Skip to content
Home » [NEW] | any อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

[NEW] | any อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

any อ่าน ว่า: คุณกำลังดูกระทู้

การเรียกชื่อแอนไอออน และออกซีแอนไอออน

สรุปการเรียกชื่อของแอนไอออนและออกซีแอนไอออน

1. แอนไอออนลงท้ายด้วย -ide เช่น simple anion ____ide (Chloride,Cl-)

2. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้ 2 ออกซีแอนไอออน ลงท้ายด้วย -ite และ -ate เช่น form with less oxygen _____ite ion (nitrite ion, NO2-) ,form with more oxygen _____ate ion(nitrate ion,NO3-)

3. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้มากกว่า 2 ออกซีแอนไอออน เช่น hypo___ite,hypochlorite,ClO-___ite,Chlorite,ClO2-_____ate,Chlorate,ClO3-per____ate,perchlorate,ClO4-

การเรียกชื่อสามัญ

การตั้งชื่อสามัญ (Common name) ตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของการพบสารนั้น เช่น

Na2SO4เรียกว่า Glauber’s salt ให้เกียรติแก่ J.F.Glauber ซึ่งเป็นผู้ค้นพบ
NH4Cl เรียกว่า sal ammoniac มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน
C6H4(HO)COOCH3(methyl salicylate) เรียกว่า oil of wintergreen
SbCl3เรียกว่า butter of antimony ตามลักษณะทางกายภาพที่พบ

การเรียกชื่อสารอินทรีย์

ในสมัยแรก ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เนื่องจากมีสารที่พบไม่มากนักจึงมักจะเรียกชื่อตามที่นักเคมีคิดว่าเหมาะสม ซึ่งอาจจะเรียกชื่อตามสิ่งที่พบหรือตามสถานที่พบ ชื่อที่เรียกโดยไม่มีกฎเกณฑ์เหล่านี้ เรียกว่าชื่อสามัญ (common name) ต่อ มาเมื่อมีการค้นพบสารอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น การเรียกชื่อสามัญจึงเริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากชื่อสามัญส่วนมากจะไม่มี ส่วนสัมพันธ์กับชนิดของสารหรือไม่มีส่วนสัมพันธ์กับสูตรโครงสร้าง ทำให้ยากแก่การจดจำว่าสารดังกล่าวนั้นเป็นสารประเภทใด มีสูตรโครงสร้างเป็นอย่างไร โดยเฉพาะสารที่มีสูตรโครงสร้างคล้าย ๆ กันหรือที่มีสูตรโครงสร้างซับซ้อนจะเรียกชื่อสามัญไม่ได้

นักเคมีจึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อขึ้นใหม่ให้เป็นระบบเดียวกันว่า ระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) การเรียกชื่อในระบบ IUPAC นี้มีส่วนสัมพันธ์กับชนิดและสูตรโครงสร้างของสารจึงทำให้ง่ายแก่การจดจำ ซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ 

IUPAC

การเรียกชื่อระบบ IUPAC

เป็นการเรียกชื่อตามระบบสากล มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนจึงทำให้เรียกชื่อสารอินทรีย์ได้ทุกชนิด ทั้งที่เป็นโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่ หรือที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบง่าย และที่ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้จะทำให้ทราบชนิดและลักษณะโครงสร้างของสาร เพราะหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างสาร

การเรียกชื่อระบบ IUPAC เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1892 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยการประชุมร่วมกันของนักเคมีเพื่อวางกฎเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ ในครั้งแรกเรียกระบบการเรียกชื่อนี้ว่าระบบเจนีวา ต่อมาสหพันธ์นักเคมีระหว่างประเทศ (International Union of Chemistry) ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUC และเมื่อมีการค้นพบสารใหม่เพิ่มมากขึ้นจึงได้ปรับปรุงการเรียกชื่อใหม่อีก ครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUPAC ดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

หลักเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักดังนี้

1. ชื่อโครงสร้างหลัก เป็นส่วนที่แสดงลักษณะโครงสร้างหลักของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุด การเรียกชื่อโครงสร้างหลักจึงเรียกตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสาย ยาวที่สุด

2.คำลงท้าย เป็นส่วนที่เต็มท้ายชื่อโครงสร้างหลัก เพื่อแสดงว่าสารอินทรีย์นั้นเป็นสารประกอบประเภทใด เป็นสารประกอบประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว คำลงท้ายจะบอกให้ทราบถึงชนิดของหมู่ฟังก์ชันในโมเลกุล

3.คำนำหน้า เป็นส่วนที่เติมหน้าชื่อของโครงสร้างหลัก เพื่อจะบอกให้ทราบว่าในโครงสร้างหลักมีหมู่ฟังก์ชัน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมใดบ้างมาต่ออย่างละกี่หมู่และอยู่ที่ C ตำแหน่งใดในโครงสร้างหลัก การบอกตำแหน่งของส่วนที่มาต่อให้ใช้ตัวเลขน้อยที่สุด (ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของ C ในโครงสร้างหลัก)

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมซ้ำ ๆ กันมาเกาะให้บอกจำนวนโดยใช้ภาษากรีก เช่น di = 2 กลุ่ม, tri = 3 กลุ่ม, tetra = 4 กลุ่ม, penta = 5 กลุ่ม

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมหลายชนิดมาเกาะ ให้เรียกชื่อเรียงลำดับตามอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอย่าง

2-methyl- หมายถึง มี methyl group มาต่อที่ C ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก

3-hydroxy- หมายถึง มี OH มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 ในโครงสร้างหลัก

3-ethyl-2-methyl หมายถึง มี ethyl มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 และ methyl group มาต่อที่ C

ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก 

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

1. ให้เรียกชื่อของธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของธาตุที่อยู่ด้านหลังโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายของธาตุเป็น-ไอด์(-ide) ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

ไฮโดรเจน (H) ออกเสียงเป็น ไฮไดรต์
คาร์บอน (C) ออกเสียงเป็น คาร์ไบด์
ไนโตรเจน (N) ออกเสียงเป็น ไนไตรด์
ฟลูออรีน (F) ออกเสียงเป็น ฟลูออไรด์
คลอรีน (CI) ออกเสียงเป็น คลอไรต์
ออกซิเจน (O)ออกเสียงเป็น ออกไซต์

2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุไว้หน้าชื่อธาตุโดยวิธีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุจะระบุโดยใช้ชื่อตัวเลขในภาษากรีก ดังนี้

1 = มอนอ (mono)
2 = ได (di)
3 = ไตร (tri)
4 = เตตระ (tetra)
5 = เพนตะ (penta)
6 = เฮกซะ (hexa)
7 = เฮปตะ (hepta)
8 = ออกตะ (octa)
9 = โนนะ (nona)
10 = เดคะ (deca)

แต่มีข้อยกเว้น คือ ไม่ต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุที่อยู่ด้านหน้าในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้าน หน้ามีอยู่เพียงอะตอมเดียว และไม่จำเป็นต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้านหน้า เป็นธาตุไฮโดรเจน ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมก็ตาม

ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

N2O5Nเรียกว่า ไดโนโตรเจนเพนตะออกไซด์
N2Oเรียกว่า ไดโนโตรเจนมอนอกไซด์
CCI4เรียกว่าคาร์บอนเตตระคลอไรด์
SO2เรียกว่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์
COเรียกว่า คาร์บอนมอนนอกไซด์
CO2เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์
H2Sเรียกว่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่งเกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามด้วยธาตุหลังซึ่งเป็นไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) ดังนี้

1. เริ่มจากอ่านชื่อไอออนบวก (ธาตุโลหะ) ก่อน

2. อ่านชื่อธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) โดยเปลี่ยนเสียงสุดท้ายเป็น -ไอด์ (-ide) ดังตัวอย่างเช่น

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
MgO อ่านว่า แมกนีเซียมออกไซด์
Al2O3อ่านว่า อะลูมิเนียมออกไซด์

3. หากไอออนลบมีลักษณะเป็นกลุ่มธาตุ จะมีชื่อเรียกเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น No3-เรียกว่า ไนเดรต, CO32-เรียกว่า คาร์บอเนต, SO42-เรียกว่า ซัลเฟต OH-เรียกว่า ไฮดรอกไซด์ เป็นต้น ดังตัวอย่างเช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
Na2SO4อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่น

อออซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)

ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)

คลอรีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (iodide)

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloridr)
CaI2อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์ (Calcium iodide)

KBr อ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์ (Potascium bromide)
CaCl2อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride)

ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดีนวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่นFe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+และCu เกิดอิออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้

FeCl2อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ ( Iron (II) chloride )
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ( Cupper (I) sunfide )

FeCl3อ่านว่า ไอร์ออน(III) คลอไรด์ ( Iron (III) chloride )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ( Copper (II) sunfide )

2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่าถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต (Calcium carbonatX
KNO3อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต (Potascium nitrae)

Ba(OH)2อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์ (Barium hydroxide)
(NH4)3PO4อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต (Ammomium pospate)

การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

หลักการเรียกชื่อสารเชิงซ้อนและไอออนเชิงซ้อน
RULES FOR NAMING COORDINATION COMPLEXES

  • เรียกชื่อของไอออนบวกก่อนไอออนลบ
  • เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนต
  • ใช้ตัวเลขภาษากรีกระบุจำนวน mono-, di-, tri-, tetra-, penta-, hexa-, ในการใช้ระบุจำนวนลิแกนด์เมื่อลิแกนด์โดยมีความสัมพันธ์อย่างง่าย และใช้คำอุปสรรคในภาษากรีก bis-, tris-, and tetrakis- กับลิแกนด์ที่มีความซับซ้อน
  • ชื่อของลิแกนด์ในไอออนลบจะลงท้ายด้วย o, เช่น fluoro (F-), chloro (Cl-), bromo (Br-), iodo (I-), oxo (O2-), hydroxo (OH-), และ cyano (CN-)
  • มีลิแกนดด์เป็นกลางจำนวนเล็กน้อยใช้ชื่อสามัญ เช่น น้ำ ใช้ aquo (H2O), แอมโมเนีย ใช้ ammine (NH3), และคาร์บอนิล ใช้ carbonyl (CO)
  • การเรียงลำดับของลิแกนด์ให้เรียงลำดับดังนี้: ไอออนลบ โมเลกุลที่เป็นกลาง ไอออนบวก สำหรับลิแกนด์ที่มีประจุเหมือนกันให้เรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
  • ระบุเลขออกซิเดชันของอะตอมโลหะแทรนซิชันเป็นตัวเลขโรมันอักษรตัวใหญ่ตามหลังอะตอมโลหะ
  • ชื่อของไอออนเชิงซ้อนลบจะลงท้ายด้วย –

    ate

    เช่น Co(SCN)42-, อ่านว่า tetrathiocyanatocobaltate(II) ion เมื่อสัญลักษณ์ของโลหะแทรนซิชันมาจากภาษาละติน ให้ลงท้ายชื่อโลหะ ให้ลงท้ายชื่อด้วย

    -ate

    เช่น

    Fe

    ในไออนเชิงซ้อนลบ

    คำในภาษาละตินคือ

    ferrum

    ชื่อของ

    Fe

    จึงเป็น

    ferrate

    และของทองแดง

    Cu

    จึงเป็น

    cuprate

  • ชื่อของโลหะแทรนซิซันในไอออนเชิงซ้อนบวก ให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษตากปกติ และต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย

[Update] การใช้ some และ any มันแปลว่าอะไร ใช้ยังไง ดูคำอธิบาย พร้อมประโยคฉบับง่ายๆกันนะ | any อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

47

SHARES

Facebook

Twitter

การใช้ some any  สำหรับผู้เริ่มต้น อาจจะทำให้งงๆนิดหนึ่งว่า การใช้some any ที่เป็นปัญหาสำหรับผู้เรียนก็คือว่า เอ๊มันเอาไปใช้ยังไง แล้วมันแปลว่าอะไรกันแน่  วันนี้จะมาทำความกระจ่างกัน

การใช้ some any

การใช้ some any

หลักการคร่าวๆของการใช้ some any ให้จดจำหลักการเบื้องต้นดังนี้คือ

  • some ใช้ในประโยคบอกเล่า
  • any ใช้ในประโยคคำถามและปฏิเสธ

การใช้ Some

1. some + นามพหูพจน์ แปลว่า บาง

Some cats are sleeping.
ซัม แค็ทส สา สลี๊พพิง  แมวบางตัวกำัลังนอน

Some boys are very tall.
ซัม บอยส สา เฝ๊ริ ทอล เด็กชายบางคนตัวสูงมาก

2. some+นามนับไม่ได้

  • ประโยคบอกเล่า แปลว่า บ้าง หรือ นิดหน่อย

I have some money.
อาย แฮฝ ซัม มั๊นนิ ฉันมีเงินอยู่บ้าง

There is some water in the glass.
แด อิส ซัม ว๊อเทอะ อิน เดอะ กลาส มีน้ำในแก้วนิดหน่อย

  • การยื่นข้อเสนอ (offering) ส่วนมากเห็นเสนออาหารและเครื่องดื่ม อันนี้ไม่ต้องแปล

Do you want some money?
ดู ยู ว็อนท ซัม มั๊นนิ คุณต้องการเงินไหม

Would you like some tea?
วุด ยู ไลค ซัม ที๋ คุณจะรับชาไหมครับ

Can I get you some coffee?
แคน ไอ เก็ท ยู ซัม ค๊อฟฟิ ให้ผมซื้อกาแฟให้คุณไหม

  • การขอ (requesting) ก็เป็นอาหารและเครื่องดื่ม ไม่ก็ขอนั่นขอนี่ อันนี้ก็ไม่ต้องแปล

Can I have some tea?
แคน ไอ แฮฝ ซัม ที๊ ขอชาหน่อยได้ไหม

Can you give me some salt?
แคน ยู กิฝ มี ซัม ซอลท คุณเอาเกลือให้ฉันหน่อยได้ไหม

Can I borrow some money, please?
แคน ไอ บ๊อโร ซัม มั๊นนิ พลีส ขอยืมตังค์หน่อยได้ไหม ได้โปรด

การใช้ Any

any+ นามพหูพจน์ / any + นามนับไม่ได้

any ใช้นำหน้าคำนามพหูพจน์ และนามนับไม่ได้เช่นเดียวกันกับ some ซึ่งจะใช้ในประโยคต่อไปนี้

  • ประโยคคำถาม แปลว่า บ้างไหม

Do you have any dogs?
ดู ยู แฮฝ เอ็นนิ ดอกส คุณมีสุนัขบ้างไหม

Are they any dogs in the room?
อาแด เอ็นนิ ดอกส อิน เดอะ รูม มีสุนัขอยู่ในห้องบ้างไหม

Does she have any cars?
ดัส ชี แฮฝ เอ็นนิ คาส หล่อนมีรถยนต์บ้างไหม

Do they have any water?
ดู เด แฮฝ เอ็นนิ ว๊อเทอะ พวกเขามีน้ำบ้างไหม

Is there any milk left?
อิส แด เอ็นนิ มิลค เล็ฟท มีน้ำนมเหลือบ้างไหม

  • ประโยคปฏิเสธ แปลว่า เลย

I don’t have any dogs.
อาย ด้น แฮฝ เอ็นนิ ดอกส ผมไม่มีสุนัขเลย

She doesn’t have any cars.
ชี ดั๊สเซินท แฮฝ เอ็นนิ คาส หล่อนไม่มีรถยนต์เลย

They don’t have any water.
เด ด้น แฮฝ เอ็นนิ ว๊อเทอะ พวกเขาไม่มีน้ำเลย

กลับหน้าหลัก : ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

ขอ 5 ดาวให้บทเรียนด้วยครับผม…

คลิกดาวดวงที่ขวามือสุดเลยครับครับ…

Average rating 4.4 / 5. Vote count: 504

ยังไม่มีใครให้ดาว คุณคือคนแรก….


5 Top Crypto to Buy NOW in 2021 (Massive Potential!)


In this video, I am going over 5 top crypto to buy now in late 2021. These are my best crypto picks! Open up a Wealthfront investment account today and get your first $5,000 managed for free: http://invest.wealthfront.com/charlie
► Get FREE Bitcoin:
https://coinbaseconsumer.sjv.io/Jr433r
► Get 2 Free Stocks on WeBull when you deposit just $5 (valued up to $2,300):
https://act.webull.com/kolus/share.html?hl=en\u0026inviteCode=gnRA9ZYGlRkS
► Get a FREE Stock with Robinhood:
https://robinhood.c3me6x.net/d4J57
► Join my FREE newsletter:
https://www.hustleclub.co
These are my current crypto coins to check out now in November 2021.
I’ll go through what these 5 crypto coins are that I am bullish on, and go through the numbers, recent news, and predictions for the future.
I’m curious to know what crypto you guys are bullish on comment them down below!
The crypto market is hot right now and I hope the uptrend continues! Crypto and blockchain are seriously cool technologies that really deserve the spotlight, and it has been very exciting riding the waves over the last few years. The coins on this list are all spectacular projects that have a lot of great uses or are icons in the crypto world. Holding them long term should be a good bet however in the short term they can always go up or down significantly.
With any type of investing, I recommend you do your own due diligence before investing. Just because a coin was on this list does not mean you should blindly invest in it that would be foolish. These are my opinions and you should create your own using this video as a reference guide only this video should not be taken as financial advice.
I hope you enjoy this video and happy crypto trading!
Charlie
TOPCRYPTO PICKS NOVEMBER
Charlie Chang receives cash compensation from Wealthfront Advisers LLC (“Wealthfront
Advisers”) for sponsored advertising materials. Charlie Chang is a client and this is a paid
testimonial. Charlie Chang and Wealthfront Advisers are not associated with one another and
have no formal relationship outside of this arrangement. Nothing in this communication should
be construed as a solicitation, offer, or recommendation, to buy or sell any security. Any links
provided by Charlie Chang are not intended to imply that Wealthfront Advisers or its affiliates
endorses, sponsors, promotes and/or is affiliated with the owners of or participants in those
sites, or endorses any information contained on those sites, unless expressly stated otherwise.
Investment management and advisory services are provided by Wealthfront, an SEC registered
investment adviser. All investing involves risk, including the possible loss of money you invest,
and past performance does not guarantee future performance.

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

5 Top Crypto to Buy NOW in 2021 (Massive Potential!)

Painting some small furniture pieces with a new paint sprayer


SAFETY UPDATE: Please DO NOT spray BIN Shellac Based Primer with this type of handheld turbine sprayer. It may ignite causing fire or explosion.
It In this video I’ll be testing out the Wagner Flexio 590 – for the first time on a few smaller furniture pieces that have been kicking around the garage. I’m no newbie to spraying paint but I’ve always used a pneumatic set up. The electric sprayer in this video is a great option for beginners or anyone who doesn’t want to invest in a large air compressor.
Used in this video:
+ Simple Green
+ Gorilla Wood Glue
+ Blunt Tip Glue Syringe
+ Large Wood Clamps
+ SurfPrep 3×4 Electric Ray Sander
Use code KATIESCOTT10 to save 10% at www.surfprepsanding.com
+ Wagner Flexio 590 Paint Sprayer with the Detail Finish Nozzle
+ Zinsser BIN Shellac Based Primer
+ Ammonia
+ Melange Paint in “Old Soul Gray”
Use code SALVAGED10 to save 10% at www.melangepaints.com
+ Varathane Diamond Wood Finish in “Satin”
Canadian painters can purchase Melange at www.designsbykarin.com
Amazon.ca Shop: https://www.amazon.ca/shop/salvagedbyk.scott
Amazon.com Shop: https://www.amazon.com/shop/salvagedbyk.scott
Please send Partnership Inquiries to [email protected]
_______________________________________________
Instagram | https://www.instagram.com/salvagedbykscott
Facebook | https://www.facebook.com/salvagedbyk.scott
Pinterest | https://www.pinterest.com/katiescott30
TikTok | https://www.tiktok.com/@salvagedbyk.scott
Website | https://www.salvagedbykscott.com
_______________________________________________
IMPORTANT: This video is not sponsored. You watching these videos supports my small home business. I am grateful for each and every one of you! Please always read and follow individual product usage and safety recommendations. This description may contain affiliate links. If you make a purchase through one of these affiliate links, I will receive a small commission at no extra cost to you.

Music by Epidemic Sound
Filmed on iPhone 11 Pro
Rode VideoMic Go https://amzn.to/37fogHA
Accessories Rig https://amzn.to/3lpFcU5
Tripod https://amzn.to/37irx8V

Painting some small furniture pieces with a new paint sprayer

some any ใช้ยังไง – เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ฟรี


เรียนภาษาอังกฤษง่ายๆ ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันกับเคท
หัวข้อวันนี้คือ พูดอังกฤษsome any ใช้ยังไง
some กับ any [ มีบ้าง แต่ไม่ได้บอกว่ามีเท่าไร ]
ใช้กับนามนับได้ที่มีมากกว่า 1 แต่ไม่ระบุจำนวน
ใช้กับนามนับไม่ได้ เช่น ข้าว ขนมปัง
some = ใช้กับประโยคบอกเล่า
There are some apples.
There is some rice.
Some = ใช้กับประโยคคำถาม [ ขอ….ได้ไหม ]
โครงสร้างประโยค “Can I have some + สิ่งที่ต้องการจะขอ\”
Can I have some apples?
ฉันขอแอ๊ปเปิ้ลบางได้ไหม
Some = ใช้กับประโยคคำถาม [ เสนอให้….เอามั้ยจ๊ะ ]
โครงสร้างประโยค “Would you like some + สิ่งที่ต้องการจะเสนอ\”
Would you like some apples?
อยากได้แอ๊ปเปิ้ลบ้างไหมจ๊ะ
———————————————————————————
Any = ใช้กับประโยคคำถาม [ มี….มั้ยจ๊ะ ]
โครงสร้างประโยค “Do you have any + สิ่งที่ต้องการจะขอ\”
Do you have any apples?
คุณมีแอ๊ปเปิ้ลบ้างไหมจ๊ะ
Any = ใช้กับประโยคปฏิเสธ
There aren’t any apples.
There isn’t any rice.

some any ใช้ยังไง - เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ฟรี

อธิบายการใช้ a / an / some / any


คลิปนี้อธิบายการใช้ a / an / some / any พร้อมทั้งเฉลยใบงานให้ดูเป็นตัวอย่าง จากนั้นมีแบบฝึกให้นักเรียนได้ทดลองทำเอง และรู้คะแนนทันทีที่ทำเสร็จตามลิงค์นี้เลยค่ะ

อธิบายการใช้ a / an / some / any

Everyday กับ Every Day ใช้ต่างกันอย่างไร


สอบถามเรื่องคอร์ส Line: Aj.Adam, Info.Hollywood, KhunBaiTuey
โทร 02 612 9300, 081 353 7810, 089 422 4546
สนใน sponsor คลิปอาจารย์อดัมติดต่ออีเมล [email protected] หรือโทร 02 612 9300
เรียนกับอดัม: http://www.facebook.com/hollywoodlearning
สาขาเชียงใหม : http://www.facebook.com/hollywoodlearningcm
เรียนออนไลน์กับอดัม: http://www.ajarnadam.tv
FBของอดัม: http://www.facebook.com/AjarnAdamBradshaw
Twitter: http://twitter.com/AjarnAdam
FBของซู่ชิง: http://www.facebook.com/jitsupachin
YouTube ของซู่ชิง: http://www.youtube.com/user/jitsupachin
Twitter ซูชิง: http://twitter.com/Sue_Ching

Everyday กับ Every Day ใช้ต่างกันอย่างไร

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ any อ่าน ว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *