชอบการเล่นบทเพลงนั้นของเขา
We prefer his writing to speaking about important matters.
เราชอบการเขียนมากกว่าการพูดของเขาเกี่ยวกับเรื่องสำคัญๆ
Do you mind opening the window?
คุณจะรังเกียจไหมครับที่จะเปิดหน้าต่างให้หน่อย
Mother doesn’t like me wearing this suit.
แม่ไม่ชอบให้ดิฉันสวมใส่ชุดนี้
หมายเหตุ มีบ่อยที่หน้า gerund มี object pronouns เช่น me, him, her, them, us, you, it หรือ possessive adjectives เข่น my, his, her, their, our, your, its เมื่อวางอยู่หลังคำกริยาดังกล่าวมา
โปรดดูตัวอย่างเพิ่มเติมจากหมายเหตุในหัวข้อนี้
(1) ใช้รูป possessive adjective + gerund
When she hears her husband’s (whistle) she accompanies it with (sing).
→When she hears his whistling she accompanies it with singing.
(2) ใช้รูป object pronoun + gerund
I remember George (take) out his cheque book but I didn’t notice him (write) it.
→I remember him taking out his cheque book but I didn’t notice him writing it.
2. gerunds after prepositions
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำบุพบท ได้แก่ for, of, on, after, before, with, without, by, from, about, at
ตัวอย่าง
Instead of celebrating at home, they went out to dinner.
แทนที่จะฉลองกันอยู่ที่บ้าน พวกเขากลับออกไปทานอาหารเย็นนอกบ้านShe made a wish before blowing out the candles.
เธออธิษฐานก่อนจะเป่าเทียนให้ดับ
He was fined for driving without lights.
เขาถูกปรับฐานขับรถโดยไม่เปิดไฟ
3. gerunds after adjectives with prepositions
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำคุณศัพท์ (adjectives) ที่มีบุพบท (prepositions) ตามหลัง ได้แก่
afraid of             good at                committed to      happy about
content with     interested in     amazed at/by      mad at/about
ashamed of       aware of              bored with/by    capable of
tired of               excited about    worried about    disappointed                                                                                                                                 in/with
fond of               glad about           guilty of                different from
opposed to       proud of              reponsible for     satisfied with
sick of                sorry about        sorry for               sure of
surprised at     upset about       be/get used to     famous for
ตัวอย่าง
Children are always happy about celebrating birthdays.
เด็กๆ มีความสุขในการฉลองวันเกิด
I am fond of swimming.
ฉันชอบว่ายน้ำ
I am tired of listening to you.
ผมเบื่อฟังคุณ
4. gerunds after verbs with prepositions.
เราใช้ gerunds กับคำกริยา (verbs) ที่มีบุพบท (prepositions) ตามหลัง ได้แก่
admit to                  believe in         count on         dream of/about
give up                    object to           thank… for     think of
adjust to                 agree with        approve of      blame…for
care about             consist of         decide on         depend on/upon
feel like                   hear about      insist on             look for
prevent…from    rely on/upon     succeed in     suspect…of
warn…about        talk about           take care of    forget about
hear of                   plan on                 forget about    look forward to
argue about         refrain from       concentrate on      discourage from
ตัวอย่าง
She thanked the man for helping her.
เธอชอบคุณผู้ชายที่ช่วยเหลือเธอ
I look forward to receiving your reply.
ผมรอคอยที่จะได้รับคำตอบของคุณ
Have you ever thought about sending flowers to her?
คุณเคยคิดว่าจะส่งดอกไม้ไปให้เธอบ้างไหม
5. gerunds after verbs and objects
เราใช้ gerunds หลังคำกริยา (verbs) ที่มักมีกรรม (objects) รองรับ ดังโครงสร้าง verb + object + gerund ได้แก่
find         hear         notice    see
watch     feel         observe     smell
ตัวอย่าง
The waiter heard a man yawning.
พนักงานเสิร์ฟได้ยินชายคนหนึ่งหาว
Did you notice them waving?
คุณสังเกตเห็นพวกเขาโบกมือหรือเปล่า
หมายเหตุ คำกริยาดังกล่าวในข้อนี้ เป็นกริยาที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สึก (verbs of sensation/perception) ซึ่งสามารถตามด้วยรูป bare infinitive (หรือกริยช่อง 1 ที่ไม่มี to (ข้างหน้า) ความแตกต่างอยู่ที่ action กล่าวคือ หากหลังกริยาเหล่านี้ ใช้รูป gerund จะแสดงสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น แต่ถ้าใช้ bare infinitive จะไม่เน้นสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น ดังนั้น ในตัวอย่างดังกล่าวข้างบน อาจจะใช้ bare infinitive ก็ได้ ดังนี้
The waiter heard a man yawn.
Did you notice them wave?
6. gerunds after “go”
เราใช้ gerund หลังกริยา go (รวม went และ gone) เมื่อตามด้วย คำกริยา (verbs) ที่แสดงความหมายเชิงกิจกรรมสันทนาการ (recreational activities) ได้แก่
boat            fish        sail         ski
bowl            hike        shop     swim
camp        hunt        sightsee     windsurf
dance         jog        skate     canoe
ตัวอย่าง
I went shopping with my husband yesterday.
ดิฉันได้ไปจับจ่ายซื้อของกับสามีของดิฉันเมื่อวานนี้
Would you like to go boating with me?
คุณอยากไปพายเรือเล่นกับผมไหม
We went sightseeing around Bangkok two days ago.
เราไปเที่ยวชมรอบกรุงเททฯ เมื่อสองวันที่ผ่านมา
7. gerunds with passive meaning
หลังคำกริยาบางคำ ตามด้วยรูป gerunds ซึ่งให้ความหมายเชิงถูกกระทำ (passive meaning) คำกริยาเหล่านี้ ได้แก่
need     want     merit     deserve
ตัวอย่าง
Your hair needs cutting.
= Your hair needs to be cut.
ผมของคุณสมควรจะได้รับการตัดได้แล้ว
My shoes want mending.
= My shoes want to be mended.
รองเท้าของผมควรจะได้รับการซ่อมได้แล้ว
His brave action deserves rewarding.
= His brave action deserves to be rewarded.
การกระทำที่กล้าหาญของเขาสมควรที่จะได้รับรางวัล
8. gerunds after some expressions
เราใช้ gerunds หลังข้อความบางอย่าง ได้แก่
It’s a waste of time/money/…
It’s no use …
It’s (not) worth …
There’s no point (in) …
have fun/a good time/trouble/difficulty/…
spend/ waste time
What about …? (ใช้เพี่อการเสนอแนะ)
How about…? (ใช้เพื่อการเสนอแนะ)
ตัวอย่าง
We had a good time watching the ice skating competition.
เราได้รับความสนุกสนานที่ได้ชมการแข่งสเก็ตน้ำแข็ง
It’s not worth reparing the machine.
มัน ไม่คุ้มค่าที่จะซ่อมเครื่องจักรดังกล่าว
It’s a waste of time watching that movie.
เสียเวลาเปล่าที่จะชมภาพยนตร์เรื่องนั้น
ต่างความหมาย
คำกริยาบางคำ เมื่อตามด้วยรูป gerunds และ infinitives จะให้ความหมายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้การจะเลือกใช้รูป gerunds หรือ infinitives ต้องอาศัยการตีความหมายเป็นสำคัญ ได้แก่
1. remember + gerunds vs remember + to-infinitives
ตัวอย่าง
I remember posting the letter.
ฉันจำได้ว่าได้ส่งจดหมายไปแล้ว
I must remember to post the letter.
ฉันจะต้องจำให้ได้ว่าจะต้องส่งจดหมาย
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป remember + gerund หมายถึง “จำได้ในสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว’’ ส่วนรูป remember + to-infinitive หมายถึง “จำไว้ว่าจะทำสิ่งนั้นๆ” แสดงว่ายัง ไม่ได้กระทำสิ่งนั้น
2. forget + gerunds VS forget + to-infinitives
ตัวอย่าง
I forgot taking the exam.
ผมลืมไปว่าได้เข้าสอบแล้ว
I forgot to take the exam yesterday.
ผมลืมเข้าสอบเมื่อวานนี้
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป forget + gerund หมายถึง “ลืมในสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้ว” ส่วนรูป forget + to-infmitive หมายถึง “ลืมที่จะกระทำสิ่งนั้น’’
3. regret + gerunds vs regret + to-infinitives
ตัวอย่าง
I regret saying what I said.
ผมเสียใจที่พูดในสิ่งที่พูดออกไป
I regret to say I feel ill.
ผมเสียใจที่จะกล่าวว่าผมป่วย
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป regret + gerund หมายถึง “เสียใจในสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว’’ ส่วนรูป regret + to-infinitive หมายถึง” เสียใจในสิ่งที่จะกระทำ’’ แสดงว่าไม่ได้ทำมาในอดีต
สรุป จากกรณีการใช้ที่นำมาเปรียบเทียบกันทั้งในรูปของการตามด้วย gerunds และ to-infinitives พอจะสรุปรวบยอดเพื่อให้เป็นแนวคิดในการตัดสินใจใช้คำกริยาทั้ง 3 คำ ระหว่างตามด้วย gerunds และ infinitives ได้ดังนี้
ก. ตามด้วย gerunds หมายถึง อดีต (past) คือ ได้เกิดขึ้นไปแล้ว
ข. ตามด้วย to-infinitives หมายถึง ปัจจุบัน (present) หรือ อนาคต (future) คือ ยังไม่เกิด หรือยังไม่ได้กระทำ
4. try + gerunds VS try + to-infinitives
ตัวอย่าง
I try holding my breath.
ผมทดลองกลั้นลมหายใจ
I try to hold my breath.
ผมพยายามกลั้นลมหายใจ
หมายเหตุ เมื่อใช้ try + gerund จะหมายถึง “ทดลอง’’ (experiment) เหมือนกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์แต่ถ้าใช้ try + to-infinitive จะหมายถึง “พยายาม’’ คือ พยายามที่จะทำบางสิ่งบางอย่าง
5. stop + gerunds vs stop + to-infinitives
ตัวอย่าง
You must stop smoking.
คุณจะต้องหยุด (เลิก) สูบบุหรี่
He stopped his car to smoke.
เขาจอดรถเพื่อจะสูบบุหรี่
หมายเหตุ เมื่อใช้ Stop + gerund จะหมายถึง “หยุดทำในสิ่งที่กำลังทำอยู่” แต่ถ้าใช้ stop + to-infinitive จะหมายถึง “หยุด (สิ่งหนึ่ง) เพื่อจะทำอีกสิ่งหนึ่ง”
6. go on + gerunds vs go on + to-infinitives
ตัวอย่าง
Go on talking.
พูตต่อไป
We went on to discuss finance.
เราได้หันไปพูดถึงเรื่องการเงิน
หมายเหตุ เมื่อใช้ go on + gerund จะหมายถึง “ดำเนินต่อไปในสิ่งที่กำลังทำอยู่’’ แต่ถ้าใช้ go on + to-infinitive จะหมายถึง “เปลี่ยนไปทำอีกสิ่งที่ต่างไปจากสิ่งเดิม”
7. mean + gerunds vs mean + to-infinitives
ตัวอย่าง
Having a party tonight will mean working extra hours tomorrow.
การจัดงานเลี้ยงคืนนี้จะหมายถึงการทำงานล่วงเวลาเพิ่มขึ้นพรุ่งนี้
I mean to work harder next year.
ผมตั้งใจจะทำงานหนักขึ้นปีหน้า
หมายเหตุ เมื่อใช้ mean + gerund คำว่า mean = signify แปลว่า “หมายถึง” ส่วนเมื่อใช้ mean – to-infinitive คำว่า mean = intend แปลว่า “ตั้งใจ”
ที่มา:รองศาสตราจารย์ทณุ  เตียวรัตนกุล


ฝึกแต่งประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน | V.to be | is am are was were | เรียนง่ายภาษาอังกฤษ


เรียนภาษาอังกฤษ ฝึกแต่งประโยคในชีวิตประจำวัน ฟรีภาษาอังกฤษ
คลิปนี้จะมาสอนการฝึกแต่งประโยคด้วยการใช้ verb to be จะมาทำความรู้จักกับ verb to be is am are was were แต่งประโยคปัจจุบันอดีตอนาคตโครงสร้างประโยคทั่วไปประธานกริยากรรมจำที่ใช้หลัง verb to be

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ฝึกแต่งประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน | V.to be | is am are was were | เรียนง่ายภาษาอังกฤษ

คำศัพท์ สัตว์ ภาษาอังกฤษ Animal


คำศัพท์ สัตว์ ภาษาอังกฤษ Animal
คำศัพท์อังกฤษ ภาษาอังกฤษ กีฬาอังกฤษ

คำศัพท์ สัตว์ ภาษาอังกฤษ Animal

คำกริยา – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3


ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน
webpage : http://www.kruao.com
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE
วีดีโอนี้จะสอนเกี่ยวกับ
มาเรียนรู้ ความหมาย และการใช้ คำกริยา
ตัวอย่างคำศํพท์ และประโยค ของ คำกริยา
บทเรียนอิเล็กทรอกนิกส์ วิชา ภาษาไทย ป.3 ชุดนี้
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
http://www.otpchelp.com

คำกริยา - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3

100 คำกริยาภาษาอังกฤษverb ที่ใช้บ่อย


100 คำกริยาภาษาอังกฤษverb ที่ใช้บ่อย
กริยาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ verb
ภาษาอังกฤษใช้บ่อย,
กริยาอังกฤษ,
คำกริยาภาษาอังกฤษใช้บ่อย,
คำกริยาอังกฤษ,
คำกริยาภาษาอังกฤษ,
กริยาอังกฤษใช้บ่อย,

100 คำกริยาภาษาอังกฤษverb ที่ใช้บ่อย

รูปประโยคภาคประธานภาคกริยาภาคกรรม


เรียนรู้ Grammar โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษ กับรายการ Easy English ภาษาอังกฤษง่ายนิดเดียว

รูปประโยคภาคประธานภาคกริยาภาคกรรม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ประโยค ภาษา อังกฤษ ประธาน กริยา กรรม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *