Skip to content
Home » [NEW] Opplæringslova § 2-8 oversettelse på ulike språk – Wikibøker | สํา น วน ไทย และ ความ หมาย – NATAVIGUIDES

[NEW] Opplæringslova § 2-8 oversettelse på ulike språk – Wikibøker | สํา น วน ไทย และ ความ หมาย – NATAVIGUIDES

สํา น วน ไทย และ ความ หมาย: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Ukategorisert: Denne modulen har ingen linker tilbake til boken den hører til. Den bør gjøres til en underside av boken den tilhører.

Denne modulen har ingen linker tilbake til boken den hører til. Den bør gjøres til en underside av boken den tilhører.

Lov om grunnskolen og den vidaregåande opplæringa (opplæringslova).

[

rediger

]

§ 2-8. Særskild språkopplæring for elevar frå språklege minoritetar

[

rediger

]

Endra med lover 4 juli 2003 nr. 84 (i kraft 1 okt 2003), 2 juli 2004 nr. 69 (i kraft 1 sep 2004,etter res. 2 juli 2004 nr. 1064).

Opplæringslova § 2-8 oversettelse på ulike språk

  • ARABISK
  • RUSSISK
  • FILIPINSK (Tagalog)
  • POLSK
  • BOSNISK

THAI

พระราชบัญญัติการศึกษา​​​แห่งชาติ​​ § 2 – 8
บทบัญญัติที่ว่า​​​​​ด้วย​​​​​การจัดการเรียนรู้ด้านภาษาสำ​​​​​หรับนักเรียนต่างชาติ​​​ ​​​ใน​​​​​มาตรา​​​ 2 – 8 ​​​กำ​​​​​หนด​​​​​ไว้​​​​​ว่า​​​ ​

นักเรียนที่​​​​​เรียน​​​​​อยู่​​​​​ใน​​​​​การศึกษาภาคบังคับคือ​​​​​ใน​​​​​ระดับชั้นประถม​​​​​และ​​​​​ชั้นมัธยมศึกษาที่มีภาษาพูด​​​​​หรือ​​​​​เขียน​​​ (ภาษา​​​​​แม่) ​​​เป็น​​​​​ภาษา​​​​​อื่น​​​​​ที่​​​​​ไม่​​​​​ใช่​​​​​ภาษานอร์​​​​​เวย์​​​​​เจียน​​​​​หรือ​​​​​ภาษาซามิสค์​​​ ​ ​​จะ​​​มีสิทธิ์​​​​​ได้​​​​​รับการเรียนการสอนภาษา​​​​​นอรเวย์​​​​​เจียน​​​​​เป็น​​​​​กรณีพิ​​​​​เศษ​​​ ​​​จนกระทั่ง​​​​​ผู้​​​​​เรียนมี​​​​​ความ​​​​​สามารถ​​​​​ใช้​​​​​ภาษานอรเวย์​​​​​เจียน​​​ได้​​​​​เพียงพอ​​​​​จน​​ ​​สามารถ​​​​​ที่​​​​​จะ​​​​​ติดตามการเรียนการสอน​​​​​ใน​​​​​ชั้นเรียน​​​​​ได้

ถ้า​​​​​มี​​​​​ความ​​​​​จำ​​​​​เป็น​​​ ​​​นักเรียนเหล่านี้มีสิทธิ์ที่​​​​​จะ​​​​​ได้่​​​​​รับการเรียนการสอน​​​​​ใน​​​​​ภาษา​​​​​แม่ของตน​​​ ​​​หรือ​​​​​ทั้ง​​​​​สองภาษา​​​ ​(​​ใน​​​ที่นี้คือภาษา​​​​​แม่​​​​​และ​​​​​ภาษานอร์​​​​​เวย์​​​​​เจียน) ​​​ใน​​​ ​​วิชาต่าง​​​ ​​​ๆ​​​ ​​​ได้​​​​​หรือ​​​​​อาจ​​​​​จะ​​​​​ได้​​​​​รับสิทธ​​​​​ิ​ใน​​​​​การเรียนการสอน​​​​​ทั้ง​​​​​สองแบบ​​​​​ควบคู่​​​​​กัน​​​​​ไป​​ ​​สำ​​​​​หรับ​​​​​ใน​​​​​การเรียนการสอนที่กล่าวมานี้​​​ ​​​สามารถ​​​​​จะ​​​​​จัดขึ้น​​​​​ใน​​​​​สถานศึกษา​​​​​อื่น​​​​​ที่​​​​​ไม่​​​​​ใช่​​​​​สถานศึกษา​​​​​ของนักเรียน​​​​​ได้​​​ ​ ​​ใน​​​​​กรณีที่​​​​​ไม่​​​​​มีบุคลากรที่​​​​​เหมาะสม​​ ​​ทางหน่วยงานที่รับผิดชอบมีหน้าที่ดำ​​​​​เนินการ​​​​​จัดการเรียนการสอน​​​ ​​ให้​​​​​เหมาะ​​​​​กับ​​​ความ​​​​​รู้​​​ ​​ความ​​​​​สามารถ​​​​​ของนักเรียน​​​​​ให้​​​​​มากที่สุด

ใน​ทางปฏิบัติสำ​หรับการเรียนการสอนภาษา​ให้​กับ​นักเรียนที่​ไม่​ได้​ใช้​ภาษานอร์​เวย์​เจียน​ /​ภาษาซามิสค์​เป็น​ภาษา​แม่​เหล่านี้​ ​ซึ่ง​รวม​ถึง​นักเรียนที่​ใช้​ภาษา​ไทย​เป็น​ภาษา​แม่​ ​จะ​ได้​รับการเรียนการสอนภาษา​แบบ​ใด​แบบหนึ่ง​หรือ​หลายแบบร่วม​กัน​ดังนี้คือ

-การสอนการเขียน​และ​อ่านภาษา​ไทย​ (morsmålsopplæring)

-การสอนวิชาต่าง​ ​ๆ​ ​โดย​ใช้​ภาษา​ไทย​และ​ภาษานอร์​เวย์​เจียน​ (tospråklig fagundervisning)

-การสอนภาษานอร์​เวย์​เจียน​เป็น​พิ​เศษเฉพาะบุคคล​ (særskilt norskopplæring )

เป้าหมายของการเรียนการสอนก็​เพื่อ​จะ​ให้​นักเรียน​สามารถ​เรียนภาษานอร์​เวย์​เจียน​ได้​ดีขึ้น​ ​ซึ่ง​ผู้​ปกครองทางบ้านเอง​ ​ก็มีหน้าที่สำ​คัญเพื่อ​ช่วย​ส่งเสริม​ ​การเรียนรู้ของบุตรหลานของตน​ให้​มีการพัฒนา​ไปอย่างมีประสิทธิ์ภาพ

การจัดการเรียนการสอน​จะ​พิจารณา​จาก​พื้นฐาน​และ​ความ​สามารถ​ทางด้านภาษานอร์​เวย์​เจียนของนักเรียนแต่ละคน​ ​เป็น​เกณฑ์​เพื่อ​จะ​ได้​รับ การเรียนการสอน​ใน​แบบต่าง​ ​ๆ​ ​ดังนี้

การเรียนการสอนภาษา​แม่​ (morsmålsopplæring ​ใน​ที่นี้ึคือภาษา​ไทย) ​เป็น​การสอนการอ่าน​และ​เขียนภาษา​แม่ของตน​ ​เพราะ​เมื่อนักเรียน​
เข้า​ใจ​ใน​ภาษาของตน​แล้ว​ ​จะ​ทำ​ให้​เข้า​ใจคำ​ศัพท์​และ​ความ​หมายต่าง​ ​ๆ​ ​ใน​ภาษานอร์​เวย์​เจียน​ได้​ดีขึ้น​ ​ชั่วโมงเรียน​จะ​จัด​ให้​อยู่​นอกเวลา​เรียน

การสอน​ใน​วิชาต่าง​ ​ๆ​ ​โดย​ใช้​ภาษา​ไทย​และ​ภาษานอร์​เวย์​เจียน​ (tospråklig fagundervisning) ​การเรียนการสอนที่​ใช้​ภาษา​ไทยควบคู่​ไป​กับ​ภาษานอร์​เวย์​เจียน​ ​ใน​การอธิบาย​ความ​หมายต่าง​ ​ๆ​ ​เพื่อ​ให้​นักเรียน​เข้า​ใจ​ ​ใน​บทเรียน​และ​เนื้อหาวิชา​ได้​ดีขึ้น​ ​การเรียนการสอนอาจ​จะ​จัด​ให้​ร่วมเรียนวิชา​นั้น​ ​ๆ​ ​กับ​นักเรียน​ใน​ชั้นเรียนของตน​ ​หรือ​นอกชั้นเรียนก็​ได้

การสอนภาษานอร์​เวย์​เป็น​กรณีพิ​เศษเฉพาะบุคคล​ (særskilt norskopplæring ) ​ถ้า​สา​เหตุ​ใน​การ​ไม่​เข้า​ใจ​ใน​วิชาต่าง​ ​ๆ​ ​ของนักเรียนที่​ใช้​ภาษานอร์​เวย์​เจียนเ็ป็นภาษาที่สอง​ ​เนื่อง​มา​จาก​มี​ความ​เข้า​ใจ​ใน​ด้านภาษา​ไม่​ดีพอ​ ​ก็​จะ​จัดการเรียนการสอนตลอดจนเนื้อหา​และ​หลักสูตร​
​ใน​ภาษานอร์​เวย์​เจียน​เป็น​กรณีพิ​เศษเฉพาะบุคคลขึ้น​ให้​กับ​นักเรียนแต่ละคน

เมื่อนักเรียนมีทักษะ​ใน​ภาษานอร์​เวย์​เจียนจน​ถึง​ระดับที่​เข้า​ใจ​และ​สามารถ​ติดตามการเรียนการสอน​ใน​ชั้นเรียน​ ​ได้​ตามปกติ​แล้ว​
​จำ​นวนชั่วโมงของการเรียนการสอนภาษา​แบบต่าง​ ​ๆ​ ​จะ​ลดลงตามลำ​ดับ

ARABISK

قانون التعليم 8- 2 §

تعليم\ تدريب مميز للغة النرويجية لطلاب الأقليات الأجنبية

الطلاب في المدرسة الأساسية ( الابتدائية والمتوسطة) ممن لهم لغة الأم وهي غير اللغة النرويجية واللغة السامية, لهم الحق في تعلم\ التدريب على اللغة النرويجية حتى يمكنهم المشاركة في المحادثة النرويجية لحين انتهاء تعليمهم المدرسي.
في الحالات الضرورية مثل هؤلاء الطلاب لهم الحق في تعلم اللغة الأم, أو تعلم اللغة النرويجية, أو تعلم اللغتين سوية ( لغة الأم واللغة النرويجية)
يمكن أن يكون تعلم اللغة الأم في مدرسة ثانية غير مدرسة الطالب الاعتيادية.
عندما لا يمكن توفر فرصة تعليم لغة الأم أو تعليم اللغتين من خلال الهيئة التعليمية, فسوف تقوم الكميونة بتهيئة طريقة أخرى لتفوير هذا التعليم بما يتناسب مع قابليات واحتياجات الطلبة.

RUSSISK

ЗАКОН ОБ ОБРАЗОВАНИИ § 2-8

Специализированное языковое обучение учащихся,
представляющих языковые меньшинства

Учащиеся начальной школы, родным языком которых является язык, отличный от норвежского или саамского языков, имеют право на специализированное обучение норвежскому языку до получения ими необходимых навыков в норвежском языке, достаточных для следования обычному школьному обучению. При необходимости, данные учащиеся имеют также право на обучение родному языку, право на двухязычное предметное обучение, или право на оба типа обучения.

Проведение обучения родному языку может быть организовано в иной школе, нежели та, в которой учащийся обучается.

Если проведение обучения родному языку и двухязычное предметное обучение не могут быть организованы обучающим персоналом, то коммунальные органы власти должны организовать другой тип долговременного обучения , соответствующего ожиданиям учащихся.

TAGALOG

BATAS NG PAGTUTURO BLG. 24

Batas ng pagtuturo bilang 24 ay nagsasabi na ang estudyanting may sariling inang wika bukod sa norwego at samisk ay may karapatang maturoan ng kanyang sariling inang wika,at may gurong makapagturo nito sa kanyang leksjon, bukod sa norwego.At sa hanggang ang estudyante ay kabihasa na ang pagsasalita ng norwego na puedeng masundin ang karaniwang pagtuturo sa eskwelahan.

POLSK

NAUCZANIE JĘZYKA DOTYCZĄCE UCZNIÓW MNIEJSZOŚCI NARODOWYCH

Indywiduale potrzeby dziecka stanowią podstawę do realizacji nauczania dostosowanego do danego ucznia.

Jeżeli umiejętności języka norweskiego dziecka są na tyle dobre, że może ono brać udział w normalnym nauczaniu w szkole, nie przysługuje wtedy dziecku prawo do specjalnego nauczania norweskiego, do dwujęzycznej nauki przedmiotów i/lub nauki języka ojczystego.

Celem nauczania jest doskonalenie umiejętności języka norweskiego. Rodziców zadaniem powinno być kształtowanie u dziecka umiejętności posługiwania się językiem ojczystym. W ten sposób będzie dziecko w stanie operować dwoma językami.

Specjalne nauczanie norweskiego:

• Nauka norweskiego zgodna z planem nauczania- ”Norweski jako drugi język”.
• Inne, specjalne nauczanie, niekoniecznie realizowane w tak obszernym zakresie jak nauczanie norweskiego jako drugi język.
• Wzmocnione nauczanie norweskiego w przedmiotach w przypadku, gdy uczeń ma problemy związane ze słabo opanowanym językiem norweskim.

Nauczanie języka ojczystego:

1. Przez pierwsze lata nauki tego języka w szkole, realizuje się naukę czytania w jęzku ojczystym. Stanowić to będzie pomoc w procesie nauczania czytania po norwesku. Nauka języka ojczystego ma na celu rozwijać słownictwo u ucznia w taki sposób, aby uczeń był w stanie ”wiązać” wyrazy języka ojczystego z norweskimi.

2. Dwujęzyczna nauka przedmiotów.
Pomaganie uczniom w klasie w trakcie trwania lekcji lub nuczanie indywidualne, poza klasą, w celu wytłumaczenia wyrazów/wyrażeń przerabianych tematów na lekcji albo nauczanie tematów z danych przedmiotów. Nauczanie odbywa się w języku ojczystym i norweskim. Celem tak realizowanego naczania, jest rozwijanie u ucznia zakresu wiadomości z poszczególnych przedmiotów.

Uczniowie otrzmymać mogą w zależności od potrzeb:

• nauczanie specjalne norweskiego, nauczanie języka ojczystego/ dwujęzyczne nauczanie przedmiotów (uczeń traci naukę języka ojczystego w momencie, kiedy opanuje umiejętność czytania)
• specjalne nauczanie norweskiego

Uczniowie, którym nie przyznano specjalne nauczanie norweskiego nie mają prawa do nauki języka ojczystego/ dwujęzcznej nauki przedmiotów. Gdy uczniowie osiągną wystarczające umiejętności w języku norweskim, tracą wtedy: w pierwszym rzędzie nauczanie języka ojczystego, następnie dwujęzyczną naukę przedmiotów i na końcu nauczanie specjalne norweskiego.

BOSNISK

NASTAVNI ZAKON § 2-8

Posebna nastava norveskog jezika za ucenike manjina

Ucenici u osnovnoj skoli koji imaju drugi maternji jezik nego norveski ili laponski imaju pravo na posebnu jezicku nastavu dok ne budu dovoljno dobri u norveskom jeziku da mogu pratiti normalnu nastavu.Ako je potrebno ovi ucenici imaju takoder pravo na nastavu na maternjem jeziku,dvojezicnu nastavu ili obadvoje.

Nastava na maternjem jeziku moze biti organizovana u nekoj drugoj skoli,ne u onoj u koju ide ucenik.
Ako nije moguce obezbjediti nastavu na maternjem jeziku i dvojezicnu nastavu,onda opstina mora obezbjediti posebnu nastavu koja je prilagodena ucenicima.

[Update] 10 สำนวนไทย ใช้เหมือนอังกฤษเป๊ะ | สํา น วน ไทย และ ความ หมาย – NATAVIGUIDES

share image

หลายๆคนคงคุ้นเคยกับสำนวน สุภาษิตไทยที่ได้ยินกันอยู่บ่อยๆ ทั้งในชั่วโมงเรียนวิชาภาษาไทยและในชีวิตประจำวัน เรียกได้ว่าจำได้จนขึ้นใจ แต่สังเกตไหมคะว่าบางครั้งคำเหล่านั้นมันช่างคล้ายคลึงกับที่เค้าใช้กันในภาษาอังกฤษซะเหลือเกิน วันนี้เรามาดู 10 สำนวน สุภาษิตภาษาไทยที่ความหมายใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษกันค่ะ

1. Still water runs deep = น้ำนิ่งไหลลึก

  • ความหมาย: คนที่เงียบๆ นิ่งๆ แต่มีความคิดฉลาดล้ำหรือร้ายกาจ

 

​2. Kills two bird with one stone = ยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัว 

  • ความหมาย: ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วได้ผลตอบแทนสองอย่างในคราวเดียว

3. When (or while) the cat’s away, the mice will play = แมวไม่อยู่หนูร่าเริง

  • ความหมาย: เมื่อผู้ปกครองหรือผู้มีอำนาจไม่อยู่ ผู้ใต้ปกครองก็จะดีใจ ร่าเริง คึกคะนอง

4. Walls have ears = กำแพงมีหู ประตูมีช่อง

  • ความหมาย: ควรระมัดระวังคำพูดอยู่เสมอเพราะอาจจะมีคนได้ยินได้

 

5. Love is blind = ความรักทำให้คนตาบอด 

  • ความหมาย: เมื่อตกหลุมรัก อาจทำให้เราหลงใหล จนมองไม่เห็นข้อเสียของคนที่เรารัก

 

6. The apple doesn’t fall far from the tree = ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น

  • ความหมาย: ลูกมักคล้ายกับพ่อแม่

7. Silence is golden = พูดไปสองไผ่เบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง

  • ความหมาย: บางครั้งการพูดบางสิ่งบางอย่างออกไปอาจไม่มีประโยชน์ ดังนั้นให้เงียบไว้จะดีกว่า

8. Blood is thicker than water = เลือดข้นกว่าน้ำ

  • ความหมาย: ญาติพี่น้องและคนในครอบครัว ย่อมดีกว่าคนอื่น

9. Time and tide wait for no man  เวลาและวารีไม่เคยคอยใคร

  • ความหมาย: เวลาผ่านไปและไม่มีทางย้อนกลับมา ดังนั้นจึงไม่ควรปล่อยให้เวลาหรือโอกาสเสียไป 

10. Prevention is better than the cure = กันไว้ดีกว่าแก้

  • ความหมาย: ป้องกันเหตุร้ายไม่ให้เกิดขึ้น ดีกว่าปล่อยให้เกิดแล้วต้องมาตามแก้ไขทีหลัง

หวังว่าพอเอาสุภาษิตและสำนวนเหล่านี้มาเทียบกัน จะช่วยให้น้องๆจำได้ง่ายขึ้นนะคะ

สำหรับใครที่อยากเก่งภาษามากกว่าแค่สำนวน อยากเรียนภาษาเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเน้น TOFLE GRE GMAT IELTS หรืออยากปรึกษาปัญหาเรื่องเรียนต่อ สามารถปรึกษาIDP ไม่มีค่าใช้จ่ายค่ะ


เพลง สำนวนไทยใช้ดี


สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง สำนวนไทย
เพลง สำนวนไทยใช้ดี
คำร้อง น.ส. ชญาน์นันท์ พรมมิจิตร์
ขับร้อง น.ส. ชญาน์นันท์ พรมมิจิตร์
ดัดแปลงจากเพลง คิดมาก ปาล์มมี่
เธออยากรู้ใช่ไหม ว่าสำนวนไทยมันมีความหมายว่าไง
สุภาษิตคำพังเพย มันแตกต่างจากสำนวนไทยยังไง
คำสุภาษิตก็คือ การพูดสั่งสอนหรือการให้ข้อคิด
ส่วนคำพังเพยนั้นก็คือ การเปรียบเทียบระหว่างสิ่งของสองอย่าง
สำนวนไทยนั้นก็คือ การเปรียบเทียบที่แปลไม่ตรงความหมาย
ใช้จูงใจ เน้นความ ย่อความ แทนคำพูดที่ไม่ต้องการ
อีกทั้งเพิ่มสีสันและเพิ่มความสวยงาม
นกสองหัว จับปลาสองมือ คุ้นบ้างไหม
ควรจะใช้ให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
แม้คำคล้ายแต่ใช้แทนกันไม่ได้ และต้องใช้ให้ถูกสถานการณ์
อยากจะขอให้ใช้สำนวนให้ดี หากเขียนผิดจะสื่อความหมายผิดนะ
ที่ถูกคือขนมพอสมน้ำยา แต่มักใช้ขนมผสมน้ำยา ผิดรู้เปล่า
เข้าใจมากขึ้นบ้างไหม ว่าสำนวนไทยมันมีความหมายว่าไง
หรือยังมึนงงและสับสน ถ้าเป็นแบบนี้ งั้นเรามาทวนอีกรอบ
( , )

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เพลง สำนวนไทยใช้ดี

สำนวนไทย (ต้องเตรียมตัวประมาณไหน และเจออะไรในข้อสอบ)


ดาวน์โหลดเอกสาร ความหมายสำนวนไทยที่นักเรียนมัธยมควรรู้ (ดูไว้ใช้ได้ทุกการสอบ) https://drive.google.com/file/d/1f7m_RhUzEe2AWv4lYv5v1HnrKrZTz57a/view?usp=sharing
คลิปชุด ภาษาเพื่อการสื่อสาร เพลย์ลิส https://youtube.com/playlist?list=PLxCRXAjuYYEwfpzIrI2wCfpOtaAZf0Di
๑. ระดับภาษา ทริคติวสอบ ONET วิชาสามัญ และสอบทั่วไป https://youtu.be/aCulAsoa4i0
๒. โวหารการเขียน อธิบาย บรรยาย พรรณนา ทริคติวสอบ ONET วิชาสามัญ และสอบทั่วไป https://youtu.be/e4ewhjBnE04
๓. เรียงความ ประกาศ ทริคติวสอบ ONET วิชาสามัญ และสอบทั่วไป https://youtu.be/Xsxpukuf2tI
๔. การใช้คำและความหมาย ทริคติวสอบ ONET วิชาสามัญ และสอบทั่วไป https://youtu.be/W4c3hwtlhYU
๕. ภาษากำกวม (ข้อบกพร่องการใช้ภาษา) ทริคติวสอบ ONET วิชาสามัญ และสอบทั่วไป https://youtu.be/y12q_wXB0hI
๖. การเขียนบรรณานุกรม (มุมมองพิชิต ONET ได้ในพริบตา) https://youtu.be/ULmakBsrZA
๗. ศัพท์การประชุม ระเบียบวาระการประชุม (ถ้าดูจะถูกข้อนนี้ชัวร์ ONET ง่าย ๆ) https://youtu.be/6VF1xCkJQ7E
๘. การลำดับความ ดูได้ทุกการสอบ (เทคนิคการหาประโยคแรก ประโยคท้าย ร้อยเรียงเนื้อหา) https://youtu.be/QOKkj7BrbQg
๙. วัจนภาษา อวัจนภาษา (มุมมองพิชิตข้อสอบ) https://youtu.be/k9Y1LKDHZ9A
๑๐. สำนวนไทย (ต้องเตรียมตัวประมาณไหน และเจออะไรในข้อสอบ) https://youtu.be/4UBwXTVVUUw
ติดตามคลิปติวสอบ ONET ๙ วิชาสามัญ GAT เชื่อมโยง และการสอบบรรจุที่ใช้วิชาภาษาไทย ได้เร็ว ๆ นี้ขอบคุณสำหรับการติดตาม
ขอบคุณทีมงานโสตทัศนศึกษาโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย ๒ เป็นอย่างสูงครับ
ทุกคลิปวีดิโอสร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา มิได้แสวงหาประโยชน์ทางการค้าใด ๆ ทั้งสิ้น
เรียนภาษาไทยง่ายๆสไตล์ครูอ๊อฟ
KruAofRW2
ครูอรุณรัชช์แสงพงษ์
ครูอ๊อฟฤทธิยะวรรณาลัย๒
ตีป้อมไทย9วิชาสามัญ

สำนวนไทย (ต้องเตรียมตัวประมาณไหน และเจออะไรในข้อสอบ)

🔴Live! แถลงจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (15 พ.ย.64)


ศบค ผู้ป่วยรายใหม่ โควิด19 ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19 โควิดวันนี้

ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD เลข 30 | Thai News Agency MCOT
►เกาะติดข่าว คลิก http://bit.ly/tnaytcoronavirus
►ทันข่าวอ่าน : https://tna.mcot.net
► เฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/tnamcot
► แอดไลน์ (LINE) @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/tnamcot
► อินสตาแกรม https://instagram.com/tnamcot
► ยูทูบ https://www.youtube.com/tnamcot
► ชมข่าวย้อนหลัง https://www.youtube.com/tnamcot

🔴Live! แถลงจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19  (15 พ.ย.64)

ทายคำจากภาพ 6 ภาพ 6 คำ สุภาษิต สำนวนไทย


ทายคำจากภาพ 6 ภาพ 6 คำ สุภาษิต สำนวนไทย

ทายคำจากภาพ 6 ภาพ 6 คำ  สุภาษิต สำนวนไทย

เรื่องคำและสำนวน วิชาภาษาไทย​พื้นฐาน​ม.4


เรื่องคำและสำนวน วิชาภาษาไทย​พื้นฐาน​ม.4

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สํา น วน ไทย และ ความ หมาย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *