Skip to content
Home » [NEW] Verb คืออะไร / Verb มีอะไรบ้าง อธิบายละเอียด! | v คือ อะไร – NATAVIGUIDES

[NEW] Verb คืออะไร / Verb มีอะไรบ้าง อธิบายละเอียด! | v คือ อะไร – NATAVIGUIDES

v คือ อะไร: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

36

SHARES

Facebook

Twitter

Verb คืออะไร  Verb มีอะไรบ้าง และหลักการใช้ Verb มีอะไรบ้าง: สรุปคร่าวๆ Verb แปลว่า คำกริยา แบ่งแยกออกเป็นหลายชนิดหลายประเภท แล้วแต่ตำราว่าจะแบ่งโดยใช้หลักเกณฑ์ใด ส่วนหลักการใช้นั้น ประเด็นที่สำคัญจะอยู่ที่ Tense ทั้ง 12 ครับ

verb คืออะไร

Table of Contents

หัวข้อในการเรียนรู้ Verb (คำกริยา)

  • Verb  คืออะไร
  • Verb มีอะไรบ้าง
  • หลักการใช้ Verb ใช้ยังไง
  • ตัวอย่าง Verb ที่ใช้บ่อย

♦ Verb คืออะไร

Verb is a word or phrase that describes an action, condition, or experience

Verb อ่านว่า เวิบ คือ คำหรือกลุ่มคำที่บรรยาย การกระทำ สถานะ หรือประสบการณ์

กล่าวคือ เป็นคำที่บอกให้รู้ว่าประธานของประโยค ทำอะไร หรือมีสถานะเป็นอย่างไรนั่นเอง เช่น

A man eats a mango.  ผู้ชาย กิน มะม่วง – คำว่า eat บอกการกระทำ

The sun is hot. พระอาทิตย์ (คือ) ร้อน – คำว่า is บอกสถานะของพระอาทิตย์ว่าเป็นอย่างไร แต่คำว่า is am are บางทีจะไม่แปลกัน

I feel cold. ฉัน รู้สึก หนาว – คำว่า feel บอกประสบการณ์ของตัวฉันให้รู้ว่าฉันรู้สึกอย่างไร

♦ Verb มีอะไรบ้าง มีกี่ประเภท

การแบ่งประเภทของ Verb ขึ้นอยู่กับว่า จะแบ่งกันอย่างไรนะครับ ไม่กำหนดหลักเกณฑ์ตายตัวแน่นอน

1. สกรรมกริยา (Transitive Verb) และ อกรรมกริยา (Intransitive Verb)

– สกรรมกริยา (Transitive Verb) คือกริยาที่ต้องมากรรมมารับ มิฉะนั้นจะไม่สามารถสื่อความหมายได้สมบูรณ์ คำกริยาชนิดนี้ ได้แก่ love, like, eat, hit, clean, buy, cut, do, have, make, meet เป็นต้น ถ้าไม่มีกรรมมารับจะไม่สามารถสื่อความกันได้เป็นที่เข้าใจกัน เช่น

I love. ผมรัก…. อ้าวแล้วรักอะไรล่ะ ..ดังนั้นจึงต้องมีกรรมมารองรับ

We eat. พวกเรากิน…. อ้าวแล้วกินอะไรล่ะ ..ดังนั้นจึงต้องมีกรรมมารองรับ

ตัวอย่างเช่น

  • I love you.
ผมรักคุณ (คุณเป็นกรรมของประโยค)

  • You like a cat.
คุณชอบแมว (แมวเป็นกรรมของประโยค)

  • We eat rice.
พวกเรากินข้าว (ข้าวเป็นกรรมของประโยค)

• They buy a car.
พวกเขาซื้อรถยนต์ (รถยนต์เป็นกรรมของประโยค)

– อกรรมกริยา (Transitive Verb) คือกริยาที่ไม่ต้องมากรรมมารับ ก็สามารถสื่อความหมายได้สมบูรณ์ คำกริยาชนิดนี้ ได้แก่ sit, stand, swim, walk, sleep, fly, run, sing, dance เป็นต้น

• I sit.
ผมนั่ง

  • You stand.
คุณยืน

  • We walk.
พวกเราเดิน

• They sleep.
พวกเขานอนหลับ

จะเห็นได้ว่าแค่มีประธาน กับกริยา ก็สามารถสื่อความได้แล้วว่า ใครทำอะไร

2. กริยาแท้ (Main Verb) และ กริยาช่วย (Helping Verb)

– กริยาแท้ (Main Verb) หรือกริยาหลักของประโยค ถ้าในประโยคนั้นๆมีคำกริยาตัวเดียว จะไม่ใช่ปัญหาใดๆ เพราะคำกริยาที่ปรากฎ มันก็คือกริยาหลักของประโยคนั้นเอง เช่น

•  I walk to school.
ฉันเดินไปโรงเรียน  ( walk เป็นกริยาแท้)

  • You are a doctor. 
คุณเป็นหมอ  (are เป็นกริยาแท้)

• They sing beautifully.
พวกเขาร้องเพลงอย่างไพเราะ (sing เป็นกริยาแท้)

• They eat rice.  
พวกเขากินข้าว (eat เป็นกริยาแท้)

กริยาช่วย (Helping Verb) บ้างก็เรียกว่า auxiliary verb หมายถึง คำกริยาที่เป็นตัวเสริมเข้าไปร่วมกับกริยาแท้ ให้ถูกต้องตามโครงสร้างของประโยค โดยที่ไม่มีความหมายใดๆ

เรียนรู้เพิ่มเติม ⇒  กริยาช่วย 24 ตัว ⇐

•  I am walking to school.
ฉันกำลังเดินไปโรงเรียน  ( am เป็นกริยาช่วย ส่วน walk เติม ing เป็นกริยาแท้)

•  You are a doctor.
คุณเป็นหมอ  (are เป็นกริยาแท้)

• They are singing beautifully.
พวกเขากำลังร้องเพลงอย่างไพเราะ (are เป็นกริยาช่วย ส่วน sing เติม ing เป็นกริยาแท้)

• They have eaten rice.
พวกเขากินข้าวแล้ว (have เป็นกริยาช่วย ส่วน eaten เป็นกริยาแท้)

ปล. คำว่า is am are และ have has ถ้าปรากฎลำพังในประโยคจะเป็นกริยาแท้ แต่ถ้าไปเสริมเข้ากับกริยาตัวอื่นจะเป็นกริยาช่วย เช่น

I am a doctor.  ผมเป็นหมอ (am เป็นกริยาแท้)

I am singing. ผมกำลังร้องเพลง (am เป็นกริยาช่วย)

I have a dog. ผมมีหมาหนึ่งตัว (have เป็นกริยาแท้)

I have eaten rice. ผมกินข้าวแล้ว (have เป็นกริยาช่วย)

2. กริยาปกติ (Regular Verb) และ กริยาอปกติ (Irregular Verb)

เรียนรู้ตารางคำกริยาที่ใช้บ่อย ⇒  กริยา 3 ช่อง ⇐

กริยาปกติ (Regular Verb) คือ คำกริยาที่เติม ed ต่อท้าย ในช่อง 2 และ 3 ซึ่งเป็นการง่ายสำหรับผู้เรียน ถ้าจะผันกริยา เพราะแค่เติม ed ต่อท้ายแค่นั้นเอง เช่น

1
answer
answered
answered
ตอบ (คำถาม) รับ (โทรศัพท)

2
arrive
arrived
arrived
มาถึง ไปถึง

3
attend อะเท็นด
attended อะเท็นเด็ด
attended
(เข้าร่วม) ประชุม

4
beg เบก
begged เบกด
begged
ขอ

5
call  คอล
called คอลด
called
เรียก โทรหา

6
change เชนจึ
changed เชนจดึ
changed
เปลี่ยน

7
clean คลีน
cleaned คลีนด
cleaned
 ทำความสะอาด

กริยาอปกติ (Regular Verb) จะเรียกมันว่า กริยาผิดปกติก็ได้นะ เพราะกริยากลุ่มนี้ จะแปลงร่างตัวเอง ในช่อง 2 และ 3 ซึ่ง ทำให้ผู้เรียนต้องจดจำให้ได้ว่า มันแปลงร่างไปยังไง และบางคำก็คงรูปเดิมไว้ซะอย่างนั้น เช่น

1

be = is, am, are
was, were
been
เป็น อยู่ คือ

2

become (บิคั๊ม)
became  (บิเค๊ม)
become
กลายเป็น

3

begin (บิกิ๊น)
began  (บิแก๊น)
begun (บิกั๊น)
เริ่มต้น

4

cut คัท
cut
cut
ตัด

5

do ดู
did ดิด
done ดัน
ทำ

6

go โก
went เว็นท
gone กอน
ไป

♦  หลักการใช้ Verb ใช้ยังไง

หลักการใช้ verb จะว่าไปแล้วมันก็คือ Verb Tense หรือ Tense 12 นั่นแหละครับ คำกริยาคำเดียวเดียวกัน สามารถสื่อความได้ว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต

eat.  ฉันกิน

am eating.  ฉันกำลังกิน

have eaten. ฉันกินเสร็จแล้ว

I ate. ฉันกินมาแล้ว

I will eat. ฉันจะกิน

เรียนรู้หลักการใช้  Verb  ⇒ Tense 12 ⇐

♦ ตัวอย่าง Verb ที่ใช้บ่อย

ตัวอย่างของ Verb ที่ใช้บ่อยๆมีอะไรบ้าง คลิกตรงนี้เลยครับ   ⇒ กริยา 3 ช่องที่ใช้บ่อย ⇐

ขอ 5 ดาวให้บทเรียนด้วยครับผม…

คลิกดาวดวงที่ขวามือสุดเลยครับครับ…

Average rating 4.5 / 5. Vote count: 320

ยังไม่มีใครให้ดาว คุณคือคนแรก….

[NEW] Vue.js คืออะไร? + สอนใช้งาน Vue.js ฉบับเริ่มต้น | v คือ อะไร – NATAVIGUIDES

ปัจจุบัน Vue.js เป็นหนึ่งใน Web Framework ที่คนนิยมนำมาพัฒนาเว็บไซต์ (3 เจ้าใหญ่ๆ คือ React, Vue, Angular นั่นเอง) วันนี้ผมจะมาทำ Tutorial อธิบายว่า Vue.js คืออะไร? ไปจนถึงสอนวิธีการใช้งาน Vue.js ตั้งแต่เริ่มต้น เข้าใจ Concept ภาพรวม จนจบบทความ ทุกคนสามารถสร้างเว็บไซต์ได้เองโดยใช้ Vue.js

ซึ่งนอกจาก Vue.js แล้ว ก็มีบทความ React และ Angular สำหรับมือใหม่ด้วยครับ (เขียนไว้นานแล้ว จะทยอยอัพเดทเนื้อหานะครับ)

ก่อนเริ่มต้นบทความ Vue.js จริงๆแล้ว สิ่งที่ผู้อ่านทุกคนควรรู้ เพื่อที่จะไปต่อได้ เพราะหากไม่รู้พื้นฐานเหล่านี้ แน่นอนว่าไปต่อ Vue.js ลำบากครับ ฉะนั้นควรมีความรู้เหล่านี้มาก่อน และบทความนี้ผมจะ Assume ว่าทุกคนต้องรู้นะครับ เลยจะไม่อธิบายว่าคืออะไร

ถ้าหากเตรียมตัวพร้อมแล้ว ก็ลุยกันได้เลยครับ ส่วนใครไม่ได้เตรียมตัวหรือไม่มีความรู้พื้นฐานมาก่อน ก็ลองอ่านดูครับ ถ้าไม่เข้าใจ ก็แค่กลับไปอ่านพื้นฐาน 😂

Vue.js อ่านว่า วิว ออกเสียงแบบ View ในภาษาอังกฤษ จุดเริ่มต้นของ Vue เลยคือมันทำหน้าที่เป็น View ใน MVC (Model View Controller) นั่นแหละ เป็น JavaScript Framework ที่พัฒนาโดย Evan You เอาไว้สำหรับพัฒนาพวก UI (User Interface) และในบาง Framework เช่น Laravel ก็ใช้ Vue เป็น Template สำหรับส่วน UI (Frontend) ซึ่ง Vue.js ไม่ได้มี back ใหญ่ๆแบบ Angular (Google) หรือ React (Facebook) แต่ก็มี community ชาวจีนที่ค่อนข้างใหญ่ รวมถึง Alibaba ด้วย

มาลองเริ่มต้นเขียน Vue.js กันดีกว่าครับ เริ่มแรก เริ่มจากง่ายๆก่อน คือสมมติมีไฟล์ index.html ไฟล์นึง ใน body มีแค่ div อันเดียว แบบนี้

Getting started with Vue.js

< title > Getting started with Vue.js </ title >

ต่อมาเราจะใช้ Vue Framework เราก็แค่ทำการเรียก script tag ไปที่ไฟล์ js ของ Vue ในที่นี้ใช้ url นี้ เพิ่มลงไปก่อนปิด </body>

ทีนี้เราก็สามารถใช้งาน Vue.js ภายในโปรเจ็คเราได้แล้ว ต่อมาเพิ่มโค๊ดลงไปในไฟล์ index.html ตรงส่วน script สำหรับ JavaScript

เพิ่มส่วน content ใน tag <div id="app"> ลงไป

ตอนนี้เราจะได้ไฟล์ index.html หน้าตาประมาณนี้

Getting started with Vue.js

< title > Getting started with Vue.js </ title >

จากโค๊ดด้านบน

ทำการเซฟแล้วลองเปิดบน Browser ลากไฟล์ไปไว้บนบราวเซอร์ หรือ Double click ก็ได้ จะเห็นคำว่า Hello Vue!

ทำไงจะลองเช็คว่ามัน link กันจริงมั้ย? เป็น Developer Tools ตรง Console ลองเปลี่ยนค่า app.message เป็นค่าที่เราต้องการ จะเห็นว่าค่าใน DOM ก็จะเปลี่ยนตามด้วย

มาดูเรื่อง Concept ของ Vue.js กันบ้างครับ หลังจากที่ลองรันหน้าเว็บด้วย Vue.js กันง่ายๆไปแล้ว

ก่อนหน้านี้เรารู้แล้วว่า data ใน vue เป็น reactive สามารถ link กันได้ระหว่าง data กับ DOM ฉะนั้น เราสามารถสร้าง data เป็น Object หรือ Array ก็ได้ รวมถึง string หรือ boolean

สำหรับการใช้ condition อันแรก คือ v-if (เรียกว่า directive) Vue จะทำการแสดงผลถ้า element นั้นๆ มี condition เป็น true และจะไม่แสดงผล ถ้าเป็น false เช่น เราเพิ่มข้อมูลเป็นดังนี้

Hey, I am here {{ message }}

< p v-if = " isMe " > Hey, I am here {{ message }} </ p >

เมื่อเราทดสอบสั่งรันโปรแกรม เราจะเห็นว่ามันแสดงคำว่า Hey, I am here เพราะว่า v-if ไปเช็ค isMe เป็น true นั่นเอง ในทางกลับกัน ถ้าเราเปลี่ยน isMe: false เราจะไม่เห็น อะไรแสดงบนหน้าจอครับ

เราสามารถ loop เพื่อแสดงผลข้อมูลได้ เช่น ใช้ ul และ li มาแสดงผลข้อมูล array โดยใช้ v-for ซึ่ง syntax ของมันคือ v-for="item in items" โดย

เราสามารถใช้งานได้แบบนี้

ต่อมามาดูเรื่อง v-on กันบ้าง โดยปกติเวลาที่เราจะรับ event onClick ของ DOM เราจะใช้ onclick ใน Vue เราสามารถใช้ directive v-on:click เข้ามาช่วยได้ แบบนี้

<

div

id

=

"

app

"

>

<

p

>

{{ message }}

</

p

>

<

button

v-on:

click

=

"

hello

"

>

Click me please!

</

button

>

</

div

>

<

script

>

const

app

=

new

Vue

(

{

el

:

'#app'

,

data

:

{

message

:

'Ahoy!'

}

,

methods

:

{

hello

:

function

(

)

{

this

.

message

=

'Thank you for click on me :)'

}

}

}

)

</

script

>


ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ?


สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimZim DIY
สำหรับวันนี้ ผมจะมาอธิบาย ไฟฟ้า 3 เฟตว่ามันคืออะไร และ ทำงานอย่างไร
ซึ่งโดยปกติทั่วไปแล้ว ตามบ้านครัวเรือนของเรา เราจะใช้ไฟฟ้าเพียง 1 เฟตเท่านั้น มันก็เพียงพอสำหรับการใช้งาน ในทุกอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เรามี
ไฟฟ้า 1 เฟต จะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ หรือ ไฟฟ้า AC
จะมีคลื่นสัญญาณที่เป็นไซน์เวฟ ที่เป็นลักษณะนี้
ถ้าหากเราต้องการนำไปใช้งาน เราจะลากสายไฟ 2เส้น ต่อโยงจาก เสาไฟฟ้า เข้ามาภายในบ้าน
นั้นก็คือ สายนิวตรอน 1 เส้น
และก็ สาย Line 1 เส้น ถ้าเราวัดแรงดันก็จะได้ประมาณ 220V ครับ
แต่บนเสาไฟฟ้าถ้าเพื่อนๆสังเกตุ เรามักจะเห็น สายไฟอยู่ 4 เส้น สายนิวตรอนจะอยู่บนสุด ไม่มีไฟ
ส่วย สาย Line จะถัดๆลงมาอีก 3 เส้น แต่ละเส้นถ้าเราวัดกับคู่นิวตรอน แรงดันก็จะเท่ากันหมด ประมาณ 220V
ที่เราคุ้นหูเราจะเรียยกสาย Line พวกนี้ว่าเป็นสาย L1 L2 และ L3
อย่งาที่ผมบอก เราสามารถคีบ สายนิวตรอนกับสาย Line 1ใน3 เส้นไหนก็ได้ แต่เราไม่สามารถขึ้นไปจั้มไปต่อเองได้นะครับ
ต้องให้เจ้าหน้าที่ไฟฟ้า เค้าดูความเหมาะสม ว่าควรจะเลือกสาย Line เส้นไหนต่อเข้าไปที่บ้านเรา
ผมเคยเจอเหตุการ์ณจริงครั้งหนึ่งนะครับ
ก็คือตอนผมเด็กๆ ที่บ้านของผมไฟฟ้ามันชอบตกบ่อยๆ ก็เลยโทรติดต่อแจ้งเจ้าหน้าที่ การไฟฟ้าเข้ามาดู ก็ปรากฎว่า
เจ้าหน้าที่ ก็ได้ปีนขึ้นไปที่เสาไฟฟ้า แล้วก็ทำการ สลับเปลี่ยนสายไฟอะไรบางอย่าง
และก็บอกว่า สายไฟเส้นเดิมที่ผมใช้ ในหมู่บ้านเค้าใช้กันเยอะแล้ว ซึ่งมันอาจจะทำให้ไฟตกได้ ในกรณีที่คนในหมู่บ้านใช้ไฟพร้อมกัน เป็นจำนวนมาก
ก็มารู้ทีหลังตอนโตว่าเขา สลับไปใช้อีกสาย line อีกเส้นหนึ่ง
ก็เลยเป็นความรู้ติดตัวตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
มาดูไฟฟ้า 2 เฟตกันบ้างครับ
เราจะใช้สาย line ที่มีไฟ 2 เส้น
line เส้นที่ 2 ก็จะเป็นคลื่นไซน์เวฟเหมือนกัน แรงดันเท่ากัน แต่รูปคลื่นสัญญาณ เฟต จะทำมุมที่ไม่เท่ากัน
มันจะเอียงทำมุมประมาณ 120 องศา
แต่ในบ้านเราไม่ค่อยเห็นมีใครใช้ไฟ 2 เฟตกันครับ ถ้าเพื่อนๆท่านไหนเคยเห็นผ่านตามาบ้างก็สามารถ คอมเมนท์เข้ามาได้นะครับ

มาดูไฟฟ้า 3เฟต กันบ้างครับ เราจะใช้สาย line ที่มีไฟ 3 เส้น line เส้นที่3 จะเป็นคลื่นไซน์เวฟ เชนเดียวกันนั้นแหละครับ ทำมุมอีก 120 องศา
ก็จะได้กราฟที่หน้าตา เหลือเชื่อ ออกมาเป็นแบบนี้ครับ
แล้วปกติเลยนะครับ สัญญาณไฟฟ้าเหล่านี้ เราก็จะแยกออกจากกัน เดินคู่กันไปบนเสาไฟฟ้า
เราก็จะสรุปได้ 1 ข้อว่า นะครับว่า ไฟ 3 เฟต แรงดัน หรือ โวล์ต จะไม่แตกต่างกัน แต่เฟตจะทำมุมต่างกัน
แล้วทำไมทั้ง 3 เฟต มีมุมสัญญาณไม่เท่ากัน
เราจะมาทำความเข้าใจ สิ่งนี้ ตั้งแต่ต้นตอกันเลยครับ นั้นก็คือ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือ เจนเนอร์เรเตอร์
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 เฟต ประกอบไปด้วย ลวดทองแดง 2 ขดลวด
โดยทั้ง 2 ขดเขาก็จะวาง มันตรงข้ามกัน แล้วปลายขดลวดด้าน1 ของทั้ง 2 ขด เราก็จะต่อเข้าด้วยกัน และ อีกด้านของแต่ละขดเราจะต่อออกมาใช้งาน
เราก็จะได้ไฟมาใช้ 1 ชุด หรือไฟ 1เฟส มาใช้เรียบร้อยแล้วครับ
ถ้าหากเราต้องการไฟฟ้ากระแสสลับออกมาใช้งาน เราเพียงแค่หมุนแม่เหล็ก ที่มีขั้วตรงกันข้าม หมุน ตัดผ่านขดลวด แค่นั้นเองครับ
ในแท่งของแกนแม่เหล็กมันก็จะมี สนามแม่เหล็กอยู่ สนามแม่เหล็กตัวนี้เอง ที่จะทำให้อิเล็กตรอนอิสระในสายไฟ ไหลไปเวียนมา
สนามแม่เหล็กในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าก็เป็นในแบบ ที่เราคุ้นเคยนั้นแหละครับ ก็จะอยู่ในรูปของวงรี และวงรีพวกนี้มันก็จะมีเส้นแรงแม่เหล็ก มาบรรจบกันตรงแกนกลาง
ให้เราคิดว่า ด้านหนึ่งจะเป็นขั้ว บวก ด้านหนึ่งเป็นขั้วลบ
และในระหว่าง แกนกลางของ วงรีเหล่านี้ สนามแม่เหล็กจะเป็น 0
สำหรับความเข้มของสนามแม่เหล็ก
สนามแม่เหล็กตรงกลางที่มันนูนๆ จะให้พลังงานมากที่สุด ตรงขอบโค้งที่มันตกลงตรงนี้ จะให้พลังงานน้อยลง และแกนกลางจะไม่มีพลังงานใดๆ เกิดขึ้นจะเป็น Neutral
ดังนั้น ขณะ ที่สนามแม่เหล็ก หมุนตัดผ่านขดลวด มันก็จะมีความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กไม่เท่ากันเกิดขึ้น และนี่ทำให้เราเห็นสโคป ของกระแสสลับ มันโค้งมน
ไม่ได้เป็นเหลี่ยม เหมือน สัญญาณ ดิจิตอล
ผมเคยเจอภาพหนึ่งนะครับ
เขาเคยบอกไว้ ว่า เครื่องใช้ไฟฟ้า ถ้ามันชีวิตจิตใจ มัจะรู้สึกเจ็บน้อยที่สุดเมื่อมันเป็น ไฟฟ้ากระแสสลับที่ มีรูปสัญญาณเป็นแบบไซน์เวฟแบบนี้
ถ้าเรามาดูที่ภาพจำลองจะเห็นได้ว่า ระหว่างที่แม่เหล็กกำลังหมุนอยู่นั้น เราจะเห็นอิเล็กตรอนมันเคลื่อนที่
โดยเคลื่อนที่ ช้าๆค่อยเพิ่มความเร็ว มาเร็วสุด แล้วก็ช้าลง อีกครั้ง หลังจากนั้นก็หยุดการเคลื่อนที่
แล้วมันก็จะทำเหมือนกันกับอีกฝั่งหนึ่ง โดยเป็นด้านลบ มันจะดึงอิเล็กตรอนไปอีกฝั่งหนึ่งตรงกันข้ามกลับกัน
ถ้าเอามาดูที่กราฟก็จะเห้นทั้ง + และ
การหมุนที่ดีที่สมบูรณ์ ก็ควรที่จะได้ ไฟ 1 Cycle
และไฟบ้านก็จะมี จำนวนรอบแบบนี้ 50 รอบต่อวินาที เราก็จะเรียกว่าเป็นความถี่ 50hz
ถ้าเราต่อไฟ 1 เฟต แล้วสโลโมชั่น ก็จะเห็นหลอดไฟมันสว่าง สุด แล้ว ก็จะสว่างน้อยลง จนดับ
แล้วมันก็จะค่อยๆสว่างขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อมันไปทางครึ่งลบ อิเล็กตรอนมันก็จะไหล ย้อนกลับตรงกันข้าม
ถ้าไม่อยากให้หลอดมันกระพริบ
เราก็สามารถเพิ่มจำนวนหลอดอีก 1 หลอด เข้าไป
แล้วเราก็จะวางขดลวดทำมุม 120 องศาจากชุดแรก ก็จะได้เฟตที่ 2
เมื่อเราหมุน ขดลวด จะมีความเข้ม ของสนามแม่เหล็กที่ไม่เท่ากัน
เมื่อหลอดไฟดวงแรก สว่างสุด แล้ว ลดความสว่างลงมา
ขดลวดที่2 ก็จะมาเติมเต็ม สว่างเพิ่มขึ้น
วิธีนี้จะช่วย เติมเต็มแสง ที่มันมีช่องว่างอยู่
เพราะฉะนั้นเราก็สามารถเพิ่มขดลวดหลายๆชุดเข้าไปได้อีก
สมมุตติว่าผมเพิ่มอีก 1เฟต เป็น 3 เฟต
เพราะฉะนั้นหลอดไฟทั้ง 3 ดวงของผมมมันก็จะสว่างสลับกันเกือบตลอดเวลาเลยครับ
มาถึงคำถามยอดฮิต กันบ้างนะครับ
1.ไฟ 2 เฟส คนใช้หรือไม่ ?
2.ไฟ 3 เฟต ใช้กับอะไร ?
3. ไฟฟ้า 1เฟส = 220V แล้วทำไมไฟ 2 เฟสมี 380V ทำไมไม่ 440V ? คำถามนี้น่า

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ?

ท่านสอนเรื่องอะไร? หลักการท่านคืออะไร? \”สัญชัยปริพาชก\” ถาม \”พระพุทธเจ้า\” l พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก


พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก หรือ พระพุทธเจ้า
Playlist:https://www.youtube.com/playlist?list=PLcqzBicGNw0vkcihyMZdfMhpkZ07lacO
ท่านสอนเรื่องอะไร? หลักการท่านคืออะไร? \”สัญชัยปริพาชก\” ถาม \”พระพุทธเจ้า\” l พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก
พระพุทธเจ้าจรัสอินทร์คง

ท่านสอนเรื่องอะไร? หลักการท่านคืออะไร? \

สำหรับคุณ “ความกตัญญู” มีค่าเท่ากับอะไร?


“ความกตัญญู” ของคุณมีค่าเท่ากับอะไร?
สำหรับเด็กสาวคนนี้ ความกตัญญูคือรักแรกและรักแท้ ที่มีค่าเท่าชีวิต
ติดตามความอัศจรรย์ของชีวิต ที่ทำสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ … ให้เป็นไปได้
ร่วมร้อยเรียงความดีสู่สังคม… เพราะเราเชื่อว่า คุณค่าของ “ความกตัญญู” เติบโตที่ไหน ที่นั่นจะงดงาม
ซีพีร้อยเรียงความดี กตัญญูทำสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ให้เป็นไปได้ เชื่อในคุณค่าความกตัญญู
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
Facebook : CP for Sustainability
IG : CP for Sustainability
Twitter : CP for Sustainability

สำหรับคุณ “ความกตัญญู” มีค่าเท่ากับอะไร?

สุ่มเจอFcเฉย🤣🤣 แล้วเด็กข้างไข่…นิมันคืออะไร😅😅😅#freefire #ลงแรงค์ #freefirefunnyvideo #เด็ก


สุ่มเจอFcเฉย🤣🤣 แล้วเด็กข้างไข่…นิมันคืออะไร😅😅😅#freefire #ลงแรงค์ #freefirefunnyvideo #เด็ก

เรียนภาษาอังกฤษฟรี! : Verb to be คืออะไร


คำว่า is/am/are อะไรพวกนี้มันใช้ยังไงกันหนอ?
แล้วเราจะเอามันไปใช้ในตำแหน่งไหนได้บ้าง
คลิปนี้กระจ่างแน่นอนค่ะ
เรียนเพิ่มเติมได้ที่
https://www.facebook.com/kruwhanenglishonair
https://www.instagram.com/kru_whan_english_on_air

เรียนภาษาอังกฤษฟรี! : Verb to be คืออะไร

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ v คือ อะไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *