Skip to content
Home » [NEW] NPAEs คืออะไร เกิดขึ้นจากไหน และ ลักษณะขอบเขตการใช้งาน ส่งผลต่อ มาตรฐานการรายงานทางเงินไทย (TFRSs) อย่างไร | การ บัญชี คือ อะไร – NATAVIGUIDES

[NEW] NPAEs คืออะไร เกิดขึ้นจากไหน และ ลักษณะขอบเขตการใช้งาน ส่งผลต่อ มาตรฐานการรายงานทางเงินไทย (TFRSs) อย่างไร | การ บัญชี คือ อะไร – NATAVIGUIDES

การ บัญชี คือ อะไร: คุณกำลังดูกระทู้

 NPAEs TFRSs

NPAEs อ่านว่า เอ็น-เป้ ในการทำบัญชีมักจะได้ยินว่ากิจการนี้ต้องจัดทำ รายงานทางการเงินตามมาตรฐานบัญชี NPAEsซึ่งเป็นมาตรฐานบัญชีชุดเล็ก ต่อไปนี้เรามาทำความเข้าใจ กับคำว่าNPAEs กันดีกว่า ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและกิจการใดต้องจัดทำบัญชีตามมาตรฐานNPAEs 

Table of Contents

ความหมายของ NAPEs

NPAEs ย่อมาจาก Non-Publicly Accountable Entities หมายถึงกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ TFRs for NPAEsย่อมาจาก Thai Financial Reporting Standards for Non-Publicly Accountable Entities หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

PAEs ย่อมาจาก Publicly Accountable Entities หมายถึง กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และ TFRs for PAEs ย่อมาจาก Thai Financial Reporting Standards for Publicly Accountable Entities หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ หรือมาตรฐานการ รายงานทางเงินของไทย (TFRSs) 

ความเป็นมาของ NPAEs

การบัญชีเริ่มถือกาเนิดในประเทศไทยเมื่อ 74 ปีก่อน (พ.ศ.2481-2555) แบ่งออกได้เป็น 4 ช่วงเวลา คือ 

1. หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP) ใช้เมื่อปี พ.ศ. 2481-2521 ซึ่งมาจากหลักการบัญชีของประเทศสหราชอาณาจักรอังกฤษและสหรัฐอเมริกา 

2. มาตรฐานการบัญชี (Accounting Standards : AS) ใช้เมื่อปี พ.ศ.2522-2551 ซึ่งกาหนดโดยสมาคม นักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (ส.บช.) (พ.ศ.2491-2548) และสภาวิชาชีพบัญชี ใน พระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ.2548-ปัจจุบัน) 

3.มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Financial ReportingStandards : FRS) ใช้เมื่อปีพ.ศ.2552- 2553 ประเทศไทย ในช่วงเวลาดังกล่าวใช้ FRS โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯออกมาตรฐานการรายงานทางการเงิน  อ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งออกโดย IASB ยังคงยึดหลักการเดิม “One size fits all” 

4. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2 ชุด (Two Financial Reporting Standards: 2 FRS)TFRS forNPAEs กล่าวถึงเหตุผลของการแยก TFRS for NPAEsออกมาจาก TFRS for PAEsในย่อหน้าที่ 1 กาหนดไว้ดังนี้ 

ประเทศไทยมีมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards- TFRSs) ชุดเดียว ที่อ้างอิงจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards –IFRSs)เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวใช้กับนิติบุคคลที่มีหน้าที่จัดทำบัญชี ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ไม่ว่าจะเป็นบริษัท จดทะเบียนที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หรือนิติบุคคลทั่วไปที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์ แต่โดยที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสีย สาธารณะและมีความยุ่งยากซับซ้อนจากการใช้แนวคิดมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) เป็นหลัก ในการจัดทารายงานทางการเงิน ซึ่งเป็นภาระและก่อให้เกิดต้นทุนในการจัดทำรายงานการเงินของกิจการ ที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะที่ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก 

จากการที่ประเทศไทยมี TFRS เพียงชุดเดียวที่ใช้กับ PAEs และNPAEs ทำให้NPAEs มีภาระ ต้นทุนในการจัดทำรายงานทางการเงินสูงกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ เนื่องจากความยุ่งยากซับซ้อน TFRS การใช้แนวคิดมูลค่ายุติธรรม(Fair Value)ซึ่งหาข้อมูลดังกล่าวได้ยากเป็นเหตุให้สภาวิชาชีพบัญชีฯเกิด แนวคิดในการพัฒนา TFRS for NPAEs โดยเฉพาะ 

ในปี พ.ศ.2554 สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้กำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่ มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) ขึ้นมาชุดหนึ่งเรียกว่า “ชุดเล็ก” และมาตรฐานการรายงานทาง การเงินเดิมใช้สาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for PAEs) เรียกว่า “ชุดใหญ่”ดังนั้น ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป ประเทศไทยจะมีมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2 ชุด คือ ชุดใหญ่และชุดเล็ก 

NPAEs มีลักษณะอย่างไร 

1. จำนวนผู้มีส่วนได้เสีย : มีผู้มีส่วนได้เสียจานวนน้อยหรือผู้ใช้งบการเงินอยู่ในกลุ่มเล็ก3กลุ่ม ได้แก่ เจ้าของกิจการ เจ้าหนี้ และหน่วยงานของราชการ 

2. แหล่งระดมทุน : ระดมเงินทุนจากเจ้าของกิจการ หรือเจ้าหนี้ ในลักษณะของวงแคบ กล่าวคือ จานวนรายของผู้ให้เงินทุนมีจานวนน้อย เฉพาะเจาะจง และจานวนเงินทุนน้อย 

3. ความซับซ้อนของธุรกรรมหรือรายการค้าของธุรกิจ : เกิดรายการค้า ที่มีลักษณะง่าย ไม่ซับซ้อน เนื่องจากธุรกิจของ NPAEsเป็นธุรกิจพื้นฐานทั่วไป ไม่มีความหลากหลายในการประกอบธุรกิจ อยู่ในพื้นที่ หรือประเทศใดประเทศหนึ่งหรือกระจุกตัว 

4. ต้นทุนในการจัดทำรายงานทางการเงิน : ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้เกิดต้นทุนในการจัดทำรายงานทางการเงินต่ำ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายต่ำ เหมาะสมกับฐานะการเงินของNPAEs 

5. ขนาดของกิจการ : เป็นกิจการขนาดเล็กและขนาดกลาง หรือเรียกว่ากิจการขนาดย่อม (Small and Medium Enterprise: SME) กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากาหนดให้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่มีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท สินทรัพย์รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท และรายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท จัดเป็นกิจการขนาดเล็ก ผู้ทำบัญชีมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชีหรือ เทียบเท่า 

วัตถุประสงค์ ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs ) 

วัตถุประสงค์ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ คือ การให้แนวทางในการรายงานการเงินที่มีคุณภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้ 

1. ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจ เชิงเศรษฐกิจของผู้ประกอบการและ ผู้ใช้งบการเงินอื่นๆ 

2. สนับสนุนให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ทั้งระดับจุลภาคและระดับมหภาค3. เพิ่มความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้ง่ายขึ้น และช่วยลดต้นทุนของเงินทุน 4.ส่งเสริมให้เกิดความสม่ำเสมอและเปรียบเทียบกันได้ของข้อมูลทางการเงินที่ช่วยให้ผู้ประกอบการและผู้ใช้งบการเงินเกิดความเชื่อมั่น ซึ่งนาไปสู่การเติบโตของธุรกิจและระบบเศรษฐกิจ โดยรวม 

ขอบเขต ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs ) 

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี มี 4 ประเภท ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจากัด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร 

1.ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน คือ ห้างหุ้นส่วนประเภทหนึ่งซึ่งมีผู้เป็นหุ้นส่วน 2 ประเภท คือ1.1 หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดชอบคือผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สินของห้างหุ้นส่วนไม่เกินกว่าจานวนเงินที่ตนได้ลงทุนในห้างหุ้นส่วนนี้

1.2 หุ้นส่วนประเภทรับผิดชอบในหนี้สินไม่จากัด คือ ผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบร่วมกันใน หนี้สินที่เกิดขึ้นของห้างหุ้นส่วนโดยไม่จากัดจานวน 

2. บริษัทจำกัด คือ บริษัทที่ตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน โดยผู้ถือ หุ้นต่างรับผิดชอบจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ผู้ถือหุ้นแต่ละคนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ

3. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย

3.1 นิติบุคคลต่างประเทศ เข้ามากระทำกิจการในประเทศไทย เช่น บริษัท ริกิ การ์เมนส์ จำกัด ของประเทศญี่ปุ่น

3.2 นิติบุคคลต่างประเทศ กระทำกิจการในที่อื่นๆ รวมทั้งในประเทศไทย เช่น ธนาคารซิตี้ แบงก์

3.3 นิติบุคลคลต่างประเทศ กระทำกิจการอื่นๆ รวมทั้งในประเทศไทยและกิจการที่กระทำ นั้นเป็นกิจการขนส่งระหว่างประเทศ เช่น สายการบิน 

3.4 กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร หมายถึง การที่ธุรกิจตั้งแต่ธุรกิจ 2 ธุรกิจขึ้นไปทำสัญญาที่ จะร่วมลงทุนเพื่อดาเนินธุรกิจร่วมกันในทางการค้าหรือหากำไร โดยสิ่งที่นามาร่วมลงทุนอาจเป็นเงินทุน ที่ดิน อาคาร เทคโนโลยีการผลิต หรือบุคลากรภายใต้ข้อตกลงหรือสัญญาร่วมค้าซึ่งกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการดาเนินการอย่างชัดเจน เช่น ผลิตหรือจำหน่ายสินค้าหรือดำเนินโครงการใดโครงการ หนึ่งร่วมกันโดยต้องมีการกาหนดสัดส่วนการถือหุ้น หน้าที่ความรับผิดชอบและสิทธิของแต่ละฝ่ายรวมถึง การจัดสรรผลประโยชน์อันเกิดจากการดาเนินการทั้งนี้ ในการทำการร่วมค้าจะต้องมีผู้ร่วมค้าฝ่ายหนึ่งเป็น นิติบุคคลเช่น บริษัทกับบริษัท หรือบริษัทกับบุคคลธรรมดา ซึ่งต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ใช้ชื่อว่า” กิจการร่วมค้า” 

หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติม หรือต้องการดำเนินการทางบัญชี ติดต่อเรา ที่นี่

[NEW] NPAEs คืออะไร เกิดขึ้นจากไหน และ ลักษณะขอบเขตการใช้งาน ส่งผลต่อ มาตรฐานการรายงานทางเงินไทย (TFRSs) อย่างไร | การ บัญชี คือ อะไร – NATAVIGUIDES

 NPAEs TFRSs

NPAEs อ่านว่า เอ็น-เป้ ในการทำบัญชีมักจะได้ยินว่ากิจการนี้ต้องจัดทำ รายงานทางการเงินตามมาตรฐานบัญชี NPAEsซึ่งเป็นมาตรฐานบัญชีชุดเล็ก ต่อไปนี้เรามาทำความเข้าใจ กับคำว่าNPAEs กันดีกว่า ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและกิจการใดต้องจัดทำบัญชีตามมาตรฐานNPAEs 

ความหมายของ NAPEs

NPAEs ย่อมาจาก Non-Publicly Accountable Entities หมายถึงกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ TFRs for NPAEsย่อมาจาก Thai Financial Reporting Standards for Non-Publicly Accountable Entities หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

PAEs ย่อมาจาก Publicly Accountable Entities หมายถึง กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และ TFRs for PAEs ย่อมาจาก Thai Financial Reporting Standards for Publicly Accountable Entities หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ หรือมาตรฐานการ รายงานทางเงินของไทย (TFRSs) 

ความเป็นมาของ NPAEs

การบัญชีเริ่มถือกาเนิดในประเทศไทยเมื่อ 74 ปีก่อน (พ.ศ.2481-2555) แบ่งออกได้เป็น 4 ช่วงเวลา คือ 

1. หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP) ใช้เมื่อปี พ.ศ. 2481-2521 ซึ่งมาจากหลักการบัญชีของประเทศสหราชอาณาจักรอังกฤษและสหรัฐอเมริกา 

2. มาตรฐานการบัญชี (Accounting Standards : AS) ใช้เมื่อปี พ.ศ.2522-2551 ซึ่งกาหนดโดยสมาคม นักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (ส.บช.) (พ.ศ.2491-2548) และสภาวิชาชีพบัญชี ใน พระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ.2548-ปัจจุบัน) 

3.มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Financial ReportingStandards : FRS) ใช้เมื่อปีพ.ศ.2552- 2553 ประเทศไทย ในช่วงเวลาดังกล่าวใช้ FRS โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯออกมาตรฐานการรายงานทางการเงิน  อ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งออกโดย IASB ยังคงยึดหลักการเดิม “One size fits all” 

4. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2 ชุด (Two Financial Reporting Standards: 2 FRS)TFRS forNPAEs กล่าวถึงเหตุผลของการแยก TFRS for NPAEsออกมาจาก TFRS for PAEsในย่อหน้าที่ 1 กาหนดไว้ดังนี้ 

ประเทศไทยมีมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards- TFRSs) ชุดเดียว ที่อ้างอิงจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards –IFRSs)เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวใช้กับนิติบุคคลที่มีหน้าที่จัดทำบัญชี ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ไม่ว่าจะเป็นบริษัท จดทะเบียนที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หรือนิติบุคคลทั่วไปที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์ แต่โดยที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสีย สาธารณะและมีความยุ่งยากซับซ้อนจากการใช้แนวคิดมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) เป็นหลัก ในการจัดทารายงานทางการเงิน ซึ่งเป็นภาระและก่อให้เกิดต้นทุนในการจัดทำรายงานการเงินของกิจการ ที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะที่ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก 

จากการที่ประเทศไทยมี TFRS เพียงชุดเดียวที่ใช้กับ PAEs และNPAEs ทำให้NPAEs มีภาระ ต้นทุนในการจัดทำรายงานทางการเงินสูงกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ เนื่องจากความยุ่งยากซับซ้อน TFRS การใช้แนวคิดมูลค่ายุติธรรม(Fair Value)ซึ่งหาข้อมูลดังกล่าวได้ยากเป็นเหตุให้สภาวิชาชีพบัญชีฯเกิด แนวคิดในการพัฒนา TFRS for NPAEs โดยเฉพาะ 

ในปี พ.ศ.2554 สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้กำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่ มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) ขึ้นมาชุดหนึ่งเรียกว่า “ชุดเล็ก” และมาตรฐานการรายงานทาง การเงินเดิมใช้สาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for PAEs) เรียกว่า “ชุดใหญ่”ดังนั้น ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป ประเทศไทยจะมีมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2 ชุด คือ ชุดใหญ่และชุดเล็ก 

NPAEs มีลักษณะอย่างไร 

1. จำนวนผู้มีส่วนได้เสีย : มีผู้มีส่วนได้เสียจานวนน้อยหรือผู้ใช้งบการเงินอยู่ในกลุ่มเล็ก3กลุ่ม ได้แก่ เจ้าของกิจการ เจ้าหนี้ และหน่วยงานของราชการ 

2. แหล่งระดมทุน : ระดมเงินทุนจากเจ้าของกิจการ หรือเจ้าหนี้ ในลักษณะของวงแคบ กล่าวคือ จานวนรายของผู้ให้เงินทุนมีจานวนน้อย เฉพาะเจาะจง และจานวนเงินทุนน้อย 

3. ความซับซ้อนของธุรกรรมหรือรายการค้าของธุรกิจ : เกิดรายการค้า ที่มีลักษณะง่าย ไม่ซับซ้อน เนื่องจากธุรกิจของ NPAEsเป็นธุรกิจพื้นฐานทั่วไป ไม่มีความหลากหลายในการประกอบธุรกิจ อยู่ในพื้นที่ หรือประเทศใดประเทศหนึ่งหรือกระจุกตัว 

4. ต้นทุนในการจัดทำรายงานทางการเงิน : ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้เกิดต้นทุนในการจัดทำรายงานทางการเงินต่ำ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายต่ำ เหมาะสมกับฐานะการเงินของNPAEs 

5. ขนาดของกิจการ : เป็นกิจการขนาดเล็กและขนาดกลาง หรือเรียกว่ากิจการขนาดย่อม (Small and Medium Enterprise: SME) กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากาหนดให้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่มีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท สินทรัพย์รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท และรายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท จัดเป็นกิจการขนาดเล็ก ผู้ทำบัญชีมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชีหรือ เทียบเท่า 

วัตถุประสงค์ ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs ) 

วัตถุประสงค์ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ คือ การให้แนวทางในการรายงานการเงินที่มีคุณภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้ 

1. ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจ เชิงเศรษฐกิจของผู้ประกอบการและ ผู้ใช้งบการเงินอื่นๆ 

2. สนับสนุนให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ทั้งระดับจุลภาคและระดับมหภาค3. เพิ่มความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้ง่ายขึ้น และช่วยลดต้นทุนของเงินทุน 4.ส่งเสริมให้เกิดความสม่ำเสมอและเปรียบเทียบกันได้ของข้อมูลทางการเงินที่ช่วยให้ผู้ประกอบการและผู้ใช้งบการเงินเกิดความเชื่อมั่น ซึ่งนาไปสู่การเติบโตของธุรกิจและระบบเศรษฐกิจ โดยรวม 

ขอบเขต ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs ) 

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี มี 4 ประเภท ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจากัด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร 

1.ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน คือ ห้างหุ้นส่วนประเภทหนึ่งซึ่งมีผู้เป็นหุ้นส่วน 2 ประเภท คือ1.1 หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดชอบคือผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สินของห้างหุ้นส่วนไม่เกินกว่าจานวนเงินที่ตนได้ลงทุนในห้างหุ้นส่วนนี้

1.2 หุ้นส่วนประเภทรับผิดชอบในหนี้สินไม่จากัด คือ ผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบร่วมกันใน หนี้สินที่เกิดขึ้นของห้างหุ้นส่วนโดยไม่จากัดจานวน 

2. บริษัทจำกัด คือ บริษัทที่ตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน โดยผู้ถือ หุ้นต่างรับผิดชอบจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ผู้ถือหุ้นแต่ละคนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ

3. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย

3.1 นิติบุคคลต่างประเทศ เข้ามากระทำกิจการในประเทศไทย เช่น บริษัท ริกิ การ์เมนส์ จำกัด ของประเทศญี่ปุ่น

3.2 นิติบุคคลต่างประเทศ กระทำกิจการในที่อื่นๆ รวมทั้งในประเทศไทย เช่น ธนาคารซิตี้ แบงก์

3.3 นิติบุคลคลต่างประเทศ กระทำกิจการอื่นๆ รวมทั้งในประเทศไทยและกิจการที่กระทำ นั้นเป็นกิจการขนส่งระหว่างประเทศ เช่น สายการบิน 

3.4 กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร หมายถึง การที่ธุรกิจตั้งแต่ธุรกิจ 2 ธุรกิจขึ้นไปทำสัญญาที่ จะร่วมลงทุนเพื่อดาเนินธุรกิจร่วมกันในทางการค้าหรือหากำไร โดยสิ่งที่นามาร่วมลงทุนอาจเป็นเงินทุน ที่ดิน อาคาร เทคโนโลยีการผลิต หรือบุคลากรภายใต้ข้อตกลงหรือสัญญาร่วมค้าซึ่งกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการดาเนินการอย่างชัดเจน เช่น ผลิตหรือจำหน่ายสินค้าหรือดำเนินโครงการใดโครงการ หนึ่งร่วมกันโดยต้องมีการกาหนดสัดส่วนการถือหุ้น หน้าที่ความรับผิดชอบและสิทธิของแต่ละฝ่ายรวมถึง การจัดสรรผลประโยชน์อันเกิดจากการดาเนินการทั้งนี้ ในการทำการร่วมค้าจะต้องมีผู้ร่วมค้าฝ่ายหนึ่งเป็น นิติบุคคลเช่น บริษัทกับบริษัท หรือบริษัทกับบุคคลธรรมดา ซึ่งต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ใช้ชื่อว่า” กิจการร่วมค้า” 

หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติม หรือต้องการดำเนินการทางบัญชี ติดต่อเรา ที่นี่


[ Accounting Story ] รู้หรือไม่ บัญชีคืออะไร?


📢Accounting Story คุยบัญชี ภาษีง่ายๆ สไตล์หมุย
วันนี้มาในเรื่อง \”บัญชีคืออะไร?\” และมีความสำคัญมากน้อยแค่ไหน จาก พี่หมุย AccRevo กันได้เลยค่ะ
📌อย่าลืมกด Like และ Share ส่งต่อความรู้ดีๆ แบบนี้ไปให้เพื่อนๆ คุณด้วยนะคะ
🔺สำหรับท่านใดที่มีคำถามเรื่องบัญชี ภาษีอื่นๆ สามารถทิ้งคำถามไว้ที่ Comment ได้เลยค่ะ เราจะรวบรวมคำถามแล้วมา Live สดตอบทุกคำถามเลยค่ะ
AccountningStory
AccRevo
AccountingIntelligencePlatform

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

[ Accounting Story ] รู้หรือไม่ บัญชีคืออะไร?

หาตัวเองให้เจอใน 5 นาที และไม่เสียเวลาชีวิต


“เจอตัวคุณที่ใช่ และใช้สร้างรายได้ดั่งพลังทวี”
ถ้าคุณอ่านหนังสือ เป็น ร้อยเล่ม
เรียนคอร์สเป็นร้อยคอร์ส
แต่ยังไม่รู้จะเริ่มจับทางยังไง
นิดหน่อยบอกเลยว่า
สิ่งที่คุณต้องโฟกัสอย่างแรกก่อนจะไปเรื่องอื่น
คือคุณต้องหาตัวคุณในอนาคต ให้เจอ
คนที่คุณอยากจะเป็น จากสิ่งที่คุณรัก
เพื่อให้คุณความสุขทุกครั้งในสิ่งที่คุณทำ
ไม่ต้องรอเกษียณแล้วค่อยทำสิ่งที่คุณมีความสุข
ไม่ว่าใครจะบอกว่าสิ่งที่คุณทำ
จะเป็นไปไม่ได้ จะทำได้หรอ
นิดหน่อยทำให้คุณดูเป็นหลักฐานแล้ว
จากสิ่งที่ทุกคนบอกว่าเป็นไปไม่ได้
แต่นิดหน่อยสร้างตัวมาได้
ในเวลาเพียงปีเดียว
และได้รับเกียรติจากองค์กรต่างๆ
ในการเชิญไปบรรยายมากมาย
มีนักเรียนออนไลน์หลักพันคน
รอบสดหลายสิบรอบ
เริ่มจากคนธรรมดาเหมือนคุณ
เพียงแค่ หาตัวเองเจอ
รู้ว่าจะไปจุดไหน และลุย
—————————
สิ่งที่ท่านจะได้รับ
∙ เทคนิคหาตัวเองในแบบฉบับอัพเดตล่าสุดในยุคนี้
∙ วิธีเอาชนะความกลัวในแบบที่คุณต้องเจอจริงๆ
∙ เทคนิคปลดล็อคสิ่งที่คุณติดอยู่
∙ เทคนิคการตั้งเป้าหมายให้เป็นจริงได้แบบง่ายๆ แต่ทรงพลัง
∙ สิ่งที่คุณต้องโฟกัสมีอะไรบ้างเมื่อคุณเจอตัวเองแล้ว
∙ วิธีหาสิ่งที่รักแล้วสร้างเป็นธุรกิจแทบไม่มีต้นทุน
∙ วิธีเช็คตลาดในยุคนี้ในแบบที่เร็วและง่ายที่สุด
∙ เทคนิคการทำการตลาดให้ตัวเองในยุคนี้ 2019
∙ เคล็ดลับการขยายตลาดของคุณให้ไม่จบไม่สิ้น
∙ วิธีที่ทำให้คุณไม่ต้องกังวลเรื่องคู่แข่ง
∙ เทคนิคที่จะทำให้คุณเกษียณตัวเองเมื่อไหร่ก็ได้ด้วยระบบธรุกิจที่แสนง่าย
—————————
คอร์สนี้เหมาะสำหรับ
∙ ผู้ที่เริ่มหาตัวเอง และรู้จักตัวเอง
∙ ผู้ที่อยากสร้างตัวในยุคนี้
∙ ผู้ที่อยากทำในสิ่งที่รักให้เป็นรายได้อีกทาง
∙ ผู้ที่อยากทำออนไลน์ด้วยตัวตนของตัวเอง
∙ ผู้ที่อยากมีแบรนด์ของตัวเอง
∙ ผู้ที่อยากเป็นวิทยากร
∙ ผู้ที่อยากทำคอร์สออนไลน์จากสิ่งที่คนมี
∙ นักเรียน นักศึกษาที่อยากหาตัวเองให้เจอแบบไม่เสียเวลาชีวิต
—————————
คอร์สนี้ต่อให้คุณไม่เรียนตอนนี้
ในยุคที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วขนาดนี้
คุณก็ต้องกลับมารู้จักตัวเองอีกครั้ง
ถ้าคุณไม่เรียน ลูกคุณก็ต้องเรียน
เพราะมันคือวิชาแรก ในวิชาชีวิต
—————————
ราคาพิเศษสุดๆ จากประสบการณ์
ในการสร้างตัวในยุคนี้
และเทคนิคจริงๆ ที่มาบอกแบบหมดเปลือก
บทเรียนที่กลั่นมาจากการ ลองผิด ลองถูก
ที่จะทำให้คุณได้ใช้แต่ วิธีที่ถูก
ประหยัดเวลาไปอีกขั้น
—————————
สมัครได้ที่ Line@ พิมพ์ @officewithmac
เรียนออนไลน์ ที่ไหนก็ได้ เมื่อไหร่ก็ได้ ดูซ้ำได้ตลอดชีพ
จาก 7,900 เหลือ 3,900 บาทเท่านั่น
ราคานี้ถึงวันที่ 16 ธ.ค.นี้เท่านั่น
เรีมเรียน 19 ม.ค. 2562
GroupCoaching เจอกันตัวเป็นๆ
รับไม่เกืน 8 คน วันที่ 13 ม.ค. 61
35,900 บาท เหลือ 25,900 บาท
พร้อมรับคอร์สออนไลน์
PrivateCoaching 1 on 1 ตัวต่อตัว
ติดต่อ Line@ พิมพ์ @officewithmac

หาตัวเองให้เจอใน 5 นาที และไม่เสียเวลาชีวิต

ดูเลขบัญชี กสิกร ในแอพ k-plus


รวมคลิปความรู้การใช้งานแอพ kplus กดลิ้งนี้ค่ะ https://www.youtube.com/playlist?list=PLSDMLDzecvAo9zPjcH5TrAvKnH41Nsag
ช่องทางการติดตามและติดต่อ da4289 channel
➡ยูทูป : https://bit.ly/3fCkElb
➡อินสตราแกรม : https://bit.ly/3fCkWbL
➡เฟสบุ๊ค : https://bit.ly/37FiA9g

ดูเลขบัญชี ดูเลขบัญชีธนาคารกสิกรไทย

ดูเลขบัญชี กสิกร ในแอพ k-plus

เรียนบัญชีดีไหมทำอาชีพอะไรได้บ้าง


รายการอาจารย์มานพพบปัญหา EP.1048

▲ กดติดตามเพื่อชมคลิปใหม่ๆ : https://www.youtube.com/channel/UC934CijhZBa3p6pNaDBvwg?view_as=subscriber
▲LINE ID (มี@นำหน้า) : @Yellowtraining

▲เบอร์โทร อบรม : 0970091656 , 0622622916
▲เบอร์โทร บัญชี : 0853111669

▲ FANPAGE : https://www.facebook.com/Yellowaccounting/
▲ FANPAGE : https://www.facebook.com/Bmanopyellow
▲ FANPAGE : https://www.facebook.com/IViewTravel/
▲ FANPAGE : https://www.facebook.com/GreatInstructor/
▲ IG : https://www.instagram.com/manopyellow/?hl=th
▲ เว็บไซค์ : http://www.yellowaccounting.com

อีเมล์สำหรับติดต่องาน
[email protected]
แชแนล manopyellow คือ แชแนล ให้ความรู้เกี่ยวกับบัญชีและภาษี ที่ประกอบด้วยพิธีกรหลัก 2 คน คือ
\”อาจารย์มานพ สีเหลือง\” เป็นอาจารย์สอนบัญชีมามากว่า 25 ปี
เป็นยังเป็น ผู้บริหารYellowการบัญชี , youtuber และวิทยากรด้านบัญชีภาษี
\”อาจารย์กนกไรน์วิน บุรินนันท์\” เป็น ที่ปรึกษาปัญหาด้านบัญชีและภาษี , วิทยากรด้านบัญชีภาษี , เจ้าของสำนักงานบัญชี และ ผู้สอบบัญชีภาษีอากร(TA).

เรียนบัญชีดีไหมทำอาชีพอะไรได้บ้าง

บัญชี ง่ายๆ by ประแป้ง EP.3 (2/7) บัญชีพื้นฐาน บัญชีเบื้องต้น ปรับปรุงบัญชี – (2)ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย


คลิปนี้เหมาะสำหรับนิสิตบัญชีปี 1 ที่ไม่มีพื้นฐานบัญชีมาก่อน หรือผู้ที่สนใจทั่วไป คลิปนี้จะอธิบายเกี่ยวกับรายการปรับปรุงบัญชี ความหมาย วิธีการคำนวณ การบันทึกบัญชี โดยเป็นวิธีที่แป้งใช้เอง หากผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ

บัญชี ง่ายๆ by ประแป้ง EP.3 (2/7)  บัญชีพื้นฐาน บัญชีเบื้องต้น ปรับปรุงบัญชี - (2)ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ การ บัญชี คือ อะไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *