Skip to content
Home » [Update] การเฉลี่ยภาษีซื้อ กิจการซื้อมาขายไป บริการ ผลิต – บริษัท บี.อี. แอคเคาน์ติ้ง เซอร์วิสเซส จำกัด 0918303543 | ซื้อของไม่มี vat ขายมี vat – NATAVIGUIDES

[Update] การเฉลี่ยภาษีซื้อ กิจการซื้อมาขายไป บริการ ผลิต – บริษัท บี.อี. แอคเคาน์ติ้ง เซอร์วิสเซส จำกัด 0918303543 | ซื้อของไม่มี vat ขายมี vat – NATAVIGUIDES

ซื้อของไม่มี vat ขายมี vat: คุณกำลังดูกระทู้

การเฉลี่ยภาษีซื้อ

เรียนอาจารย์สุเทพคะ

บริษัทเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าเพียงอย่างเดียว ซึ่งมีการขายสินค้าทั้งในประเทศ (มี VAT) และต่างประเทศ (ไม่มี VAT) โดยการขายต่างประเทศนั้น มีการส่งสินค้าจากประเทศผู้ผลิตไปยังประเทศลูกค้าโดยตรง ไม่ได้นำเข้ามาในประเทศแล้วส่งออกไป (รายได้จากการขายสินค้าไปต่างประเทศ ประมาณ 2 ใน 3 ของรายได้ทั้งหมด)

คำถาม : ภาษีซื้อที่เกิดจากค่าใช้จ่ายต่างๆ ของกิจการ เช่น ค่าใช้บริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือค่าเช่าสำนักงาน ต้องถูกนำมาเฉลี่ยตามสัดส่วนของยอดขายก่อน แล้วนำมาใช้เพียงบางส่วนหรือไม่

(เจ้าหน้าที่กรมสรรพากรอ้างถึง ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 29) และคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.89/2542 แต่ทางบริษัทเห็นว่า บริษัทจดทะเบียนประกอบกิจการขายสินค้าเพียงอย่างเดียว ไม่ได้จดทะเบียน 2 ประเภทดังที่กล่าวในประกาศ ฉ.29)

 

กรณีบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าเพียงอย่างเดียว ซึ่งมีการขายสินค้าทั้งในประเทศ ซึ่งเป็นรายได้จากกิจการที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT: In to In) และการขายสินค้าในต่างประเทศ (ไม่มี VAT) โดยการขายต่างประเทศนั้น มีการส่งสินค้าจากประเทศผู้ผลิตไปยังประเทศลูกค้าโดยตรง ไม่ได้นำเข้ามาในประเทศแล้วส่งออกไป (รายได้จากการขายสินค้าไปต่างประเทศ ประมาณ 2 ใน 3 ของรายได้ทั้งหมด) ซึ่งถือเป็นรายได้ที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Non VAT: Out to Out/ Out of Scope VAT)

เช่นนี้ สำหรับภาษีซื้อที่เกิดจากค่าใช้จ่ายต่างๆ ของกิจการ เช่น ค่าใช้บริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือค่าเช่าสำนักงาน ซึ่งเป็นภาษีซื้อที่ใช้ร่วมกันทั้งกรณีกิจการที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (ขายในประเทศ) และกิจการที่ไม่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (ขายในต่างประเทศ Out of VAT Scope)

ไม่ต้องนำมาเฉลี่ยตามสัดส่วนของยอดขายก่อน แล้วนำมาใช้เพียงบางส่วน แต่อย่างใด ทั้งนี้ ตามข้อ 4 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 29) ดังต่อไป

ขอบคุณค่ะ

http://www.taxguruthai.com

[NEW] 5 ข้อระวังหลังจด VAT แล้ว (ไม่ให้เสียค่าปรับ) | ซื้อของไม่มี vat ขายมี vat – NATAVIGUIDES

    Use tab to navigate through the menu items.


    ซื้อของไม่มี vat ขายเปิด vat ได้


    อย่าลืม !! กดไลค์ กด subscribe ช่องยูทูป บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ
    ฟังเนื้อหาต่อได้ที่ fanpage facebook :https://bit.ly/2Y3h11K​​
    สอบถามปัญหาภาษีได้ที่ Line @bunchee.easy

    นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

    ซื้อของไม่มี vat ขายเปิด vat ได้

    สินค้า ไม่มี VAT | VAT ใน | VAT นอก | ใบกำกับภาษี [C2MPOS]


    สินค้า ไม่มี VAT | VAT ใน | VAT นอก | ใบกำกับภาษี [C2MPOS]

    #ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?


    เคยไหม? เวลาไปซื้อของแล้วเค้าบอกว่าของชิ้นเดียวกันมีราคาต่างกัน ถ้าเอา VAT ต้องบวกเพิ่มราคาอีก 7% แต่ถ้าไม่บวก VAT ขายได้ทันทีในราคานี้จ้า อ๊ะ นี่มันคืออะไร ทำไมถึงเกิดเรื่องแบบนี้ได้!!
    ก่อนที่จะเล่าว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้น ขออธิบายหลักการของภาษีมูลค่าเพิ่มให้ฟังกันก่อน พูดให้ง่ายที่สุด ภาษีมูลค่าเพิ่มคือภาษีที่เรียกเก็บจากผู้ขายสินค้าหรือให้บริการ แต่ผลักภาระให้ผู้บริโภคเป็นคนจ่ายนั่นเอง
    ชักจะงงกันไปใหญ่ เอาว่าไม่เป็นไร มาดูตัวอย่างกันดีกว่า สมมติว่า กิจการนี้มีการซื้อสินค้ามาใน 100 บาท แล้วเอามาขายในราคา 200 บาท
    ถ้าหากไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
    จะเห็นว่ากำไรเท่ากับ 200 100 = 100 บาท
    แต่ถ้าหากกิจการตามตัวอย่างมีการจดทะเบียน VAT หรือเรียกภาษากฎหมายว่าเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้าในราคา 200 บาทจะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มไปอีก 7% หรือ 14 บาท รวมเป็น 214 บาท
    และถ้าหากกิจการเดียวกันนี้ไปซื้อของจากธุรกิจที่จดทะเบียน VAT เหมือนกัน ของในราคา 100 บาทนั้น ก็จะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มอีก 7% หรือ 7 บาท รวมเป็น 107 บาท
    ทีนี้ เมื่อมีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
    กำไรของกิจการก็จะไม่เปลี่ยนหรอกนะ
    มันยังเท่าเดิม คือ 100 บาทนั่นแหละ (อ้าว)
    แต่สิ่งที่เปลี่ยนคือ
    เงิน 14 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีขาย
    ส่วน 7 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีซื้อ
    โดยในทุกครั้งที่ขายสินค้าให้บริการ (เป็นคนขาย)
    จะต้องออกใบกำกับภาษีให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด
    รายละเอียดเพิ่มเติมรับชมได้ในคลิปนี้เลยจ้า
    ภาษี10นาที ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี ภาษีซื้อ ภาษีขาย ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี คำนวณภาษี ความรู้ภาษี
    ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
    กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
    ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
    FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
    Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
    Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

    #ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?

    คลิปที่ 5/100 ซื้อของไม่มีใบกำกับบันทึกได้หรือไม่


    หากซื้อสินค้าแล้วสินค้านั้นไม่มี VAT จะสามารถบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและใช้เป็นภาษีได้หรือไม่
         
    ถ้าซื้อไม่เยอะสามารถเอาเข้าในระบบเงินสดย่อยได้ ส่วนยอดที่ใหญ่และไม่มีใบกำกับจริงๆ ให้ขอสำเนาบัตรประชนของคู่ค้ามาด้วย พร้อมกับสลิปการโอนเงิน พยายามอย่าจ่ายเป็นเงินสด ให้หาหลักฐานมากที่สุด แต่ต้องมั่นใจว่าแหล่งที่ซื้อต้องไม่สามารถออกได้จริงๆ

    อย่าลืม !! กดไลค์ กด subscribe ช่องยูทูป บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ
    ฟังเนิ้อหาต่อได้ที่ fanpage facebook :https://bit.ly/2Y3h11K
    สอบถามปัญหาภาษีได้ที่ Line @bunchee.easy

    คลิปที่ 5/100  ซื้อของไม่มีใบกำกับบันทึกได้หรือไม่

    ขายของไม่มี vat 7% ยอดขาย 1.8 ล้าน จะต้องจด vat ไหม?


    กด ติดตาม กด like กด กระดิ่ง เป็นกำลังใจ ด้วยนะครับ
    แฟนเพจครับ
    https://www.facebook.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A1channal103984517833330
    รับโฆษณาสปอนเซอร์ และรีวิวสินค้า ติดต่อทาง
    โทร.0968265593
    Email: [email protected]

    ร้านขายของชำสินค้าไม่มีvat

    ขายของไม่มี vat 7% ยอดขาย 1.8 ล้าน จะต้องจด vat ไหม?

    นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

    ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ซื้อของไม่มี vat ขายมี vat

    Leave a Reply

    Your email address will not be published. Required fields are marked *