Skip to content
Home » [NEW] TDRI: Thailand Development Research Institute | ตารางค่าแรงคนงานรายวัน – NATAVIGUIDES

[NEW] TDRI: Thailand Development Research Institute | ตารางค่าแรงคนงานรายวัน – NATAVIGUIDES

ตารางค่าแรงคนงานรายวัน: คุณกำลังดูกระทู้

สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์

เมื่อเดือนที่แล้ว ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นต่อการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง ซึ่งจัดที่โรงแรมแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ โดยสำนักงานคณะกรรมการค่าจ้าง กองเศรษฐกิจการแรงงาน กระทรวงแรงงาน

เหตุผลสำคัญของการสัมมนาฯดังกล่าวคือสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบันที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 และวิกฤตเศรษฐกิจโลกทำให้สถานประกอบกิจการจำนวนมากได้รับผลกระทบจนต้องหยุดกิจการชั่วคราวบางส่วนหรือทั้งหมด เพื่อพยุงธุรกิจไว้ให้สามารถดำเนินการต่อไปได้ ประกอบกับในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการจ้างงานหรือการทำงานแบบไม่เต็มเวลามากขึ้น กระทรวงแรงงานจึงได้มีนโยบายในการส่งเสริมและคุ้มครองลูกจ้างที่มีการทำงานไม่เต็มเวลาให้ได้รับค้าจ่างที่เหมาะสมเพื่อรองรับความปกติใหม่ในด้านการจ้างงาน และ ได้พิจารณาออกประกาศอัตราคาจ้างรายชั่วโมงเพื่อคุ้มครองลูกจ้างที่มีการทำงานไม่เต็มเวลาและเป็นการส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีการจ้างงานรายชั่วโมง

คำถามคือ ค่าจ้างรายชั่วโมงช่วยคุ้มครองลูกจ้างจริงหรือเปล่า เนื่องจากคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 9) ให้ข้อสังเกตว่าการออกประกาศกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงออกมาดื้อๆ อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิและความคุ้มครองที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจากรายเดือนหรือรายวันเป็นรายชั่วโมง หรือทำให้สิทธิการได้รับค่าชดเชยจากการเลิกจ้างลดลง

ผู้เขียนขอบอกเลยว่าเห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาดังกล่าวอย่างยิ่ง และที่สำคัญคือ ค่าจ้างรายชั่วโมงที่จะกำหนดนั้นคือเท่าใด ซึ่งในวันสัมมนาก็ไม่ได้มีการพูดถึง รวมทั้งกระทรวงแรงงานก็ไม่ได้ให้ข้อมูลว่าการจ่ายค่าจ้างเป็นรายชั่วโมงจะกระทบกระเทือนสิทธิและความคุ้มครองลูกจ้างอย่างไร

เพราะถ้าจะกำหนดเป็นการชั่วคราวในช่วงโควิดระบาด เรื่องอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงจะลดความสำคัญลงเพราะในช่วงเลือดเข้าตา ให้เท่าไหร่ลูกจ้างก็คงยากที่จะปฏิเสธ และเรื่องสิทธิประโยชน์การคุ้มครองแรงงานก็ยังพออดทนได้ แต่หากกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงเป็นการถาวรในระยะยาวจำเป็นต้องพิจารณาต้นทุนความเสียหายของฝ่ายลูกจ้าง ว่านอกจากจะได้ค่าจ้างไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่มากเท่าที่ควรแล้ว สิ่งที่คณะกรรมการกฤษฎีกาพูดถึงคือสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ลูกจ้างได้รับตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานก็จะหายไปเหมือนถูกเชือดไม่ได้ช่วย

เอาอย่างง่ายๆ สิ่งที่ลูกจ้างรายชั่วโมงจะถูกเชือดไปเห็นๆ คือ

(1) การประกันสังคม ตามมาตรา 33 พ.ร.บ.ประกันสังคม (กรณีเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร บำเหน็จบำนาญชราภาพ และว่างงาน)

(2) ค่าชดเชยกรณีเลิกจ้าง ตามมาตรา 75 และมาตรา 118 และ 118/1 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน

(3) สิทธิประโยชน์วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดงานประจำปี (13-18 วันต่อปี) วันลาป่วยปีละไม่เกิน 30 วัน วันลาเพื่อรับราชการทหารของลูกจ้างชายปีหนึ่งไม่เกินหกสิบวัน ลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกินเก้าสิบวัน

(4) กองทุนเงินทดแทน ตาม พ.ร.บ.เงินทดแทน พ.ศ.2537 และ พ.ศ.2561 กรณีเจ็บป่วย ประสบอันตราย ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรือสูญหาย อันเนื่องจากการทำงานหรือป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือตามคำสั่งนายจ้าง

น่าเสียดายที่การสัมมนาประชาพิจารณ์ครั้งนั้นจับประเด็นนี้น้อยไป แม้จะมีวิทยากรบางท่านพูดถึงนิดหน่อย ด้านลูกจ้างหลายคนชี้ว่าค่าจ้างรายชั่วโมงเป็นการหลอกเชือดมากกว่าจะเป็นการช่วยลูกจ้าง หลายคนจึงไม่ยอมรับค่าจ้างรายชั่วโมงเพราะเสียสิทธิประโยชน์ต่างๆ ดังกล่าวข้างบน แต่ไม่ได้อภิปรายหารือกันว่าจะมีทางช่วยกันคิดพิจารณาให้ค่าจ้างรายชั่วโมงที่สะท้อนสิทธิประโยชน์และการคุ้มครองตามกฎหมายได้อย่างไร เพราะผู้เขียนเชื่อว่าหากค่าจ้างรายชั่วโมงสามารถรักษาสิทธิประโยชน์ของลูกจ้างตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานได้ลูกจ้างก็คงไม่คัดค้าน

ซึ่งประเด็นสิทธิและความคุ้มครองแรงงานฯ นี้นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งและเคยละเลยมาในอดีตที่เคยกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา เมื่อปี 2556 และการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับผู้สูงอายุ เมื่อปี 2561 ซึ่งไม่ได้มีการพิจารณาเรื่องสิทธิและความคุ้มครองที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน

ถ้าผู้เขียนจำไม่ผิดเมื่อตอนกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับนักเรียนนิสิต นักศึกษา ฝ่ายสหภาพแรงงานก็ไม่ค่อยเห็นด้วยและพยายามต่อสู้ประเด็นที่นายจ้างถือโอกาสละเว้นสิทธิประโยชน์ของแรงงาน

อย่างไรก็ตาม กรณีของค่าจ้างรายชั่วโมงของนักเรียน นิสิต นักศึกษา และผู้สูงอายุ อาจถือเป็นกรณีพิเศษที่ ILO เรียกว่า Subminimum wages หรืออัตราค่าจ้างขั้นต่ำรอง (ILO, 2016, Minimum Wage Policy Guide, 21) แต่ของประเทศไทย กระทรวงแรงงานมีคำอธิบาย คือ

การที่อัตราค่าจ้างรายชั่วโมงที่เคยกำหนดมีความบกพร่องโดยการละเลยสิทธิประโยชน์อันพึงมีตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ทางกระทรวงแรงงาน (กลุ่มงานที่ปรึกษากฎหมาย นิติกรรม และสัญญา กองนิติการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 3 เมษายน 2560) ได้แถลงว่า ประกาศคณะกรรมการค่าจ้างเรื่องอัตราค่าจ้างรายชั่วโมง สำหรับนักเรียนนักศึกษาฯ “ไม่มีสภาพเป็นกฎหมายใช้บังคับ” แต่เป็นเพียงข้อแนะนำให้สถานประกอบการ ใช้เป็นแนวทางกรณีทำงานไม่เต็มเวลา และกองนิติการให้ข้อหารือว่า “แม้นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานน้อยกว่าเวลาทำงานปกติเพียงใดก็ตาม การที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานน้อยกว่าวันละแปดชั่วโมงสำหรับงานทั่วไป หรือเจ็ดชั่วโมงสำหรับงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพฯ ลูกจ้างทุกประเภทก็ต้องได้รับค่าจ้างไม่ต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำในหนึ่งวัน จะคำนวณโดยเฉลี่ยจ่ายเป็นรายชั่วโมงมิได้ เพราะจะทำให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้างกำหนด” “ซึ่งเป็นการปฏิบัติไม่สอดคล้องกับมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541”

ทั้งนี้ เคยกำหนดวัตถุประสงค์ของการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงของนักเรียน นิสิต นักศึกษา (ที่ให้ชม.ละ 40 บาท) ว่าต่างกับการกำหนดกรณีของแรงงานโดยทั่วไป คือ

(1) วัตถุประสงค์เพียงเพื่อกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษา ตระหนักในเรื่องความสำคัญของการมีงานทำและการประกอบอาชีพ และต้องการสร้างเสริมประสบการณ์การทำงานและวินัยในการทำงานให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาเท่านั้น มิได้มุ่งเน้นการมีรายได้เลี้ยงตัวเองเป็นสำคัญ

(2) กระทรวงแรงงานเห็นว่านักเรียน นิสิต และนักศึกษา ยังไม่เป็นคนงานแต่เป็นผู้ฝึกงาน ค่าตอบแทนที่ได้รับจึงเป็นค่าตอบแทนการฝึกงานเท่านั้น (ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (สมัยนายทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 27 มกราคม 2547)

ในขณะเดียวกันค่าจ้างรายชั่วโมงของผุ้สูงอายุก็มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกันคือเพื่อส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุซึ่งไม่สามารถทำงานเต็มเวลาได้ โดยในปี 2562 กระทรวงแรงงานได้ประกาศค่าจ้างรายชั่วโมงของผู้สูงอายุ โดยระบุว่าเป็นงาน Part time สำหรับผู้อายุ 60 ปีขึ้นไป อัตราค่าจ้างรายชั่วโมง ชั่วโมงละ 45 บาทเท่ากันทุกพื้นที่ โดยให้ทำงานได้ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมงและไม่เกินสัปดาห์ละ 6 วัน

วกกลับมาที่ปัญหาของค่าจ้างรายชั่วโมง คือ ทำอย่างไรลูกจ้างรายชั่วโมงจะยังคงได้รับสิทธิประโยชน์ดังได้กล่าวไปแล้ว

ผู้เขียนเดาใจพี่น้องลูกจ้างแรงงาน นั่นคือสิ่งที่ฝ่ายลูกจ้างอยากเห็นอยากได้ ถามว่าเราจะกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงโดยยังคงไว้ซึ่งสิทธิประโยชน์ต่างๆ ข้างต้นได้หรือไม่

คำถามคือ yes and no คือได้บ้าง ไม่ได้บ้าง คือ จะเอาทั้งหมดคงไม่ได้

1) เรื่องสิทธิประโยชน์วันหยุด วันลาโดยได้รับค่าจ้าง – ตอบว่า ไม่ได้ เรื่องนี้ผู้เขียนได้ศึกษาดูของประเทศที่มีการใช้อัตราค่าจ้างรายชั่วโมง เช่น อเมริกา พบว่าลูกจ้างที่รับค่าจ้างรายชั่วโมงไม่มีสิทธิได้รับวันหยุด วันลาโดยได้รับค่าจ้าง

2) เรื่องประกันสังคม มาตรา 33 หรือมาตรา 40 – น่าจะพอทำได้ โดยดูกรณีของอเมริกาลูกจ้างรายชั่วโมงจะต้องทำประกันสังคมโดยหักภาษี (payroll tax) ส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 6.2) จากค่าจ้างของลูกจ้างและอีกส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 6.2) ให้นายจ้างจ่าย บวกกับค่าประกันรักษาพยาบาล (Medicare tax) อีกส่วนหนึ่งโดยหักจากค่าจ้าง (ร้อยละ 1.45) และนายจ้างออกในอัตราเท่าๆ กัน

เรื่องนี้ถ้าเราไปดูกฎหมายประกันสังคม (พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.2533 และฉบับที่ 4 พ.ศ.2558) ของเราที่เป็นอยู่คือ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน (มาตรา 33) และให้รัฐบาล นายจ้างและผู้ประกันตน (มาตรา 46) ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร และกรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงานตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ดังแสดง ในตาราง

จะเห็นได้ว่าตามอัตราและสัดส่วนเงินสมทบที่แสดงในตารางน่าจะใช้เป็นแนวทางเก็บเงินสมทบจากลูกจ้างรายชั่วโมงได้ โดยเข้าหลักเกณฑ์ในแง่ของกรอบรายได้ต่อเดือนคือถ้านำค่าจ้างรายวันไปคำนวณเป็นรายเดือนตามเกณฑ์ฐานเงินเดือนที่สำนักงานประกันสังคมกำหนดคือ ขั้นต่ำสุดที่ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท จะเห็นได้ว่า ถ้าสมมุติว่าค่าจ้างรายชั่วโมง ชั่วโมงละ 45 บาท ทำงานวันละ 7 ชั่วโมง ทำงานสัปดาห์ละ 6 วัน ก็เข้าเกณฑ์ขั้นต่ำแล้ว ส่วนเรื่องของกองทุนทดแทนก็สามารถทำได้ไม่ยาก ในรายละเอียดกระทรวงแรงงานคงต้องออกแรงคิดต่อสักหน่อยก็น่าจะทำได้

ถ้าทำได้อย่างนี้จึงจะกล้าพูดได้ว่าค่าจ้างรายชั่วโมงออกมาเพื่อ “ช่วย” ลูกจ้าง เรื่องนี้ถ้าท่านรัฐมนตรีสุชาติและรัฐมนตรีช่วยนฤมลจะลงมือทำก็เป็นเรื่องดีครับ

หมายเหตุเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ 20 สิงหาคม 2563 ทางมติชน คอลัมน์ ดุลยภาพ ดุลยพินิจ

[NEW] TDRI: Thailand Development Research Institute | ตารางค่าแรงคนงานรายวัน – NATAVIGUIDES

สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์

เมื่อเดือนที่แล้ว ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นต่อการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง ซึ่งจัดที่โรงแรมแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ โดยสำนักงานคณะกรรมการค่าจ้าง กองเศรษฐกิจการแรงงาน กระทรวงแรงงาน

เหตุผลสำคัญของการสัมมนาฯดังกล่าวคือสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบันที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 และวิกฤตเศรษฐกิจโลกทำให้สถานประกอบกิจการจำนวนมากได้รับผลกระทบจนต้องหยุดกิจการชั่วคราวบางส่วนหรือทั้งหมด เพื่อพยุงธุรกิจไว้ให้สามารถดำเนินการต่อไปได้ ประกอบกับในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการจ้างงานหรือการทำงานแบบไม่เต็มเวลามากขึ้น กระทรวงแรงงานจึงได้มีนโยบายในการส่งเสริมและคุ้มครองลูกจ้างที่มีการทำงานไม่เต็มเวลาให้ได้รับค้าจ่างที่เหมาะสมเพื่อรองรับความปกติใหม่ในด้านการจ้างงาน และ ได้พิจารณาออกประกาศอัตราคาจ้างรายชั่วโมงเพื่อคุ้มครองลูกจ้างที่มีการทำงานไม่เต็มเวลาและเป็นการส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีการจ้างงานรายชั่วโมง

คำถามคือ ค่าจ้างรายชั่วโมงช่วยคุ้มครองลูกจ้างจริงหรือเปล่า เนื่องจากคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 9) ให้ข้อสังเกตว่าการออกประกาศกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงออกมาดื้อๆ อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิและความคุ้มครองที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจากรายเดือนหรือรายวันเป็นรายชั่วโมง หรือทำให้สิทธิการได้รับค่าชดเชยจากการเลิกจ้างลดลง

ผู้เขียนขอบอกเลยว่าเห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาดังกล่าวอย่างยิ่ง และที่สำคัญคือ ค่าจ้างรายชั่วโมงที่จะกำหนดนั้นคือเท่าใด ซึ่งในวันสัมมนาก็ไม่ได้มีการพูดถึง รวมทั้งกระทรวงแรงงานก็ไม่ได้ให้ข้อมูลว่าการจ่ายค่าจ้างเป็นรายชั่วโมงจะกระทบกระเทือนสิทธิและความคุ้มครองลูกจ้างอย่างไร

เพราะถ้าจะกำหนดเป็นการชั่วคราวในช่วงโควิดระบาด เรื่องอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงจะลดความสำคัญลงเพราะในช่วงเลือดเข้าตา ให้เท่าไหร่ลูกจ้างก็คงยากที่จะปฏิเสธ และเรื่องสิทธิประโยชน์การคุ้มครองแรงงานก็ยังพออดทนได้ แต่หากกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงเป็นการถาวรในระยะยาวจำเป็นต้องพิจารณาต้นทุนความเสียหายของฝ่ายลูกจ้าง ว่านอกจากจะได้ค่าจ้างไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่มากเท่าที่ควรแล้ว สิ่งที่คณะกรรมการกฤษฎีกาพูดถึงคือสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ลูกจ้างได้รับตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานก็จะหายไปเหมือนถูกเชือดไม่ได้ช่วย

เอาอย่างง่ายๆ สิ่งที่ลูกจ้างรายชั่วโมงจะถูกเชือดไปเห็นๆ คือ

(1) การประกันสังคม ตามมาตรา 33 พ.ร.บ.ประกันสังคม (กรณีเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร บำเหน็จบำนาญชราภาพ และว่างงาน)

(2) ค่าชดเชยกรณีเลิกจ้าง ตามมาตรา 75 และมาตรา 118 และ 118/1 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน

(3) สิทธิประโยชน์วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดงานประจำปี (13-18 วันต่อปี) วันลาป่วยปีละไม่เกิน 30 วัน วันลาเพื่อรับราชการทหารของลูกจ้างชายปีหนึ่งไม่เกินหกสิบวัน ลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกินเก้าสิบวัน

(4) กองทุนเงินทดแทน ตาม พ.ร.บ.เงินทดแทน พ.ศ.2537 และ พ.ศ.2561 กรณีเจ็บป่วย ประสบอันตราย ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรือสูญหาย อันเนื่องจากการทำงานหรือป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือตามคำสั่งนายจ้าง

น่าเสียดายที่การสัมมนาประชาพิจารณ์ครั้งนั้นจับประเด็นนี้น้อยไป แม้จะมีวิทยากรบางท่านพูดถึงนิดหน่อย ด้านลูกจ้างหลายคนชี้ว่าค่าจ้างรายชั่วโมงเป็นการหลอกเชือดมากกว่าจะเป็นการช่วยลูกจ้าง หลายคนจึงไม่ยอมรับค่าจ้างรายชั่วโมงเพราะเสียสิทธิประโยชน์ต่างๆ ดังกล่าวข้างบน แต่ไม่ได้อภิปรายหารือกันว่าจะมีทางช่วยกันคิดพิจารณาให้ค่าจ้างรายชั่วโมงที่สะท้อนสิทธิประโยชน์และการคุ้มครองตามกฎหมายได้อย่างไร เพราะผู้เขียนเชื่อว่าหากค่าจ้างรายชั่วโมงสามารถรักษาสิทธิประโยชน์ของลูกจ้างตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานได้ลูกจ้างก็คงไม่คัดค้าน

ซึ่งประเด็นสิทธิและความคุ้มครองแรงงานฯ นี้นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งและเคยละเลยมาในอดีตที่เคยกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา เมื่อปี 2556 และการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับผู้สูงอายุ เมื่อปี 2561 ซึ่งไม่ได้มีการพิจารณาเรื่องสิทธิและความคุ้มครองที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน

ถ้าผู้เขียนจำไม่ผิดเมื่อตอนกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับนักเรียนนิสิต นักศึกษา ฝ่ายสหภาพแรงงานก็ไม่ค่อยเห็นด้วยและพยายามต่อสู้ประเด็นที่นายจ้างถือโอกาสละเว้นสิทธิประโยชน์ของแรงงาน

อย่างไรก็ตาม กรณีของค่าจ้างรายชั่วโมงของนักเรียน นิสิต นักศึกษา และผู้สูงอายุ อาจถือเป็นกรณีพิเศษที่ ILO เรียกว่า Subminimum wages หรืออัตราค่าจ้างขั้นต่ำรอง (ILO, 2016, Minimum Wage Policy Guide, 21) แต่ของประเทศไทย กระทรวงแรงงานมีคำอธิบาย คือ

การที่อัตราค่าจ้างรายชั่วโมงที่เคยกำหนดมีความบกพร่องโดยการละเลยสิทธิประโยชน์อันพึงมีตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ทางกระทรวงแรงงาน (กลุ่มงานที่ปรึกษากฎหมาย นิติกรรม และสัญญา กองนิติการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 3 เมษายน 2560) ได้แถลงว่า ประกาศคณะกรรมการค่าจ้างเรื่องอัตราค่าจ้างรายชั่วโมง สำหรับนักเรียนนักศึกษาฯ “ไม่มีสภาพเป็นกฎหมายใช้บังคับ” แต่เป็นเพียงข้อแนะนำให้สถานประกอบการ ใช้เป็นแนวทางกรณีทำงานไม่เต็มเวลา และกองนิติการให้ข้อหารือว่า “แม้นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานน้อยกว่าเวลาทำงานปกติเพียงใดก็ตาม การที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานน้อยกว่าวันละแปดชั่วโมงสำหรับงานทั่วไป หรือเจ็ดชั่วโมงสำหรับงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพฯ ลูกจ้างทุกประเภทก็ต้องได้รับค่าจ้างไม่ต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำในหนึ่งวัน จะคำนวณโดยเฉลี่ยจ่ายเป็นรายชั่วโมงมิได้ เพราะจะทำให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้างกำหนด” “ซึ่งเป็นการปฏิบัติไม่สอดคล้องกับมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541”

ทั้งนี้ เคยกำหนดวัตถุประสงค์ของการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงของนักเรียน นิสิต นักศึกษา (ที่ให้ชม.ละ 40 บาท) ว่าต่างกับการกำหนดกรณีของแรงงานโดยทั่วไป คือ

(1) วัตถุประสงค์เพียงเพื่อกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษา ตระหนักในเรื่องความสำคัญของการมีงานทำและการประกอบอาชีพ และต้องการสร้างเสริมประสบการณ์การทำงานและวินัยในการทำงานให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาเท่านั้น มิได้มุ่งเน้นการมีรายได้เลี้ยงตัวเองเป็นสำคัญ

(2) กระทรวงแรงงานเห็นว่านักเรียน นิสิต และนักศึกษา ยังไม่เป็นคนงานแต่เป็นผู้ฝึกงาน ค่าตอบแทนที่ได้รับจึงเป็นค่าตอบแทนการฝึกงานเท่านั้น (ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (สมัยนายทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 27 มกราคม 2547)

ในขณะเดียวกันค่าจ้างรายชั่วโมงของผุ้สูงอายุก็มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกันคือเพื่อส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุซึ่งไม่สามารถทำงานเต็มเวลาได้ โดยในปี 2562 กระทรวงแรงงานได้ประกาศค่าจ้างรายชั่วโมงของผู้สูงอายุ โดยระบุว่าเป็นงาน Part time สำหรับผู้อายุ 60 ปีขึ้นไป อัตราค่าจ้างรายชั่วโมง ชั่วโมงละ 45 บาทเท่ากันทุกพื้นที่ โดยให้ทำงานได้ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมงและไม่เกินสัปดาห์ละ 6 วัน

วกกลับมาที่ปัญหาของค่าจ้างรายชั่วโมง คือ ทำอย่างไรลูกจ้างรายชั่วโมงจะยังคงได้รับสิทธิประโยชน์ดังได้กล่าวไปแล้ว

ผู้เขียนเดาใจพี่น้องลูกจ้างแรงงาน นั่นคือสิ่งที่ฝ่ายลูกจ้างอยากเห็นอยากได้ ถามว่าเราจะกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงโดยยังคงไว้ซึ่งสิทธิประโยชน์ต่างๆ ข้างต้นได้หรือไม่

คำถามคือ yes and no คือได้บ้าง ไม่ได้บ้าง คือ จะเอาทั้งหมดคงไม่ได้

1) เรื่องสิทธิประโยชน์วันหยุด วันลาโดยได้รับค่าจ้าง – ตอบว่า ไม่ได้ เรื่องนี้ผู้เขียนได้ศึกษาดูของประเทศที่มีการใช้อัตราค่าจ้างรายชั่วโมง เช่น อเมริกา พบว่าลูกจ้างที่รับค่าจ้างรายชั่วโมงไม่มีสิทธิได้รับวันหยุด วันลาโดยได้รับค่าจ้าง

2) เรื่องประกันสังคม มาตรา 33 หรือมาตรา 40 – น่าจะพอทำได้ โดยดูกรณีของอเมริกาลูกจ้างรายชั่วโมงจะต้องทำประกันสังคมโดยหักภาษี (payroll tax) ส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 6.2) จากค่าจ้างของลูกจ้างและอีกส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 6.2) ให้นายจ้างจ่าย บวกกับค่าประกันรักษาพยาบาล (Medicare tax) อีกส่วนหนึ่งโดยหักจากค่าจ้าง (ร้อยละ 1.45) และนายจ้างออกในอัตราเท่าๆ กัน

เรื่องนี้ถ้าเราไปดูกฎหมายประกันสังคม (พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.2533 และฉบับที่ 4 พ.ศ.2558) ของเราที่เป็นอยู่คือ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน (มาตรา 33) และให้รัฐบาล นายจ้างและผู้ประกันตน (มาตรา 46) ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร และกรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงานตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ดังแสดง ในตาราง

จะเห็นได้ว่าตามอัตราและสัดส่วนเงินสมทบที่แสดงในตารางน่าจะใช้เป็นแนวทางเก็บเงินสมทบจากลูกจ้างรายชั่วโมงได้ โดยเข้าหลักเกณฑ์ในแง่ของกรอบรายได้ต่อเดือนคือถ้านำค่าจ้างรายวันไปคำนวณเป็นรายเดือนตามเกณฑ์ฐานเงินเดือนที่สำนักงานประกันสังคมกำหนดคือ ขั้นต่ำสุดที่ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท จะเห็นได้ว่า ถ้าสมมุติว่าค่าจ้างรายชั่วโมง ชั่วโมงละ 45 บาท ทำงานวันละ 7 ชั่วโมง ทำงานสัปดาห์ละ 6 วัน ก็เข้าเกณฑ์ขั้นต่ำแล้ว ส่วนเรื่องของกองทุนทดแทนก็สามารถทำได้ไม่ยาก ในรายละเอียดกระทรวงแรงงานคงต้องออกแรงคิดต่อสักหน่อยก็น่าจะทำได้

ถ้าทำได้อย่างนี้จึงจะกล้าพูดได้ว่าค่าจ้างรายชั่วโมงออกมาเพื่อ “ช่วย” ลูกจ้าง เรื่องนี้ถ้าท่านรัฐมนตรีสุชาติและรัฐมนตรีช่วยนฤมลจะลงมือทำก็เป็นเรื่องดีครับ

หมายเหตุเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ 20 สิงหาคม 2563 ทางมติชน คอลัมน์ ดุลยภาพ ดุลยพินิจ


excel คำนวณเวลา และ หาค่าแรงจ่ายเป็นชั่วโมง


ตัวอย่างการคิดค่าแรง จ่ายเป็นรายชั่วโมง part time โดยทำการหาค่าเวลาที่ทำงาน เป็นชั่วโมงและนาที หาค่าแรงงาน รายวัน จาก ฟังก์ชั่น text () ของโปรแกรม Excel
^_^ รบกวนกดติดตามด้วยนะค่ะ ^_^
PJ Excel Channel
เว็บแนะนำ การใช้งาน Excel https://sites.google.com/site/excel2workshop/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

excel คำนวณเวลา และ หาค่าแรงจ่ายเป็นชั่วโมง

รวมเพลงลูกทุ่ง บันทึกเพลงดัง สลา คุณวุฒิ l ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้, ติด ร.วิชาลืม


ไม่อยากพลาด Playlist เพลงฮิต กด subscribe Grammy Big Official : https://bit.ly/1I6HkSK
และ GMM Grammy Official : http://bit.ly/2fTovxP
ฟังเพลง บันทึกเพลง สลา คุณวุฒิ แบบเต็มได้ในอัลบั้ม
MP3 บันทึกเพลงดัง คนสร้างเพลง \” สลา คุณวุฒิ \”
ได้แล้ว ที่ร้านจำหน่ายซีดีชั้นนำทั่วประเทศ
สั่งซื้อได้ง่ายๆ ที่ GMMSHOPS โทร. 020699999
00:05 สิเทน้องให้บอกแน ต่าย อรทัย
04:10 คำว่าฮักกัน มันเหี่ยถิ่มไส มนต์แคน แก่นคูน
08:43 เมียบ่ได้แต่ง ศิริพร อำไพพงษ์
13:09 อ้ายเพิ่งรู้ หรือเจ้าเพิ่งทำ ไผ่ พงศธร
17:01 สักวัน..ฉันจะรู้สึกเฉยๆ กับเธอ เอิ้นขวัญ วรัญญา
21:31 อยากให้เธอเข้าใจ ไมค์ ภิรมย์พร
25:28 กระเป๋าแบนแฟนทิ้ง เอกราช สุวรรณภูมิ
29:06 ติด ร.วิชาลืม เอิ้นขวัญ วรัญญา
32:56 โทรหาแหน่เด๊อ ต่าย อรทัย
36:41 อยากกอดผู้ชายคนนี้จังเลย ศิริพร อำไพพงษ์
40:27 ยังจำ..ทุกสิ่งที่เธอลืม มนต์แคน แก่นคูน
45:02 ผีเสื้อใจร้ายกับดอกไม้ใจอ่อน เอิ้นขวัญ วรัญญา
49:28 ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้ ตั๊กแตน ชลดา
53:45 ใจสารภาพ ก๊อท จักรพันธ์
57:22 สัญญา 5 บาท เอกราช สุวรรณภูมิ

รวมเพลงลูกทุ่ง  บันทึกเพลงดัง  สลา คุณวุฒิ l ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้, ติด ร.วิชาลืม

รวมเพลง ลูกทุ่งคู่ฮิต ไผ่ พงศธร – มนต์แคน แก่นคูน


ไม่พลาดทุกเพลงฮิตกับ อัลบั้มMP3 ขายดีจาก Grammy Big
► : http://www.gmmshops.com/

รวมเพลง ลูกทุ่งคู่ฮิต ไผ่ พงศธร - มนต์แคน แก่นคูน

ชอบที่เธอเป็นเธอ – วงแทมมะริน [4K MusicVideo]


ฟังเพลงของวงแทมมะรินได้ที่ JOOX
https://open.joox.com/s/rd?k=myh4L
และ
iTunes Store \u0026 Apple Music : https://apple.co/3oXpfWZ
ํYoutubeMusic : https://music.youtube.com/watch?v=t_5ddzvmr6w\u0026feature=share
Spotify : https://spoti.fi/3BFtrhn
Tidal : https://bit.ly/3p1IFKk
Amazon Music : https://amzn.to/3n9k0kz
ชื่อเพลง ชอบที่เธอเป็นเธอ
ศิลปิน วงแทมมะริน
คำร้อง/ทำนอง พนัชกร แท่นประมูล
เรียบเรียง ศุภกาญจน์ พรหมเกิด
ติดต่องานแสดง 0847505241
งานโฆษณา , ริวิวสินค้า 0840678537
Facebook : วงแทมมะริน
เพลงใหม่ ชอบที่เธอเป็นเธอ วงแทมมะริน TMR

Mix \u0026 Mastered : อ.สัญญา อิทธิสัน
Vocal Recording : My Home studio
Bass Recording : ธงชัย ถาวรโชติ

Executive Producer : วุฒินนท์ รอดเนียม : เฉลิมพล มากละเอียด

: MUSIC VIDEO : BT Media Studio
: Editor : เฉลิมพล มากละเอียด
: Director : ศรัญญู เนียมหะ
: Assistant Video : นพรัตน์ เนียมหะ
Musician
Vocals : พนัชกร แท่นประมูล (นิล)
Guitar : ณัฐวุฒิ ศรีเอียด (ต้น)
Guitar : อรรถโกวิท แสงใส (ยิม)
Bass : สัตตะ ดำแก้ว (บาส)
Drum : ศรายุทธ ไพยรัตน์ (อาร์)

Special Thanks
COCO CAPE LANTA RESORT
KHAO YAI FARM \u0026 RESTAURENT
แสงจันทร์ เรดิโอ

เนื้อเพลง ชอบที่เธอเป็นเธอ
มีคนเคยบอกกับเธอหรือยังว่าเธอน่ารัก ว่าเธอสวยเกินใครทั้งหมดเลย ช่างถูกใจฉันเหลือเกิน
ช่างน่ามอง บอกได้ไหมบ้านอยู่หนแห่งใด
หรือว่าเจ้าเป็นดาวจากเมืองเหนือ หรืออีหล่าคำแพงแดนอีสาน
คนสวยของเมืองภาคกลาง หรือสาวงามของเมืองใต้
ยอมรับตรงๆเลยว่าชอบเธอคนนี้ ชอบที่เธอเป็นเธอ ชอบเวลาเธอยิ้ม
รู้ไหมเวลาที่เธอจ้องตา ฉันเขินจริงๆ เธอทำให้ใครคนนึงหลงรักเธอ
ขอถามตรงๆเลยขอจีบเธอได้ไหม ถ้าเธอไม่ว่าอะไร ก็ยิ้มให้กันสักนิดนึง
ได้โปรดอย่าเพิ่งมองผ่าน ไปสนคนอื่น เพราะใจทั้งใจของคนๆนี้มันยกให้เธอเป็นที่หนึ่ง
ชอบจริงๆเจ้าเอย รักจริงๆหล่าเอ้ย จะอู้จะอี้จะเว้าเช่นไร
ชอบจริงๆเธอเอ้ย รักจริงๆสาวเห้อ ต้องพูดพันพรือเธอจึงเข้าใจ
Solo
(ซ้ำ )
ชอบจริงๆเจ้าเอย รักจริงๆหล่าเอ้ย จะอู้จะอี้จะเว้าเช่นไร
ชอบจริงๆเธอเอ้ย รักจริงๆสาวเห้อ ต้องพูดพันพรือเธอจึงเข้าใจ
ชอบจริงๆเจ้าเอย รักจริงๆหล่าเอ้ย จะอู้จะอี้จะเว้าเช่นไร
ชอบจริงๆเธอเอ้ย รักจริงๆสาวเห้อ ต้องพูดพันพรือเธอจึงเข้าใจ

ชอบที่เธอเป็นเธอ - วงแทมมะริน [4K MusicVideo]

อัลบั้มฮิตที่คิดถึง ศิริพร อำไพพงษ์ แรงใจรายวัน | ทำบาปบ่ลง , ดอกอ้อริมโขง , ดอกคูณส่งข่าว ฯ


ศิริพรอำไพพงษ์ รวมเพลงฮิตศิริพร
ไม่อยากพลาด Playlist เพลงฮิต กด subscribe Grammy Big Official : https://bit.ly/1I6HkSK
และอีกหนึ่งช่องทาง http://www.bighit.online/ สถานีเพลงฮิตของคุณ!
00:05 แรงใจรายวัน
04:04 ทำบาปบ่ลง
07:38 บ่มีพี่บ่มีไผ
11:27 สาวสุรินทร์กินน้ำตา
14:46 ทุ่งหนาวสาวคอย
18:35 ดอกอ้อริมโขง
22:47 รักแรกไม่อาจลืม
26:19 หนุ่มหล่อแจกรัก
29:43 อยู่ตัวคนเดียว
32:59 ดอกคูณส่งข่าว

อัลบั้มฮิตที่คิดถึง ศิริพร อำไพพงษ์ แรงใจรายวัน | ทำบาปบ่ลง , ดอกอ้อริมโขง , ดอกคูณส่งข่าว ฯ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ตารางค่าแรงคนงานรายวัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *