Skip to content
Home » [NEW] | point อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

[NEW] | point อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

point อ่าน ว่า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

การเรียกชื่อแอนไอออน และออกซีแอนไอออน

สรุปการเรียกชื่อของแอนไอออนและออกซีแอนไอออน

1. แอนไอออนลงท้ายด้วย -ide เช่น simple anion ____ide (Chloride,Cl-)

2. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้ 2 ออกซีแอนไอออน ลงท้ายด้วย -ite และ -ate เช่น form with less oxygen _____ite ion (nitrite ion, NO2-) ,form with more oxygen _____ate ion(nitrate ion,NO3-)

3. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้มากกว่า 2 ออกซีแอนไอออน เช่น hypo___ite,hypochlorite,ClO-___ite,Chlorite,ClO2-_____ate,Chlorate,ClO3-per____ate,perchlorate,ClO4-

การเรียกชื่อสามัญ

การตั้งชื่อสามัญ (Common name) ตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของการพบสารนั้น เช่น

Na2SO4เรียกว่า Glauber’s salt ให้เกียรติแก่ J.F.Glauber ซึ่งเป็นผู้ค้นพบ
NH4Cl เรียกว่า sal ammoniac มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน
C6H4(HO)COOCH3(methyl salicylate) เรียกว่า oil of wintergreen
SbCl3เรียกว่า butter of antimony ตามลักษณะทางกายภาพที่พบ

การเรียกชื่อสารอินทรีย์

ในสมัยแรก ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เนื่องจากมีสารที่พบไม่มากนักจึงมักจะเรียกชื่อตามที่นักเคมีคิดว่าเหมาะสม ซึ่งอาจจะเรียกชื่อตามสิ่งที่พบหรือตามสถานที่พบ ชื่อที่เรียกโดยไม่มีกฎเกณฑ์เหล่านี้ เรียกว่าชื่อสามัญ (common name) ต่อ มาเมื่อมีการค้นพบสารอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น การเรียกชื่อสามัญจึงเริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากชื่อสามัญส่วนมากจะไม่มี ส่วนสัมพันธ์กับชนิดของสารหรือไม่มีส่วนสัมพันธ์กับสูตรโครงสร้าง ทำให้ยากแก่การจดจำว่าสารดังกล่าวนั้นเป็นสารประเภทใด มีสูตรโครงสร้างเป็นอย่างไร โดยเฉพาะสารที่มีสูตรโครงสร้างคล้าย ๆ กันหรือที่มีสูตรโครงสร้างซับซ้อนจะเรียกชื่อสามัญไม่ได้

นักเคมีจึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อขึ้นใหม่ให้เป็นระบบเดียวกันว่า ระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) การเรียกชื่อในระบบ IUPAC นี้มีส่วนสัมพันธ์กับชนิดและสูตรโครงสร้างของสารจึงทำให้ง่ายแก่การจดจำ ซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ 

IUPAC

การเรียกชื่อระบบ IUPAC

เป็นการเรียกชื่อตามระบบสากล มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนจึงทำให้เรียกชื่อสารอินทรีย์ได้ทุกชนิด ทั้งที่เป็นโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่ หรือที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบง่าย และที่ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้จะทำให้ทราบชนิดและลักษณะโครงสร้างของสาร เพราะหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างสาร

การเรียกชื่อระบบ IUPAC เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1892 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยการประชุมร่วมกันของนักเคมีเพื่อวางกฎเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ ในครั้งแรกเรียกระบบการเรียกชื่อนี้ว่าระบบเจนีวา ต่อมาสหพันธ์นักเคมีระหว่างประเทศ (International Union of Chemistry) ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUC และเมื่อมีการค้นพบสารใหม่เพิ่มมากขึ้นจึงได้ปรับปรุงการเรียกชื่อใหม่อีก ครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUPAC ดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

หลักเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักดังนี้

1. ชื่อโครงสร้างหลัก เป็นส่วนที่แสดงลักษณะโครงสร้างหลักของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุด การเรียกชื่อโครงสร้างหลักจึงเรียกตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสาย ยาวที่สุด

2.คำลงท้าย เป็นส่วนที่เต็มท้ายชื่อโครงสร้างหลัก เพื่อแสดงว่าสารอินทรีย์นั้นเป็นสารประกอบประเภทใด เป็นสารประกอบประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว คำลงท้ายจะบอกให้ทราบถึงชนิดของหมู่ฟังก์ชันในโมเลกุล

3.คำนำหน้า เป็นส่วนที่เติมหน้าชื่อของโครงสร้างหลัก เพื่อจะบอกให้ทราบว่าในโครงสร้างหลักมีหมู่ฟังก์ชัน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมใดบ้างมาต่ออย่างละกี่หมู่และอยู่ที่ C ตำแหน่งใดในโครงสร้างหลัก การบอกตำแหน่งของส่วนที่มาต่อให้ใช้ตัวเลขน้อยที่สุด (ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของ C ในโครงสร้างหลัก)

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมซ้ำ ๆ กันมาเกาะให้บอกจำนวนโดยใช้ภาษากรีก เช่น di = 2 กลุ่ม, tri = 3 กลุ่ม, tetra = 4 กลุ่ม, penta = 5 กลุ่ม

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมหลายชนิดมาเกาะ ให้เรียกชื่อเรียงลำดับตามอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอย่าง

2-methyl- หมายถึง มี methyl group มาต่อที่ C ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก

3-hydroxy- หมายถึง มี OH มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 ในโครงสร้างหลัก

3-ethyl-2-methyl หมายถึง มี ethyl มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 และ methyl group มาต่อที่ C

ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก 

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

1. ให้เรียกชื่อของธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของธาตุที่อยู่ด้านหลังโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายของธาตุเป็น-ไอด์(-ide) ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

ไฮโดรเจน (H) ออกเสียงเป็น ไฮไดรต์
คาร์บอน (C) ออกเสียงเป็น คาร์ไบด์
ไนโตรเจน (N) ออกเสียงเป็น ไนไตรด์
ฟลูออรีน (F) ออกเสียงเป็น ฟลูออไรด์
คลอรีน (CI) ออกเสียงเป็น คลอไรต์
ออกซิเจน (O)ออกเสียงเป็น ออกไซต์

2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุไว้หน้าชื่อธาตุโดยวิธีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุจะระบุโดยใช้ชื่อตัวเลขในภาษากรีก ดังนี้

1 = มอนอ (mono)
2 = ได (di)
3 = ไตร (tri)
4 = เตตระ (tetra)
5 = เพนตะ (penta)
6 = เฮกซะ (hexa)
7 = เฮปตะ (hepta)
8 = ออกตะ (octa)
9 = โนนะ (nona)
10 = เดคะ (deca)

แต่มีข้อยกเว้น คือ ไม่ต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุที่อยู่ด้านหน้าในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้าน หน้ามีอยู่เพียงอะตอมเดียว และไม่จำเป็นต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้านหน้า เป็นธาตุไฮโดรเจน ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมก็ตาม

ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

N2O5Nเรียกว่า ไดโนโตรเจนเพนตะออกไซด์
N2Oเรียกว่า ไดโนโตรเจนมอนอกไซด์
CCI4เรียกว่าคาร์บอนเตตระคลอไรด์
SO2เรียกว่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์
COเรียกว่า คาร์บอนมอนนอกไซด์
CO2เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์
H2Sเรียกว่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่งเกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามด้วยธาตุหลังซึ่งเป็นไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) ดังนี้

1. เริ่มจากอ่านชื่อไอออนบวก (ธาตุโลหะ) ก่อน

2. อ่านชื่อธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) โดยเปลี่ยนเสียงสุดท้ายเป็น -ไอด์ (-ide) ดังตัวอย่างเช่น

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
MgO อ่านว่า แมกนีเซียมออกไซด์
Al2O3อ่านว่า อะลูมิเนียมออกไซด์

3. หากไอออนลบมีลักษณะเป็นกลุ่มธาตุ จะมีชื่อเรียกเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น No3-เรียกว่า ไนเดรต, CO32-เรียกว่า คาร์บอเนต, SO42-เรียกว่า ซัลเฟต OH-เรียกว่า ไฮดรอกไซด์ เป็นต้น ดังตัวอย่างเช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
Na2SO4อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่น

อออซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)

ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)

คลอรีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (iodide)

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloridr)
CaI2อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์ (Calcium iodide)

KBr อ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์ (Potascium bromide)
CaCl2อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride)

ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดีนวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่นFe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+และCu เกิดอิออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้

FeCl2อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ ( Iron (II) chloride )
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ( Cupper (I) sunfide )

FeCl3อ่านว่า ไอร์ออน(III) คลอไรด์ ( Iron (III) chloride )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ( Copper (II) sunfide )

2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่าถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต (Calcium carbonatX
KNO3อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต (Potascium nitrae)

Ba(OH)2อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์ (Barium hydroxide)
(NH4)3PO4อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต (Ammomium pospate)

การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

หลักการเรียกชื่อสารเชิงซ้อนและไอออนเชิงซ้อน
RULES FOR NAMING COORDINATION COMPLEXES

  • เรียกชื่อของไอออนบวกก่อนไอออนลบ
  • เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนต
  • ใช้ตัวเลขภาษากรีกระบุจำนวน mono-, di-, tri-, tetra-, penta-, hexa-, ในการใช้ระบุจำนวนลิแกนด์เมื่อลิแกนด์โดยมีความสัมพันธ์อย่างง่าย และใช้คำอุปสรรคในภาษากรีก bis-, tris-, and tetrakis- กับลิแกนด์ที่มีความซับซ้อน
  • ชื่อของลิแกนด์ในไอออนลบจะลงท้ายด้วย o, เช่น fluoro (F-), chloro (Cl-), bromo (Br-), iodo (I-), oxo (O2-), hydroxo (OH-), และ cyano (CN-)
  • มีลิแกนดด์เป็นกลางจำนวนเล็กน้อยใช้ชื่อสามัญ เช่น น้ำ ใช้ aquo (H2O), แอมโมเนีย ใช้ ammine (NH3), และคาร์บอนิล ใช้ carbonyl (CO)
  • การเรียงลำดับของลิแกนด์ให้เรียงลำดับดังนี้: ไอออนลบ โมเลกุลที่เป็นกลาง ไอออนบวก สำหรับลิแกนด์ที่มีประจุเหมือนกันให้เรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
  • ระบุเลขออกซิเดชันของอะตอมโลหะแทรนซิชันเป็นตัวเลขโรมันอักษรตัวใหญ่ตามหลังอะตอมโลหะ
  • ชื่อของไอออนเชิงซ้อนลบจะลงท้ายด้วย –

    ate

    เช่น Co(SCN)42-, อ่านว่า tetrathiocyanatocobaltate(II) ion เมื่อสัญลักษณ์ของโลหะแทรนซิชันมาจากภาษาละติน ให้ลงท้ายชื่อโลหะ ให้ลงท้ายชื่อด้วย

    -ate

    เช่น

    Fe

    ในไออนเชิงซ้อนลบ

    คำในภาษาละตินคือ

    ferrum

    ชื่อของ

    Fe

    จึงเป็น

    ferrate

    และของทองแดง

    Cu

    จึงเป็น

    cuprate

  • ชื่อของโลหะแทรนซิซันในไอออนเชิงซ้อนบวก ให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษตากปกติ และต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย

[NEW] ตัวเลขภาษาอังกฤษ หลักหน่วยถึงหลักล้าน | point อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

การสื่อสารเรื่องตัวเลขเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในชีวิตประจำวัน สำหรับใครที่ยังสื่อสารเรื่องตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษไม่ค่อยได้ เพราะยังไม่แม่นศัพท์หรือยังไม่รู้วิธีการอ่าน ชิววี่ก็ได้รวบรวมข้อมูลมาให้ในบทความนี้แล้ว

ในบทความนี้ ชิววี่ได้รวบรวมวิธีการอ่านตัวเลขรูปแบบต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ ทั้งตัวเลขธรรมดา ทศนิยม และเศษส่วน เอาล่ะ ถ้าเพื่อนๆพร้อมแล้ว เราไปดูด้วยกันเลย

เลข 1-100

ตัวเลขภาษาอังกฤษ0Zero1One2Two3Three4Four5Five6Six7Seven8Eight9Nine10Ten11Eleven12Twelve13Thirteen14Fourteen15Fifteen16Sixteen17Seventeen18Eighteen19Nineteen20Twenty21Twenty-one22Twenty-two23Twenty-three24Twenty-four25Twenty-five26Twenty-six27Twenty-seven28Twenty-eight29Twenty-nine30Thirty31Thirty-one32Thirty-two33Thirty-three34Thirty-four35Thirty-five36Thirty-six37Thirty-seven38Thirty-eight39Thirty-nine40Forty41Forty-one42Forty-two43Forty-three44Forty-four45Forty-five46Forty-six47Forty-seven48Forty-eight49Forty-nine50Fifty51Fifty-one52Fifty-two53Fifty-three54Fifty-four55Fifty-five56Fifty-six57Fifty-seven58Fifty-eight59Fifty-nine60Sixty61Sixty-one62Sixty-two63Sixty-three64Sixty-four65Sixty-five66Sixty-six67Sixty-seven68Sixty-eight69Sixty-nine70Seventy71Seventy-one72Seventy-two73Seventy-three74Seventy-four75Seventy-five76Seventy-six77Seventy-seven78Seventy-eight79Seventy-nine80Eighty81Eighty-one82Eighty-two83Eighty-three84Eighty-four85Eighty-five86Eighty-six87Eighty-seven88Eighty-eight89Eighty-nine90Ninety91Ninety-one92Ninety-two93Ninety-three94Ninety-four95Ninety-five96Ninety-six97Ninety-seven98Ninety-eight99Ninety-nine100One hundred

เลขหลักร้อยขึ้นไป

British English นิยมใช้ and ระหว่างหลักร้อยและหลักสิบ/หน่วย
แต่ American English จะนิยมละ and

ตัวเลขหลักร้อย
101 – One hundred (and) one
102 – One hundred (and) two
145 – One hundred (and) forty-five

ตัวเลขหลักพัน
1,000 – One thousand
1,001 – One thousand (and) one
1,045 – One thousand (and) forty-five
1,645 – One thousand six hundred (and) forty-five

ตัวเลขหลักหมื่น
10,000 – Ten thousand
10,001 – Ten thousand (and) one
10,045 – Ten thousand (and) forty-five
10,645 – Ten thousand six hundred (and) forty-five
28,645 – Twenty-eight thousand six hundred (and) forty-five

ตัวเลขหลักแสนขึ้นไป
100,000 – One hundred thousand (แสน)
1,000,000 – One million (ล้าน)
10,000,000 – Ten million (สิบล้าน)
100,000,000 – One hundred million (ร้อยล้าน)
1,000,000,000 – One billion* (พันล้าน)
1,000,000,000,000 – One trillion* (ล้านล้าน)

*สมัยก่อน British English จะถือว่า billion คือล้านล้าน และ trillion คือล้านล้านล้าน แต่ในระยะหลังได้เปลี่ยนมาใช้แบบเดียวกับ American English แล้ว ซึ่งก็คือพันล้านสำหรับ billion และล้านล้านสำหรับ trillion นั่นเอง

เลขทศนิยม

เลขทศนิยมให้อ่านจุดว่า point และอ่านตัวเลขหลังจุดทีละตัว
0.1 – Zero point one หรือ Point one
0.25 – Zero point two five หรือ Point two five
8.35 – Eight point three five

เลขเศษส่วน

เลขส่วนต้องอ่านโดยใช้เลขลำดับ ยกเว้นเลข 2 จะอ่านว่า half ส่วนเลข 4 จะอ่านว่า quarter หรือ fourth ก็ได้

เศษเป็นหนึ่ง อ่านเศษว่า one หรือ a ก็ได้
1/2 – One half หรือ A half
1/3 – One third หรือ A third
1/4 – One quarter/fourth หรือ A quarter/fourth
1/5 – One fifth หรือ A fifth
1/10 – One tenth หรือ A tenth

ถ้าเศษมากกว่าหนึ่ง ต้องเติม s ที่ตัวหลัง
2/3 – Two thirds
3/4 – Three quarters หรือ Three fourths
9/10 – Nine tenths
5/2 – Five halves
15/7 – Fifteen sevenths

ถ้ามีจำนวนเต็ม ให้คั่นจำนวนเต็มกับเศษส่วนด้วย and
1 1/2 – One and a half
3 2/5 – Three and two fifths

เป็นไงบ้างครับสำหรับการอ่านตัวเลขในภาษาอังกฤษ พยายามฝึกอ่านฝึกใช้บ่อยๆนะครับ จะได้ใช้ได้คล่องและแม่นยำมากขึ้น

อย่าลืมนะครับ ภาษาอังกฤษยิ่งเรียนรู้ ยิ่งฝึก ก็ยิ่งเก่ง สำหรับบทความนี้ ชิววี่ต้องขอตัวลาไปก่อน See you next time


Trigger Point คืออะไร ? – Hero Athletes


Trigger Point คืออะไร ? Hero Athletes
heroathletes
knowledgeispower
youcantstopme

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Trigger Point คืออะไร ? - Hero Athletes

ความชื้นสัมพัทธ์ vs จุดน้ำค้าง (relative humidity vs dew point)


ความชื้นสัมพัทธ์ vs จุดน้ำค้าง (relative humidity vs dew point)

ดราม่าระดับเทพ: ลูซิเฟอร์เป็นใคร? | Point of View


อ้างอิง
Cooley, J. (2008). Inana and Sukaletuda: A Sumerian Astral Myth. Rivista Di Storia, Ambienti e Culture Del Vicino Oriente Antico, 5. https://www.academia.edu/1247599/Inana_and_Sukaletuda_A_Sumerian_Astral_Myth
EOSPHORUS \u0026 HESPERUS (Eosphoros \u0026 Hesperos) Greek Gods of the Morning \u0026 Evening Stars. (n.d.). Theoi. https://www.theoi.com/Titan/AsterEosphoros.html
Franco. (2011, December). Lucifer: Mistaken for Satan for 1700 Years. Soulbody. https://www.soulbody.ca/lucifermistakensatan1700years/
Hunter, W. B. (1969). Milton on the Exaltation of the Son: The War in Heaven in Paradise Lost. ELH, 36(1), 215. https://doi.org/10.2307/2872151
Kohler, K. (n.d.). LUCIFER. Jewish Encyclopedia. Retrieved May 27, 2021, from https://jewishencyclopedia.com/articles/10177lucifer
Paolucci, A. (1964). Dante’s Satan and Milton’s “Byronic Hero.” Italica, 41(2), 139. https://doi.org/10.2307/476984
Rhodes, R. (2007, October 22). How Did Lucifer Fall and Become Satan? Christianity. https://www.christianity.com/theology/theologicalfaq/howdidluciferfallandbecomesatan11557519.html

ติดต่องาน : [email protected] (งานเท่านั้น)
ทางไปซื้อสติกเกอร์ line http://line.me/S/sticker/1193089 และ https://line.me/S/sticker/1530409
ทางไปซื้อ วรรณคดีไทยไดเจสต์ https://godaypoets.com/product/thaidigestlimitededition/
ติดตามคลิปอื่นๆ ที่ http://www.youtube.com/c/PointofView
ติดตามผลงานอื่นๆได้ที่
https://www.facebook.com/pointoofview/
tiktok @pointoofview
หรือ
IG Point_of_view_th
PointofView
ลูซิเฟอร์
00:00 ทำไมเล่า
01:06 จุดกำเนิดลูซิเฟอร์
09:23 ลูซิเฟอร์ในคริสต์ศาสนา
12:17 ภาพจำของลูซิเฟอร์

ดราม่าระดับเทพ: ลูซิเฟอร์เป็นใคร? | Point of View

ดราม่าระดับเทพ: เทพองค์ไหน ใหญ่ ที่สุด? | Point of View


ติดต่องาน : [email protected] (งานเท่านั้น)
ทางไปซื้อสติกเกอร์ line http://line.me/S/sticker/1193089 และ https://line.me/S/sticker/1530409
ทางไปซื้อ วรรณคดีไทยไดเจสต์ http://godaypoets.com/thaidigest
ทางไปซื้อเสื้อ https://www.deehub.com/profile/98/viewcud
ติดตามคลิปอื่นๆ ที่ http://www.youtube.com/c/PointofView
ติดตามผลงานอื่นๆได้ที่
https://www.facebook.com/pointoofview/
twitter @pointoofview
หรือ
IG Point_of_view_th

ฟัง นิทานไทย วรรณคดีไทย สนุกๆ https://www.youtube.com/playlist?list=PLfqt6BlTNYnWUtrSsqOEiTjxVsJH_WBJl
ฟังเรื่องเกี่ยวกับ รามเกียรติ์ รามายณะ https://www.youtube.com/playlist?list=PLfqt6BlTNYnXfrgoQ5GVLgbjpzgOWplHi
Help us caption \u0026 translate this video!
https://amara.org/v/C2qK6/

ดราม่าระดับเทพ: เทพองค์ไหน ใหญ่ ที่สุด? | Point of View

วัคซีน คืออะไร? มาจากไหน? | Point of View


อ้างอิง
Barranco, C. (2020, September 28). The first live attenuated vaccines. Nature. https://www.nature.com/articles/d42859020000085?error=cookies_not_supported\u0026code=dbf0a8aee11a46bd8a17e3132c55e0e6
Didgeon, J. A. (1963). Development of Smallpox Vaccine in England in the Eighteenth and Nineteenth Centuries. BMJ, 1(5342), 1367–1372. https://doi.org/10.1136/bmj.1.5342.1367
Stern, A. M., \u0026 Markel, H. (2005). The History Of Vaccines And Immunization: Familiar Patterns, New Challenges. Health Affairs, 24(3), 611–621. https://doi.org/10.1377/hlthaff.24.3.611
The College of Physicians of Philadelphia. (n.d.). Timeline. The History of Vaccines. https://www.historyofvaccines.org/timeline/all
World Health Organization. (2020, December 30). Vaccines and immunization: What is vaccination? WHO. https://www.who.int/newsroom/qadetail/vaccinesandimmunizationwhatisvaccination

ติดต่องาน : [email protected] (งานเท่านั้น)
ทางไปซื้อสติกเกอร์ line http://line.me/S/sticker/1193089 และ https://line.me/S/sticker/1530409
ทางไปซื้อ วรรณคดีไทยไดเจสต์ https://godaypoets.com/product/thaidigestlimitededition/
ติดตามคลิปอื่นๆ ที่ http://www.youtube.com/c/PointofView
ติดตามผลงานอื่นๆได้ที่
https://www.facebook.com/pointoofview/
tiktok @pointoofview
หรือ
IG Point_of_view_th
PointofView
วัคซีน
00:00 ทำไมเล่า
00:47 ภูมิคุ้มกันคืออะไร
02:39 การสร้างวัคซีน
06:05 จุดกำเนิดวัคซีน
12:25 Louis Pasteur

วัคซีน คืออะไร? มาจากไหน? | Point of View

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ point อ่าน ว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *