Skip to content
Home » [NEW] TDRI: Thailand Development Research Institute | ค่าจ้างรายวัน – NATAVIGUIDES

[NEW] TDRI: Thailand Development Research Institute | ค่าจ้างรายวัน – NATAVIGUIDES

ค่าจ้างรายวัน: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์

เมื่อเดือนที่แล้ว ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นต่อการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง ซึ่งจัดที่โรงแรมแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ โดยสำนักงานคณะกรรมการค่าจ้าง กองเศรษฐกิจการแรงงาน กระทรวงแรงงาน

เหตุผลสำคัญของการสัมมนาฯดังกล่าวคือสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบันที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 และวิกฤตเศรษฐกิจโลกทำให้สถานประกอบกิจการจำนวนมากได้รับผลกระทบจนต้องหยุดกิจการชั่วคราวบางส่วนหรือทั้งหมด เพื่อพยุงธุรกิจไว้ให้สามารถดำเนินการต่อไปได้ ประกอบกับในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการจ้างงานหรือการทำงานแบบไม่เต็มเวลามากขึ้น กระทรวงแรงงานจึงได้มีนโยบายในการส่งเสริมและคุ้มครองลูกจ้างที่มีการทำงานไม่เต็มเวลาให้ได้รับค้าจ่างที่เหมาะสมเพื่อรองรับความปกติใหม่ในด้านการจ้างงาน และ ได้พิจารณาออกประกาศอัตราคาจ้างรายชั่วโมงเพื่อคุ้มครองลูกจ้างที่มีการทำงานไม่เต็มเวลาและเป็นการส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีการจ้างงานรายชั่วโมง

คำถามคือ ค่าจ้างรายชั่วโมงช่วยคุ้มครองลูกจ้างจริงหรือเปล่า เนื่องจากคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 9) ให้ข้อสังเกตว่าการออกประกาศกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงออกมาดื้อๆ อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิและความคุ้มครองที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจากรายเดือนหรือรายวันเป็นรายชั่วโมง หรือทำให้สิทธิการได้รับค่าชดเชยจากการเลิกจ้างลดลง

ผู้เขียนขอบอกเลยว่าเห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาดังกล่าวอย่างยิ่ง และที่สำคัญคือ ค่าจ้างรายชั่วโมงที่จะกำหนดนั้นคือเท่าใด ซึ่งในวันสัมมนาก็ไม่ได้มีการพูดถึง รวมทั้งกระทรวงแรงงานก็ไม่ได้ให้ข้อมูลว่าการจ่ายค่าจ้างเป็นรายชั่วโมงจะกระทบกระเทือนสิทธิและความคุ้มครองลูกจ้างอย่างไร

เพราะถ้าจะกำหนดเป็นการชั่วคราวในช่วงโควิดระบาด เรื่องอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงจะลดความสำคัญลงเพราะในช่วงเลือดเข้าตา ให้เท่าไหร่ลูกจ้างก็คงยากที่จะปฏิเสธ และเรื่องสิทธิประโยชน์การคุ้มครองแรงงานก็ยังพออดทนได้ แต่หากกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงเป็นการถาวรในระยะยาวจำเป็นต้องพิจารณาต้นทุนความเสียหายของฝ่ายลูกจ้าง ว่านอกจากจะได้ค่าจ้างไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่มากเท่าที่ควรแล้ว สิ่งที่คณะกรรมการกฤษฎีกาพูดถึงคือสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ลูกจ้างได้รับตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานก็จะหายไปเหมือนถูกเชือดไม่ได้ช่วย

เอาอย่างง่ายๆ สิ่งที่ลูกจ้างรายชั่วโมงจะถูกเชือดไปเห็นๆ คือ

(1) การประกันสังคม ตามมาตรา 33 พ.ร.บ.ประกันสังคม (กรณีเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร บำเหน็จบำนาญชราภาพ และว่างงาน)

(2) ค่าชดเชยกรณีเลิกจ้าง ตามมาตรา 75 และมาตรา 118 และ 118/1 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน

(3) สิทธิประโยชน์วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดงานประจำปี (13-18 วันต่อปี) วันลาป่วยปีละไม่เกิน 30 วัน วันลาเพื่อรับราชการทหารของลูกจ้างชายปีหนึ่งไม่เกินหกสิบวัน ลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกินเก้าสิบวัน

(4) กองทุนเงินทดแทน ตาม พ.ร.บ.เงินทดแทน พ.ศ.2537 และ พ.ศ.2561 กรณีเจ็บป่วย ประสบอันตราย ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรือสูญหาย อันเนื่องจากการทำงานหรือป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือตามคำสั่งนายจ้าง

น่าเสียดายที่การสัมมนาประชาพิจารณ์ครั้งนั้นจับประเด็นนี้น้อยไป แม้จะมีวิทยากรบางท่านพูดถึงนิดหน่อย ด้านลูกจ้างหลายคนชี้ว่าค่าจ้างรายชั่วโมงเป็นการหลอกเชือดมากกว่าจะเป็นการช่วยลูกจ้าง หลายคนจึงไม่ยอมรับค่าจ้างรายชั่วโมงเพราะเสียสิทธิประโยชน์ต่างๆ ดังกล่าวข้างบน แต่ไม่ได้อภิปรายหารือกันว่าจะมีทางช่วยกันคิดพิจารณาให้ค่าจ้างรายชั่วโมงที่สะท้อนสิทธิประโยชน์และการคุ้มครองตามกฎหมายได้อย่างไร เพราะผู้เขียนเชื่อว่าหากค่าจ้างรายชั่วโมงสามารถรักษาสิทธิประโยชน์ของลูกจ้างตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานได้ลูกจ้างก็คงไม่คัดค้าน

ซึ่งประเด็นสิทธิและความคุ้มครองแรงงานฯ นี้นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งและเคยละเลยมาในอดีตที่เคยกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา เมื่อปี 2556 และการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับผู้สูงอายุ เมื่อปี 2561 ซึ่งไม่ได้มีการพิจารณาเรื่องสิทธิและความคุ้มครองที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน

ถ้าผู้เขียนจำไม่ผิดเมื่อตอนกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมงสำหรับนักเรียนนิสิต นักศึกษา ฝ่ายสหภาพแรงงานก็ไม่ค่อยเห็นด้วยและพยายามต่อสู้ประเด็นที่นายจ้างถือโอกาสละเว้นสิทธิประโยชน์ของแรงงาน

อย่างไรก็ตาม กรณีของค่าจ้างรายชั่วโมงของนักเรียน นิสิต นักศึกษา และผู้สูงอายุ อาจถือเป็นกรณีพิเศษที่ ILO เรียกว่า Subminimum wages หรืออัตราค่าจ้างขั้นต่ำรอง (ILO, 2016, Minimum Wage Policy Guide, 21) แต่ของประเทศไทย กระทรวงแรงงานมีคำอธิบาย คือ

การที่อัตราค่าจ้างรายชั่วโมงที่เคยกำหนดมีความบกพร่องโดยการละเลยสิทธิประโยชน์อันพึงมีตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ทางกระทรวงแรงงาน (กลุ่มงานที่ปรึกษากฎหมาย นิติกรรม และสัญญา กองนิติการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 3 เมษายน 2560) ได้แถลงว่า ประกาศคณะกรรมการค่าจ้างเรื่องอัตราค่าจ้างรายชั่วโมง สำหรับนักเรียนนักศึกษาฯ “ไม่มีสภาพเป็นกฎหมายใช้บังคับ” แต่เป็นเพียงข้อแนะนำให้สถานประกอบการ ใช้เป็นแนวทางกรณีทำงานไม่เต็มเวลา และกองนิติการให้ข้อหารือว่า “แม้นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานน้อยกว่าเวลาทำงานปกติเพียงใดก็ตาม การที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานน้อยกว่าวันละแปดชั่วโมงสำหรับงานทั่วไป หรือเจ็ดชั่วโมงสำหรับงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพฯ ลูกจ้างทุกประเภทก็ต้องได้รับค่าจ้างไม่ต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำในหนึ่งวัน จะคำนวณโดยเฉลี่ยจ่ายเป็นรายชั่วโมงมิได้ เพราะจะทำให้ลูกจ้างได้รับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้างกำหนด” “ซึ่งเป็นการปฏิบัติไม่สอดคล้องกับมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541”

ทั้งนี้ เคยกำหนดวัตถุประสงค์ของการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงของนักเรียน นิสิต นักศึกษา (ที่ให้ชม.ละ 40 บาท) ว่าต่างกับการกำหนดกรณีของแรงงานโดยทั่วไป คือ

(1) วัตถุประสงค์เพียงเพื่อกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษา ตระหนักในเรื่องความสำคัญของการมีงานทำและการประกอบอาชีพ และต้องการสร้างเสริมประสบการณ์การทำงานและวินัยในการทำงานให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาเท่านั้น มิได้มุ่งเน้นการมีรายได้เลี้ยงตัวเองเป็นสำคัญ

(2) กระทรวงแรงงานเห็นว่านักเรียน นิสิต และนักศึกษา ยังไม่เป็นคนงานแต่เป็นผู้ฝึกงาน ค่าตอบแทนที่ได้รับจึงเป็นค่าตอบแทนการฝึกงานเท่านั้น (ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (สมัยนายทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 27 มกราคม 2547)

ในขณะเดียวกันค่าจ้างรายชั่วโมงของผุ้สูงอายุก็มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกันคือเพื่อส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุซึ่งไม่สามารถทำงานเต็มเวลาได้ โดยในปี 2562 กระทรวงแรงงานได้ประกาศค่าจ้างรายชั่วโมงของผู้สูงอายุ โดยระบุว่าเป็นงาน Part time สำหรับผู้อายุ 60 ปีขึ้นไป อัตราค่าจ้างรายชั่วโมง ชั่วโมงละ 45 บาทเท่ากันทุกพื้นที่ โดยให้ทำงานได้ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมงและไม่เกินสัปดาห์ละ 6 วัน

วกกลับมาที่ปัญหาของค่าจ้างรายชั่วโมง คือ ทำอย่างไรลูกจ้างรายชั่วโมงจะยังคงได้รับสิทธิประโยชน์ดังได้กล่าวไปแล้ว

ผู้เขียนเดาใจพี่น้องลูกจ้างแรงงาน นั่นคือสิ่งที่ฝ่ายลูกจ้างอยากเห็นอยากได้ ถามว่าเราจะกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงโดยยังคงไว้ซึ่งสิทธิประโยชน์ต่างๆ ข้างต้นได้หรือไม่

คำถามคือ yes and no คือได้บ้าง ไม่ได้บ้าง คือ จะเอาทั้งหมดคงไม่ได้

1) เรื่องสิทธิประโยชน์วันหยุด วันลาโดยได้รับค่าจ้าง – ตอบว่า ไม่ได้ เรื่องนี้ผู้เขียนได้ศึกษาดูของประเทศที่มีการใช้อัตราค่าจ้างรายชั่วโมง เช่น อเมริกา พบว่าลูกจ้างที่รับค่าจ้างรายชั่วโมงไม่มีสิทธิได้รับวันหยุด วันลาโดยได้รับค่าจ้าง

2) เรื่องประกันสังคม มาตรา 33 หรือมาตรา 40 – น่าจะพอทำได้ โดยดูกรณีของอเมริกาลูกจ้างรายชั่วโมงจะต้องทำประกันสังคมโดยหักภาษี (payroll tax) ส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 6.2) จากค่าจ้างของลูกจ้างและอีกส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 6.2) ให้นายจ้างจ่าย บวกกับค่าประกันรักษาพยาบาล (Medicare tax) อีกส่วนหนึ่งโดยหักจากค่าจ้าง (ร้อยละ 1.45) และนายจ้างออกในอัตราเท่าๆ กัน

เรื่องนี้ถ้าเราไปดูกฎหมายประกันสังคม (พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.2533 และฉบับที่ 4 พ.ศ.2558) ของเราที่เป็นอยู่คือ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน (มาตรา 33) และให้รัฐบาล นายจ้างและผู้ประกันตน (มาตรา 46) ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร และกรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงานตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ดังแสดง ในตาราง

จะเห็นได้ว่าตามอัตราและสัดส่วนเงินสมทบที่แสดงในตารางน่าจะใช้เป็นแนวทางเก็บเงินสมทบจากลูกจ้างรายชั่วโมงได้ โดยเข้าหลักเกณฑ์ในแง่ของกรอบรายได้ต่อเดือนคือถ้านำค่าจ้างรายวันไปคำนวณเป็นรายเดือนตามเกณฑ์ฐานเงินเดือนที่สำนักงานประกันสังคมกำหนดคือ ขั้นต่ำสุดที่ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท จะเห็นได้ว่า ถ้าสมมุติว่าค่าจ้างรายชั่วโมง ชั่วโมงละ 45 บาท ทำงานวันละ 7 ชั่วโมง ทำงานสัปดาห์ละ 6 วัน ก็เข้าเกณฑ์ขั้นต่ำแล้ว ส่วนเรื่องของกองทุนทดแทนก็สามารถทำได้ไม่ยาก ในรายละเอียดกระทรวงแรงงานคงต้องออกแรงคิดต่อสักหน่อยก็น่าจะทำได้

ถ้าทำได้อย่างนี้จึงจะกล้าพูดได้ว่าค่าจ้างรายชั่วโมงออกมาเพื่อ “ช่วย” ลูกจ้าง เรื่องนี้ถ้าท่านรัฐมนตรีสุชาติและรัฐมนตรีช่วยนฤมลจะลงมือทำก็เป็นเรื่องดีครับ

หมายเหตุเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ 20 สิงหาคม 2563 ทางมติชน คอลัมน์ ดุลยภาพ ดุลยพินิจ

[Update] �ҹ�ҹ��Ҩ�ҧ����ѹ �ҧҹ�ҹ��Ҩ�ҧ����ѹ ��Ѥçҹ�ҹ��Ҩ�ҧ����ѹ | ค่าจ้างรายวัน – NATAVIGUIDES

�س���ѵ�  :
!!!��ǹ�ҡ!!!Part-time �Ѻʵ�͡�Թ�����ҧ��þ�Թ�������� �Ң� ����� (300�ҷ/�ѹ)

!!!��ǹ�ҡ!!!Part-time �Ѻʵ�͡�Թ�����ҧ��þ�Թ�������� �Ң� ����� (300�ҷ/�ѹ)

– ���ӡѴ�زԡ���֡��
– �����繵�ͧ�ջ��ʺ��ó�
– �� ��� ���� ˭ԧ ���ص���� 18 – 40 ��
– ���ҷӧҹ ����� 20.00 – 05.00 �.
– ��Ժѵԧҹ �ѹ��� 12-17 ���Ҥ� 2559
– ������������ͧ���� ���
– ����ö������ҹ��ѹ�� (���ҹ�Ѻ�Թ����ѹ������ҹ��)
– �ѵ�Ҥ�Ҩ�ҧ 300 �ҷ/�ѹ
ʹ㨵Դ����µç��� ��ء����

081-8211684 �س ����

Job Type :�ҹ�͡���� (Part Time)
Job Description :
��Ǩ�ͺ�Թ������١��ͧ
��ШѴ���§�Թ���
Salary : Not specify
Need : Many
Location : Lampoon

����駺���ѷ : 253 ��� 11 (����ͧþ.�ѡ���ѵ�Թ) �.�آ���Է21 (��ȡ) �ǧ

– �� ��� ���� ˭ԧ ���ص���� 18 – 40 ��- ���ҷӧҹ ����� 20.00 – 05.00 �.- ��Ժѵԧҹ �ѹ��� 12-17 ���Ҥ� 2559- ������������ͧ���� ���- ����ö������ҹ��ѹ�� (���ҹ�Ѻ�Թ����ѹ������ҹ��)- �ѵ�Ҥ�Ҩ�ҧ 300 �ҷ/�ѹʹ㨵Դ����µç��� ��ء����081-8211684 �س ����Job Type :�ҹ�͡���� (Part Time)Job Description :��Ǩ�ͺ�Թ������١��ͧ��ШѴ���§�Թ���Salary : Not specifyNeed : ManyLocation : Lampoon: 253 ��� 11 (����ͧþ.�ѡ���ѵ�Թ) �.�آ���Է21 (��ȡ) �ǧ ��ͧ���˹�� �Ѳ�� ��ا෾��ҹ�� 10110


… �٤س���ѵ��������

… ����������´������


โปรแกรมร้านค้าปลีกค้าส่ง ราคา 3,210 บาท | ระบบเงินเดือน รายงานค่าจ้างรายวันรายเดือน – deejaisoft.com


55 โปรแกรมเงินเดือนพนักงาน Payroll EP.5 (รายงานรายละเอียดค่าจ้าง รายวัน / รายเดือน)
โปรแกรมร้านค้าปลีกค้าส่ง
โปรแกรมขายหน้าร้านPOS
รุ่นออนไลน์ ราคาเพียง 3,210 บาท เท่านั้น
โปรแกรมของเราทำอะไรได้บ้าง?
👉 ขายสินค้า หน้าร้าน
👉 พักบิล ขายสินค้า
👉 ระบบเช่าสินค้า
👉 ระบบรับคืนสินค้า
👉 พิมพ์ ใบเสร็จ ขายหน้าร้าน
👉 พิมพ์ ใบเสร็จ ย้อนหลัง
👉 ออกบิล vat , vat ใน , vat นอก , No vat
👉 ระบบ สต๊อกสินค้า คิดต้นทุนและตัดสต๊อกแบบ FIFO
👉 ระบบ ยิงบาร์โค้ด ขายสินค้า
👉 สร้าง บาร์โค้ด
👉 พิมพ์ บาร์โค้ด
👉 ใบเบิกสินค้า
👉 ใบเสนอราคา
👉 ใบสั่งซื้อ PO
👉 ใบกำกับภาษี แบบเต็ม , แบบย่อ
👉 แยกคลังสินค้า / สาขา ได้ไม่จำกัด
👉 โอนสินค้า ระหว่าง คลังสินค้า / สาขา
👉 บัญชี รายรับ รายจ่าย
👉 ดูรายงานยอดขาย
👉 ดูรายงาน สินค้าขายดี
👉 ระบบสมาชิก
👉 ระบบลูกหนี้ เจ้าหนี้
👉 ระบบเงินเดือนพนักงาน
👉 ระบบเคลมสินค้า
👉 ระบบทำป้ายราคาสินค้า
👉 ระบบโปรโมชั่น คูปองส่วนลด
👉 กำหนดคะเเนนสะสม
👉 กำหนดราคาแบบเหมา เช่น 3 ชิ้น 100
👉 กำหนดเรทราคาสินค้า ได้ 4 เรท ราคา
👉 กำหนดเรทราคาสินค้าแบบโปรโมชั่นได้ไม่จำกัด
👉 กำหนดสิทธิการเข้าใช้งาน เมนูต่างๆ สำหรับพนักงาน
👉 ระบบเเจ้งเเตือน สินค้าใกล้หมดสต๊อก
👉 import รายการสินค้า จากไฟล์ excel ได้
👉 export ข้อมูลออกมาเป็น excel ได้
👉 ระบบรายงานเเยกตามรายวัน รายเดือน
รายปี แยกตามสมาชิก แยกตามพนักงาน
👉 ระบบดูยอดขาย แบบ Realtime การเติบโตของร้าน ฯลฯ 
😊 โปรแกรมใช้งานง่าย ไม่ซัพซ้อน
😊 เพิ่ม User ได้ไม่จำกัด
😊 เพิ่มรายการสินค้าได้ไม่จำกัด
😊 อัพเดทโปรแกรมฟรีตลอดชีพ
😊 มีฝ่ายบริการซัพพอตหลังการขาย
😊 บริการหลังการขายฟรีตลอดชีพ
😊 บริการซัพพอต จันทร์ อาทิตย์ (เวลา 08.3017.00 น.)

✅ โปรแกรมของเรารองรับการใช้งานบน
เครื่องคอมพิวเตอร์ PC , Notebook ,
Tablet , SmartPhone ได้ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ครับ
✅ รองรับการเชื่อมต่อ การใช้งานกับอุปกรณ์ต่อพ่วง
เครื่องปริ้น , เครื่องยิงบาร์โค้ด , ลิ้นชักเก็บเงิน ได้ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ครับ\”
.
📗 คู่มือและวีดีโอสอนใช้งานโปรแกรมเวอร์ชั่น 2021 ล่าสุด เบื้องต้น 👉 https://www.deejaisoft.com/programposguide/
.
สนใจติดต่อที่
LINE : @qnc3221v หรือ
https://line.me/R/ti/p/%40qnc3221v
Tel. 0997295839
ข้อมูลเพิ่มเติม
https://www.deejaisoft.com/
……..
ระบบPOS โปรแกรมขายสินค้าหน้าร้าน
โปรแกรมขายสินค้า โปรแกรมPOS
โปรแกรมสต๊อกสินค้า โปรแกรมร้านมินิมาร์ท โปรแกรมเงินเดือน Payroll
โปรแกรมร้านขายของชำ โปรแกรมร้านโชห่วย โปรแกรมบาร์โค้ด โปรแกรมร้านวัสดุก่อสร้าง ระบบเงินเดือน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

โปรแกรมร้านค้าปลีกค้าส่ง ราคา 3,210 บาท | ระบบเงินเดือน รายงานค่าจ้างรายวันรายเดือน - deejaisoft.com

ทางลูกรัง – ไมค์ ภิรมย์พร


Created by VideoShow:http://videoshowapp.com/free

ทางลูกรัง - ไมค์ ภิรมย์พร

ผลกระทบลูกจ้างรายวัน ถนนแรงงานซอยกีบหมู | เอาให้ชัด | ข่าวช่องวัน


มาตรการปิดแคมป์คนงานก่อสร้าง กลายเป็นผลกระทบลูกโซ่ ถึงแรงงานค่าจ้างรายวัน ใน ชุมชนกีบหมู เพราะทุกวันๆ พวกเขาจะมายืนรอตั้งแต่เช้ามืด เพื่อหานายจ้าง มาติดต่องานรับเหมารายวัน แต่วันนี้พวกเขาต้องหยุดงาน ขาดรายได้ แคมป์คนงาน โควิด แรงงาน
_______________________________________
\”ข่าวช่องวัน เข้าถึงข่าว เข้าถึงคุณ\”
ติดตามชม ข่าวช่องวัน ได้ตลอดทั้งวันทางหน้าจอ ช่องวัน31
และติดตามช่องทางได้ดังนี้
Facebook / Instagram / Twitter / TikTok / Youtube : onenews31

ผลกระทบลูกจ้างรายวัน ถนนแรงงานซอยกีบหมู | เอาให้ชัด  | ข่าวช่องวัน

Labor Law Learning EP. 01 จ่ายค่าจ้างพนักงานรายวันรายเดือนอย่างไร


Labor Law Learning อีกเนื้อหาหนึ่งใน HR Companion Podcast
โดย ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต
.
รวมประเด็นข้อสงสัยด้านกฎหมายแรงงานและข้อแนะนำการบริหารจัดการให้ท่านทำไม่ผิดกฎหมาย ลดโอกาสแพ้คดีแรงงานหากลูกจ้างฟ้องร้อง ที่เรียนรู้ด้วยภาษาง่าย ๆ เน้นเชิงบริหารจัดการที่ทั้ง HR และหัวหน้างานต่างต้องเข้าใจให้ลึกซึ้ง
.
ฟังได้ที่ https://youtu.be/GH3YlMZkhpE
.
ฝากติดตาม EP อื่น ๆ ด้วยนะครับ
.
ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต
วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร
.
LaborLawLearning
HRCompanionPodcast
ชัชวาลอรวงศ์ศุภทัต
กฎหมายแรงงาน
ปัญหาแรงงาน

Labor Law Learning EP. 01 จ่ายค่าจ้างพนักงานรายวันรายเดือนอย่างไร

ค่าจ้างอิสราเอลระหว่างงานเหมากับจ้างรายวันเป็นยังงัย!!!!


ค่าจ้างอิสราเอลระหว่างงานเหมากับจ้างรายวันเป็นยังงัย!!!!

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ค่าจ้างรายวัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *