Skip to content
Home » [NEW] e-PaySLF : กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา อัพเดทฉบับ 2021 | เช็คหนี้ กยศ. – NATAVIGUIDES

[NEW] e-PaySLF : กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา อัพเดทฉบับ 2021 | เช็คหนี้ กยศ. – NATAVIGUIDES

เช็คหนี้ กยศ.: คุณกำลังดูกระทู้

 e-PaySLF

ระบบ e-PaySLF เปิดให้องค์กรนายจ้างพิมพ์ใบ Pay In Slip เพื่อนำไปชำระเงินฯ ได้ตามช่องทางดังนี้

  1. กรณีชำระด้วยเงินสด ชำระได้ที่สาขาของ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย และธนาคารกรุงเทพ
  2. กรณีชำระด้วยเช็ค ต้องเป็นเช็คของ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกสิกรไทย และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยใช้เช็คของสาขาที่เปิดบัญชี และใช้บริการชำระ ณ สาขาที่เปิดบัญชี
  3. กรณีชำระเป็นแคชเชียร์ ต่างธนาคาร องค์กรนายจ้างสามารถนำแคชเชียร์เช็คของทุกธนาคาร สาขาในกรุงเทพ และปริมณฑล ไปชำระเงิน ณ สาขาของธนาคารกรุงไทย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนเวลา 14:00 น.
  4. กรณีชำระด้วยตั๋วแลกเงินของทุกธนาคาร ชำระได้ที่สาขาของธนาคารกรุงไทย ที่อยู่ในเขตจังหวัดเดียวกันกับสาขาธนาคารที่ออกตั๋วแลกเงินก่อนเวลา 14:00 น.
  5. กรณีชำระเงินด้วย Mobile banking และ ATM สามารถชำระได้ผ่านบริการของธนาคารทหารไทย
  6. กรณีชำระด้วยการชำระเงินผ่านอิเล็กทรอนิกส์ สามารถชำระผ่านบริการของธนาคารกรุงไทย (KTB-Corporate Online คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ), ธนาคารออมสิน, ธนาคารกสิกรไทย คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ, ธนาคารทหารไทย (TMB Business Click คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ)

กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
– จะมีค่าธรรมเนียมการชำระเงิน 5 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารกสิกรไทย
    – ชำระด้วยเงินสด หรือเช็ค จะมีค่าธรรมเนียม 15 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
– ชำระผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ จะมีค่าธรรมเนียม 15 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารกรุงเทพ
    – รายการชำระในเขตมีค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่อ 1 รายการ
– รายการชำระนอกเขตมีค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่อ 1 รายการ (ส่วนที่เกิน 200,000บาท คิด 0.1% สูงสุด 1000 บาท)
* หมายเหตุ ค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่แต่ละธนาคารกำหนด โปรดตรวจสอบกับธนาคาร ก่อนการชำระเงิน

[NEW] e-PaySLF : กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา อัพเดทฉบับ 2021 | เช็คหนี้ กยศ. – NATAVIGUIDES

 e-PaySLF

ระบบ e-PaySLF เปิดให้องค์กรนายจ้างพิมพ์ใบ Pay In Slip เพื่อนำไปชำระเงินฯ ได้ตามช่องทางดังนี้

  1. กรณีชำระด้วยเงินสด ชำระได้ที่สาขาของ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย และธนาคารกรุงเทพ
  2. กรณีชำระด้วยเช็ค ต้องเป็นเช็คของ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกสิกรไทย และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยใช้เช็คของสาขาที่เปิดบัญชี และใช้บริการชำระ ณ สาขาที่เปิดบัญชี
  3. กรณีชำระเป็นแคชเชียร์ ต่างธนาคาร องค์กรนายจ้างสามารถนำแคชเชียร์เช็คของทุกธนาคาร สาขาในกรุงเทพ และปริมณฑล ไปชำระเงิน ณ สาขาของธนาคารกรุงไทย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนเวลา 14:00 น.
  4. กรณีชำระด้วยตั๋วแลกเงินของทุกธนาคาร ชำระได้ที่สาขาของธนาคารกรุงไทย ที่อยู่ในเขตจังหวัดเดียวกันกับสาขาธนาคารที่ออกตั๋วแลกเงินก่อนเวลา 14:00 น.
  5. กรณีชำระเงินด้วย Mobile banking และ ATM สามารถชำระได้ผ่านบริการของธนาคารทหารไทย
  6. กรณีชำระด้วยการชำระเงินผ่านอิเล็กทรอนิกส์ สามารถชำระผ่านบริการของธนาคารกรุงไทย (KTB-Corporate Online คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ), ธนาคารออมสิน, ธนาคารกสิกรไทย คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ, ธนาคารทหารไทย (TMB Business Click คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ)

กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
– จะมีค่าธรรมเนียมการชำระเงิน 5 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารกสิกรไทย
    – ชำระด้วยเงินสด หรือเช็ค จะมีค่าธรรมเนียม 15 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
– ชำระผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ จะมีค่าธรรมเนียม 15 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารกรุงเทพ
    – รายการชำระในเขตมีค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่อ 1 รายการ
– รายการชำระนอกเขตมีค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่อ 1 รายการ (ส่วนที่เกิน 200,000บาท คิด 0.1% สูงสุด 1000 บาท)
* หมายเหตุ ค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่แต่ละธนาคารกำหนด โปรดตรวจสอบกับธนาคาร ก่อนการชำระเงิน


สังข์ทองรีรัน – ตอนที่ 32 (14 พฤศจิกายน 2564)


กาลปางก่อน มีท้าวยศวิมล ครองเมืองพรหมนคร ท้าวยศวิมลมีมเหสีสององค์ มเหสีฝ่ายขวาชื่อ \”จันเทวี\” มเหสีฝ่ายซ้ายชื่อ \”จันทา\” ต่อมามเหสีทั้งสองทรงครรภ์ โหรทำนายว่าบุตร ของมเหสีฝ่ายขวาเป็นชาย ส่วนมเหสีฝ่ายซ้ายเป็นหญิง เมื่อครบกำหนดคลอด มเหสีจันเทวีก็คลอดโอรสออกมาเป็นหอยสังข์ ทำให้มเหสีจันทาจึงใส่ร้ายจนพระเจ้าพรหมทัตหลงเชื่อ ขับไล่พระนางจันเทวีออกจากพระราชวัง นางจันเทวีเดินทางด้วยความยากลำบาก เมื่อถึงชายป่านอกเมือง ยายตาสองคนสงสารจึกชวนให้พักอยู่ด้วย
วันหนึ่งนางจันเทวีออกจากบ้านไปช่วยตายายเก็บผักหักฟืน ลูกน้อยในหอยสังข์ก็ออกจากรูปหอยสังข์ช่วยปัดกวาดบ้านเรือน และหุงหาอาหารไว้ พอเสร็จก็กลับเข้าไปในรูปหอยสังข์ตามเดิม พระนางกลับมาก็แปลกใจว่าใครมาช่วยทำงาน พระนางจันเทวีอยากรู้ว่าเป็นใคร วันหนึ่งจึงทำทีออกจากบ้านไปป่าเช่นเคย แต่แล้วก็ย้อยกลับมาที่บ้าน โอรสในหอยสังข์ก็ออกมาทำงานบ้าน พระนางจันเทวีเห็นโอรสเป็นมนุษย์ก็ดีใจ จึงทุบหอยสังข์เสียและกอดโอรสด้วย ความยินดี และตั้งชื่อให้ว่า ” สังข์ทอง ”

วันที่ออกอากาศ : 14 พฤศจิกายน 2564
นักแสดงนำ : สุรศักดิ์ สุวรรณวงษ์, เกศรินทร์ น้อยผึ้ง, โอภาภูมิ ชิตาพัณณ์, ณพบ ประสบลาภ, ชนุชตรา สุขสันต์, รัฐศิลป์ นลินธนาพัฒน์, ปิ่นทิพย์ อรชร, คริสเตียน เอเกิล, อัญรส ปุณณโกศล, สุพศิน แสงรัตนทองคำ, ชนาวดี อุ่นทะศรี, ธรศักดิ์ จิตตพงษ์, กัญจน์อมล เคล้าจิตพูลสุข,พบศิลป์ โตสกุล, ธนภัทร ดิษฐไชยวงค์, อัมรินทร์ สิมะโรจน์, ปถมาภรณ์ รัตนภักดี, แดนดี้ เอเวอรี่, เพชรฎี ศรีฤกษ์, ปนัดดา โกมารทัต
ผลิตโดย : บริษัท สามเศียร จำกัด , บริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น จำกัด
บทละครโทรทัศน์ : ภาวิต
กำกับการแสดง : ภิภัชพนธ์ อภิวรสิทธิ์
ลิขสิทธิ์: บริษัทสามเศียร จำกัด
ติดตามทุกความเคลื่อนไหวของ บริษัท สามเศียร ได้ที่
Facebook | https://www.facebook.com/samsearn.fanpage/
Instagram | https://www.instagram.com/samsearn/
Website | http://www.samsearn.com/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สังข์ทองรีรัน - ตอนที่ 32 (14 พฤศจิกายน 2564)

[Review] วิธีตรวจสอบหนี้ กยศ. ผ่านแอปมือถือ (เป๋าตัง) ไม่มีค่าธรรมเนียม


วันนี้ ช่อง Hary Chanel จะมาสาธิตขั้นตอนง่ายๆการตรวจสอบยอดหนี้ กยศ.ผ่าน App Smartphone ในเครือธนาคารกรุงไทย(App เป๋าตัง) ฟรีค่าธรรมเนียมเป็นทางเลือกอีกหนึ่งวิธีสะดวกรวดเร็ว หน้าตาดูสะอาดสวยงามมากๆใครใช้ต้องหลงรักและมีฟังก์ชั่นมากมายให้ลองเล่นดู ครับให้คุณหนูๆ แฟนช่อง Hary Chanel ได้ลองทำกันดู ครับ ส่วนขั้นตอนจะเป็นอย่างไรเรามาดูคลิปพร้อมๆกันเลย

Os : Android 9.0
Divice name : Samsung A7 2018
About : App เป๋าตัง

ติดตามช่อง Hary Channel ได้ที่
Fan page Facebook : https://www.facebook.com/HaryChannel7708/
Web page : http://harychannal.blogspot.com/
twitter : https://twitter.com/HaryEdition

►►►ดูคลิปทั้งหมดได้ที่นี่เลยย ►►►
https://www.youtube.com/channel/UCLslczo359KZ6ncOprr0vNg/videos

[Review] วิธีตรวจสอบหนี้ กยศ. ผ่านแอปมือถือ (เป๋าตัง) ไม่มีค่าธรรมเนียม

รีวิววิธีจ่ายเงิน กยศ ผ่านแอป กยศ. Connect บนมือถือ ผ่าน QR Code จ่ายได้ทุกธนาคาร ไม่ต้องไปที่สาขา


รีวิววิธีจ่ายเงิน กยศ ผ่านแอป กยศ. Connect บนมือถือ ผ่าน QR Code จ่ายได้ทุกธนาคาร ไม่ต้องไปที่สาขา
ดาวน์โหลดแอป กยศ Connect https://apps.apple.com/th/app/กยศconnect/id1502704611
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.iphonemod.net/digitalstudentloanfundsystem.html
กยศConnect กยศ imod

รีวิววิธีจ่ายเงิน กยศ ผ่านแอป กยศ. Connect บนมือถือ ผ่าน QR Code จ่ายได้ทุกธนาคาร ไม่ต้องไปที่สาขา

เข้าเว็บ กยศ. ไม่ได้ ทำอย่างไร e-studentloan


หากไม่มีปุ่มดังกล่าว…ที่เรียกว่าปุ่ม Compatibility Views ให้ท่านทำตามขั้นตอนดังคลิปนี้ http://www.youtube.com/watch?v=uZj91wQQ3U
การเข้าใช้งานระบบ estudentloan ของเว็บไซต์ กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.) ในกรณีที่เรามี Internet Explorer เวอร์ชั่น 9 หรือ 10 เนื่องจากระบบไม่รองรับ Browser นอกเหนือจาก Internet Explorer 6 และ 8……

เข้าเว็บ กยศ. ไม่ได้ ทำอย่างไร e-studentloan

ก.ยุติธรรม จัดไกล่เกลี่ยหนี้ กยศ.ก่อนเข้าสู่ชั้นบังคับคดี


ที่กระทรวงยุติธรรม มีการจัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การดำเนินงานด้านคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ระหว่าง กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กับ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.) โดยมีนายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธี
พร้อมด้วย น.ส.ณัฐธ์ภัสส์ ยงใจยุทธ ผู้ช่วย รมว.ยุติธรรม นายโฆสิต สุวินิจจิต คณะที่ปรึกษา รมว.ยุติธรรม นายเรืองศักดิ์ สุวารี อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ นางทัศนีย์ เปาอินทร์ ว่าที่อธิบดีกรมบังคับคดี และนายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ ผู้จัดการ กยศ.
นายสมศักดิ์ กล่าวว่า กระทรวงยุติธรรมมีนโยบายบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ดำเนินการแก้ไขหนี้สินของประชาชน ด้วยการนำกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททั้งก่อนและหลังบังคับคดี รวมถึงข้อสั่งการของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่มีนโยบายเร่งด่วน 12 เรื่อง เร่งให้ช่วยเหลือประชาชนที่เดือดร้อนจากสถานการโควิด19
ถือเป็นโอกาสอันดีที่กรมคุ้มครองสิทธิฯ และกยศ. ได้ช่วยไกล่เกลี่ยก่อนเข้าสู่การฟ้องคดี เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรม ช่วยไกล่เกลี่ยหนี้สินให้ประชาชนที่เดือดร้อนก่อนที่จะเข้าสู่ชั้นบังคับคดี เป็นการลดค่าใช้จ่าย และสร้างสัมพันธ์อันดี ตนหวังว่าทั้ง 2 หน่วยงานจะทำงานบูรณาการร่วมกันเป็นอย่างดี ซึ่งคนที่เป็นหนี้ก็อย่าหนีหนี้ มาเข้าโครงการไกล่เกลี่ยได้
นายสมศักดิ์ กล่าวอีกว่า การแก้ปัญหาให้ผู้ค้ำประกันและผู้กู้รวมถึง กยศ. การมีหนี้ เป็นเจ้าหนี้หรือค้ำประกัน ทำให้คนวิตกกังวลเสียสุขภาพ และคนที่นอนไม่หลับด้วยก็คือนายกฯ ที่เห็นคนในประเทศมีหนี้สิน ตนได้เห็นนายกฯพูดในครม. เร่งรัดคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ไปทำกฎหมายให้จบให้เร็ว แต่โชคดีที่ กยศ.มีผู้บริหารที่เข้าใจปัญหา ระหว่างที่รอกฎหมายก็แก้ปัญหาไปควบคู่กัน
กลุ่มแรกคือคนที่ถูกฟ้องแล้ว ประมาณ 300,000 ราย ซึ่งกรมบังคับคดีจะช่วยติดตามและไกล่เกลี่ยให้ อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้ที่ยังไม่ถูกฟ้อง ซึ่งกรมคุ้มครองสิทธิฯ จะช่วยไกล่เกลี่ยให้ คนที่ยังอยู่ในข่าย ไม่ได้ถูกฟ้องสามารถให้เราช่วยไกล่เกลี่ยได้ ที่ผ่านมามีผู้ที่กู้ กยศ.ประมาณ 6 ล้านราย ยอดกู้เป็นเงิน 670,357 ล้านบาท ปิดยอดการกู้ไปแล้ว 1.5 ล้านกว่าราย อยู่ระหว่างการเรียน 8 แสนกว่าราย อยู่ระหว่างการผ่อนชำระ 3.5 ล้านราย แต่มีการผิดนัดชำระ 2.3 ล้านราย
หลังจากนี้ ทางกระทรวงยุติธรรมจะร่วมมือกับกรมบังคับคดี กรมคุ้มครองสิทธิฯ และกยศ. จัดกิจกรรมมหกรรมการไกล่เกลี่ยหนี้สินในช่วงเดือน ธ.ค.นี้ โดยหลังจากที่เราได้กำหนดการเรียบร้อยแล้วจะแจ้งให้ทราบถึงวันที่จะจัดอีกครั้ง
ซึ่งจะทำให้คนที่เป็นหนี้ได้รับรู้ ว่านายกรัฐมนตรีจะเข้ามาแก้ปัญหาตรงนี้ ให้บริการประชาชนให้มายื่นเรื่องของปรับโครงสร้างหนี้และไกล่เกลี่ย และหากได้ผลการตอบรับที่ดีเราจะจัดกระจายไปยังพื้นที่ทั่วประเทศต่อไป
อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : https://ch3plus.com/news/program/266510

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News)
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารก่อนใครได้ที่นี่
ch3plus : https://ch3plus.com/news/programs/morning
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
YouTube : https://cutt.ly/MorningnewsTV3

ก.ยุติธรรม จัดไกล่เกลี่ยหนี้ กยศ.ก่อนเข้าสู่ชั้นบังคับคดี

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ เช็คหนี้ กยศ.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *