Skip to content
Home » [NEW] 100 ปี ‘อินซูลิน’ : การเข้าถึงการดูแลโรคเบาหวาน ถ้าไม่ใช่ตอนนี้ แล้วจะต้องเมื่อไร? | คุณต้องมีสิทธิ์เข้าถึง pantip – NATAVIGUIDES

[NEW] 100 ปี ‘อินซูลิน’ : การเข้าถึงการดูแลโรคเบาหวาน ถ้าไม่ใช่ตอนนี้ แล้วจะต้องเมื่อไร? | คุณต้องมีสิทธิ์เข้าถึง pantip – NATAVIGUIDES

คุณต้องมีสิทธิ์เข้าถึง pantip: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

100 ปี ‘อินซูลิน’ : การเข้าถึงการดูแลโรคเบาหวาน ถ้าไม่ใช่ตอนนี้ แล้วจะต้องเมื่อไร?

ฉลองครบรอบ 100 ปี “อินซูลิน” หลายภาคส่วนร่วมมือส่งเสริมสุขภาพ ในวันเบาหวานโลก 2564 หวังเพิ่มการเข้าถึงการรักษา – ชี้เหลื่อมล้ำรักษาและการตีตรายังเป็นปัญหาสำคัญ

เนื่องในวันเบาหวานโลก ซึ่งตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (IDF: International Diabetes Federation) ได้กำหนดให้มีการรณรงค์ในประเด็นต่าง ๆ ซึ่งในปีนี้มีการกำหนดหัวข้อรณรงค์เป็น Access to Diabetes Care. If not now, When?

ทางสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ จึงได้จัดงาน Together Fight Diabetes ควบคุมเบาหวานดี #ของมันต้องมี ภายใต้คอนเซ็ปต์ การเข้าถึงการดูแลโรคเบาหวาน ถ้าไม่ใช่ตอนนี้ แล้วจะต้องเมื่อไร ที่สำคัญปีนี้ยังเป็นวันครบรอบ 100 ปี “อินซูลิน” อีกด้วย ทางสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ และภาคีเครือข่าย อาทิ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมทั้งองค์กรภาครัฐและเอกชน ได้ร่วมมือกันดำเนินการและหารือถึงทิศทางด้านนโยบายเพื่อให้ผู้ที่เป็นเบาหวานให้ได้เข้าถึงการดูแลรักษา และดูแลตนเองได้ดีขึ้น ทั้งในเรื่องการรักษาเบาหวานอย่างต่อเนื่อง การดูแลติดตามระดับน้ำตาลด้วยตนเอง สื่อการสอนเพื่อให้ความรู้ที่ใช้เพื่อการดูแลตนเอง พร้อมมุ่งผลักดันให้โรคเบาหวานซึ่งเป็นวาระด้านสุขภาพของโลกและประเทศไทยที่ต้องร่วมมือกันดูแลและป้องกัน ยกระดับการเข้าถึงการรักษาให้กับประชาชน ตลอดจนหาแนวทางที่จะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น

ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ นายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ เผยว่า “ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยเบาหวานอยู่ประมาณ 5 ล้านคน หรือเปรียบเทียบได้ว่า 1 ใน 10 คนไทยที่อายุ 15 ปีขึ้นไป กำลังป่วยด้วยโรคเบาหวาน และมีอัตราเพิ่มขึ้นประมาณหนึ่งแสนคนต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้มีถึง 40% ที่ไม่รู้ว่าตัวเองป่วย ขณะที่ผู้ได้รับการวินิจฉัยและดูแลรักษามีเพียง 54.1% หรือเพียง 2.6 ล้านคน ในจำนวนนี้มีเพียง 1 ใน 3 คน ที่สามารถบรรลุเป้าหมายในการรักษา ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน สำหรับประเทศไทยมีอัตราความชุกของโรคเพิ่มขึ้นรวดเร็ว สาเหตุเกิดจากปัญหาโรคอ้วนและพฤติกรรมการใช้ชีวิตในเด็กวัยรุ่นและวัยหนุ่มสาวเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มที่สูงขึ้น ซึ่งกลุ่มนี้เป็นคนวัยทำงานและเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ”

“ที่สำคัญในปีนี้ ยังครบรอบ 100 ปี ของการค้นพบอินซูลิน ซึ่งถือว่าเป็นตัวยารักษาโรคเบาหวานตัวแรกของโลกและเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยต่อชีวิตผู้คนได้มากมายและทำให้ผู้เป็นเบาหวานใช้ชีวิตได้อย่างมีความปกติสุข อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะค้นพบอินซูลินมา 100 ปี แต่ยังพบว่าผู้ที่เป็นเบาหวานอีกจำนวนมากยังไม่สามารถเข้าถึงยา อุปกรณ์ตรวจวัดน้ำตาล เทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต และการเข้าถึงความรู้ที่ถูกต้อง หรือระบบสนับสนุนทางจิตใจหรือทางสังคม ทั้งที่ผู้เป็นเบาหวานต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ

ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 ยังพบว่า ผู้ที่เป็นเบาหวานไม่ได้ไปรักษาตามที่แพทย์นัด ไม่ได้รับการตรวจติดตามผลการรักษาตามปกติ ทำให้ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี และเมื่อมีการติดเชื้อโควิด จะทำให้ระดับน้ำตาลควบคุมได้ยาก รวมทั้งอาจจำเป็นต้องได้ยาในกลุ่มสเตียรอยด์ ทำให้ระดับน้ำตาลควบคุมได้ยากยิ่งขึ้น การติดเชื้อรุนแรงขึ้นและมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าคนทั่วไป  ในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 รุนแรง จำเป็นต้องให้การรักษาที่บ้าน อาจจะส่งให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากระดับน้ำตาลสูงได้ จึงได้มีการตั้งกลุ่มบุคลากรการแพทย์จิตอาสาดูแลผู้ป่วยผ่านสื่อออนไลน์ และถ้าเป็นเบาหวาน หรือมีปัญหาน้ำตาลสูง สามารถส่งปรึกษาทีมแพทย์พยาบาลเฉพาะทางเบาหวานเพื่อให้การดูแลต่อ โดยการดูแลปัญหาน้ำตาลสูงที่บ้าน สอนคนไข้และครอบครัวให้มีความรู้และทักษะจัดการภาวะฉุกเฉิน  นอกจากนี้จำเป็นต้องจัดส่งเครื่องเจาะเลือด แผ่นตรวจน้ำตาล และยาอินซูลิน ที่ได้จากเงินบริจาค ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญมาก เนื่องจากเป็นความรู้ที่จะใช้ป้องกันผู้ที่เป็นเบาหวานในการเกิดภาวะแทรกซ้อนระยะยาว เป็นการสอนการแก้ไขระดับน้ำตาลผิดปกติเพื่อกันการเกิดภาวะฉุกเฉินจากระดับน้ำตาลสูงหรือต่ำได้เมื่อผู้ที่เป็นเบาหวานอยู่ที่บ้านดูแลตัวเองยามเจ็บป่วย”

ด้าน นพ.ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ เผยว่า “กรมการแพทย์ได้ทำทุกอย่างในเรื่องของวิชาการ เพื่อนำวิชาความรู้เข้าไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับประเทศ ส่วนเรื่องการจัดการการดูแลผู้ป่วยซึ่งเป็นสิ่งสำคัญนั้น เป็นเรื่องที่เราไม่เคยทำแต่ได้มาทำในช่วงโควิด และประสบความสำเร็จมาก ทุกคนสามารถทำ Home Isolation ทำ Telemedicine กันได้หมด โดยที่คนที่ให้คำปรึกษาก็ไม่ใช่แพทย์ทั้งหมด แต่เป็นประชาชนจิตอาสาหรือหน่วยงาน NGO แสดงให้เห็นว่า คนที่เป็นชาวบ้านก็สามารถให้ความรู้ สื่อสารและคุยกันผ่านช่องทางการสื่อสารที่ได้รับการยอมรับ ซึ่งทุกวันนี้เรายอมรับในเรื่องของ Telehealth แล้ว แค่เติมส่วนที่เป็น Device คืออุปกรณ์สนับสนุนต่างๆ ต่อท้าย ส่วนเรื่องกองทุน ก็เป็นหน้าที่ของกระทรวงฯ ที่จะผลักดันให้คณะกรรมการของกองทุนต่างๆ ได้รับฟังและมองเห็นถึงจุดคุ้มทุน ปัจจุบันเรามี Home Isolation เรามี Home Chemotherapy ถ้าเราจะมีการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่บ้านเป็น Home DM หรือ Home NCD แทนที่ผู้ป่วยจะต้องมาที่โรงพยาบาล มีเครื่องมือต่างๆ สนับสนุน และมีแนวทางการดูแลรักษาและเบิกจ่ายแบบที่รักษาโควิด และสามารถสื่อสารสร้างความเข้าใจได้ ประชาชนเข้าถึงการดูแลได้มากขึ้น เป็นการดูแลรักษาที่ลดความเหลื่อมล้ำได้อย่างยั่งยืน”

นพ.จักรกริช โง้วศิริ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กล่าวว่า “ด้วยจุดกำเนิดของสปสช. หัวใจหลักคือ ต้องการให้คนได้มีความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการ ได้สิทธิประโยชน์ หรือสิทธิ์ที่ประชาชนพึงจะได้รับในเรื่องของสุขภาพ โดยต้องมีองค์ความรู้ในเรื่องของวิชาการ มีมาตรฐานและแนวทางการรักษาเป็นที่ยอมรับ มีประสิทธิภาพ เห็นผล มีความพร้อมของบุคลากรและระบบ ถ้าทุกอย่างมีพร้อม แล้วค่อยมาถึงเรื่องเงิน ว่าคุ้มค่าไหม ไม่อยากให้คิดว่ายาตัวนี้มีราคาแพง แต่ถ้ายาตัวไหนมีคุณภาพและประสิทธิภาพในการรักษา ก็สามารถผลักดันให้เข้าสู่ระบบได้ เพราะการรักษาค่อนข้างเป็นปลายทางแล้ว ที่เราพยายามทำให้เกิดคือสิทธิประโยชน์ในการส่งเสริมป้องกันโรคที่ยังมี gap อยู่ค่อนข้างเยอะ ถ้าในต่างประเทศ เรื่องการป้องกันแทบจะไม่อยู่ในระบบหลักประกันเลย เพราะถือว่าเป็นหน้าที่ของประชาชน แต่ไทยถือว่าเป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องคุ้มครองประชาชน จึงอยากให้มองกว้างมากกว่าเรื่องยา เพราะประเทศไทยไม่สามารถผลิตยาได้เอง ยังต้องพึ่งพาคนอื่นมาก เรื่องเบาหวาน ความดัน อยู่ที่พฤติกรรมและปรับระบบการบริการ การดูแลสุขภาพแบบใหม่ให้คนไข้มีความรู้และทักษะที่จะสามารถดูแลตัวเองได้ หรือใช้ดิจิทัล เทคโนโลยี กับเรื่องของการทำการบริบาลทางไกล ซึ่งตอนนี้สปสช.กำลังเดินไปในทิศทางนี้ให้มากขึ้น เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพให้กับประชาชน”

ทั้งนี้ สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ ยังได้รับความสนใจจากหลายภาคส่วนเป็นอย่างมาก ในฐานะองค์กรทางวิชาการ และมีกิจกรรมทั้งในด้านการป้องกันโรคเบาหวานในประชาชน และการเผยแพร่ความรู้ที่ทันสมัยแก่บุคคลทั่ไปและบุคคลากรทางการแพทย์  หวังลดอัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ผู้เกี่ยวข้องด้านกำหนดนโยบาย ทีมบริบาลเบาหวาน และประชาชนเข้าร่วมงานเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และการบริหารจัดการเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ผสานความร่วมมือในด้านต่างๆ โดยมุ่งผลักดันให้โรคเบาหวานซึ่งเป็นวาระด้านสุขภาพของโลกและประเทศไทยที่ต้องร่วมมือกันดูแลและป้องกัน ยกระดับการเข้าถึงการรักษาให้กับประชาชน ตลอดจนหาแนวทางที่จะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น

[NEW] PANTIP.COM : X8464062 ทำไม ถึงบอกว่า Linux มีความปลอดถัยจากไวรัสสูง?{แตกประเด็นจาก X8462437} [วิศวกรรมและเทคโนโลยี] | คุณต้องมีสิทธิ์เข้าถึง pantip – NATAVIGUIDES

ความคิดเห็นที่ 42

 

ระบบจัดการไฟล์ของ Linux แข็งมาก อย่าว่าแต่ไวรัสเลย user ในเครื่องเดียวกันเองยัง access file ของคนอื่นไม่ได้เลย

ในแง่จิตวิทยา ถ้าผมเป็นเกรียนเทพคนนึงอยากเขียนไวรัสให้ดัง ผมคงเลือก platform ที่จะโจมตีแล้วมันดัง ก็คือ Windows เพราะคนใช้แพร่หลายกว่า (ใน่แง่ home use)

นอกเรื่อง Linux ไม่ได้ยากอย่างที่คิด ความยากของมันก็พอ ๆ กะการหัดใช้ Windows แรก ๆ เพียงแต่เราใช้วินโดส์กันมาตลอดชีวิตมันเลยดูง่าย และมันไม่มีเหตุจำเป็นอะไร(สำหรับคนทั่วไ)ให้ต้องมาใช้ Linux แต่สำหรับคนที่ทำงาน IT ระดับ Enterprise เลือก OS สำหรับระบบงานที่ต้องการความเสถียรสูง ประสิทธิภาพสูง (เมื่อเทียบ hardware ระดับเดียวกัน) ร้อยละ 90 เลือก Unix (Solaris,AIX หรือแม้แต่ Linux) เว้นเสียแต่ว่า App มันไม่ Multiplatform เท่านั้นแหละ ถึงจำใจเลือก Windows กัน

แต่ส่วนตัวนะ ผมว่า Linux Desktop ยังไม่อยู่ในระดับที่ง่ายต่อคนทั่วไปสักเท่าไหร่ ผมพยายามเล่น Linux Desktop มาตั้งแต่ Redhat 8 (Linux ตัวแรกที่เล่น Redhat 7) จนตอนนี้ผมว่า Unbuntu ก็โอในระดับหนึ่ง แฟนผมก็ใช้งานได้ แต่ความเร็ว ความง่ายมันก็ยังไม่ได้ในระดับ Windows นะ…แต่ถ้าเรื่องงานเนี่ย ผมใช้ Linux คล่องกว่า Windows server เยอะ…

คห.23

Linux มี Software ตัวนึงชื่อ WineX พัฒนามาจาก wine ซึ่งเป็นการจำลองระบบของ Windows ทำให้ Linux run software ของ Windows ได้ (คล้าย Emulator)
ตัว WineX พัฒนาเพิ่มเติมในส่วนของ DirectX ครับ ผมเคยทดสอบนานแล้วด้วยเกม Starwars Knight of the old Republic ภาคแรก ด้วยเครื่องผมเอง สรุปว่าเล่นบน Windows ภาพกระตุก เล่นบน Linux ผ่าน WineX ภาพลื่นกว่า ซึ่งเข้าใจว่าน่าจะเป็นเพราะ Linux จัดการ Memory ได้ดีกว่า Windows และตัว OS เองก็กินแรมน้อยกว่า แต่โปรแกรมนี้ก็ไม่ค่อย Compatible กับเกม 100% นะครับ บางเกมก็ลื่น บางเกมก็กระตุก บางเกมเล่นไม่ได้ คือสรุปว่า ถ้าจะทำให้ัมันเล่นได้มันก็เล่นได้แหละครับ แต่มันไม่มีคนลงทุนทำเท่านั้นแหละ

จากคุณ
:
Gorath

เขียนเมื่อ
:
23 ต.ค. 52 21:35:42


การแก้ปัญหาการขอสิทธิ์เข้าถึงเมื่อใช้ Google Forms เบื้องต้น


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การแก้ปัญหาการขอสิทธิ์เข้าถึงเมื่อใช้ Google Forms เบื้องต้น

ถ้าเธอจะไป – แพรว คณิตกุล [OFFICIAL MV]


ไม่อยากพลาดเพลงใหม่ๆกด subscribe ตามลิ้งนี้เลยจ้า: http://bit.ly/1Hyr12L
ดาวน์โหลดเพลงนี้ง่ายๆ ทางมือถือ กด 1230092 แล้วโทร.ออก ถ้าหาเพลงไม่เจอกด 9 คุยกับโอเปอเรเตอร์ บอกว่าอยากได้เพลงนี้ได้เลยง๊ายง่าย
Facebook : https://www.facebook.com/werkgang
Instagram : @werkgang
Twitter : @werkgang
ถ้าเธอจะไป แพรว คณิตกุล
Executive Producer : กฤช กฤษณาวารินทร์
Producer : เรืองกิจ ยงปิยะกุล
คำร้อง : มณฑวรรณ ศรีวิเชียร
ทำนอง/เรียบเรียง : เรืองกิจ ยงปิยะกุล
ต่อให้เราเคยรักกันอย่างไร
ต่อให้เราเคยรักกันแค่ไหน จนเมื่อเขาเข้ามา
เธอก็คงเพิ่งรู้สึกตัว
และฉันก็มองเห็นอย่างช้าๆ รู้ว่าเธอรักเขา
ไม่เป็นไร อย่ากลายเป็นคนคิดมาก ถ้าเธออยากจากฉันไป
ถ้าเธอจะไปมีใจรักใครอีกคน
ไม่จำเป็นต้องหาเหตุผล ไม่จำเป็นต้องรู้สึกผิดอย่างนั้น
เมื่อความเป็นจริงคือเธอรักใครอีกคนมากกว่าฉัน
เราอาจเคยรักกัน แต่เธอคงไม่ได้รักกันมากพอ
ถ้าตัวเธอเองรักฉันหมดใจ
ในใจเธอคงไม่เหลือที่ไว้ พอให้เขาเข้ามา
ผ่านมาเราคงรักกันไม่พอ
จะทำให้ใจของเธอแน่นหนา พอจะไม่รักเขา
WERKGANG รวมเพลงWERKGANG
WerkGang
Gmm Grammy

ถ้าเธอจะไป - แพรว คณิตกุล [OFFICIAL MV]

นิยายรัก เรื่องเล่า เรื่องสั้น ขับรถไปให้เจ้านายจนหลับ..


นิยายรัก
นิยาย
นิยายเรื่องสั้น

นิยายรัก เรื่องเล่า เรื่องสั้น ขับรถไปให้เจ้านายจนหลับ..

ไม่นานก็ชิน – FIN (Official MV)


แผลในใจ จะลึกเพียงใด เจ็บแต่ไม่ถึงตาย อีก \”ไม่นานก็ชิน\”
ติดต่องานแสดง : 090 176 0579
Facebook วงฟิน : https://bit.ly/3vf1SYx
เพลง : ไม่นานก็ชิน
ศิลปิน : FIN
คำร้อง / ทำนอง : เอฟ วงFIN
เรียบเรียง/ดนตรี : เป้ วงFIN , ปาล์ม วงFIN

ร้อง , คอรัส : เอฟ วงFIN
กีต้าร์ : ปาล์ม วงFIN / Stive Thai
กลอง : เป้ วงFIN
เบส : เป้ วงFIN
เปียโน,คีย์บอร์ด : เป้ วงFIN
Mixed \u0026 Mastered by Steve thai @ 1988homestudios

ถ่ายทำ/ตัดต่อ : Saetwo Studio Production
Ten Apiwat : https://bit.ly/3sGaKFT
Pirun Sukka : https://bit.ly/2Pk74uY

\” นักแสดง \”
Chani Chanisara : https://bit.ly/3fqsrFP
Joy Varinton : https://www.facebook.com/joyvarinton.najun

\” สถานที่ถ่ายทำ \”
SURALAI BAR : https://www.facebook.com/SuralaiBar100459815212355

\” อำนวยความสะดวก \”
Am Seatwo
Pik khajornjarukul
Werasak Musika
Knit thringarm
Peet model
_____________________________________________
เนื้อเพลง : ไม่นานก็ชิน
บอกตัวเองไม่ต้องเสียใจ
กับคนที่มันไม่เคยจะห่วงใย
ว่าเราจะเป็นจะตายไม่เคยสน
เก็บอาการเอาไว้ข้างใน
ไม่ให้ใครรู้ว่าใจมันร้อนรน
เหมือนคนไม่มีวิญญาณ
แม้ว่าความเจ็บช้ำ จะกัดกินฉัน ความเจ็บเหล่านั้น ไม่เคยจาง
ฉันต้องอยู่ให้ไหว ต้องเดินต่อไป แม้ไม่มีเธอ

แผลในใจ จะลึกเพียงใด เจ็บแต่ไม่ถึงตาย อีกไม่นานก็ชิน
น้ำในตา หยุดไหลวันใด บอกตัวเองให้จำ
อย่าไปรักกับใคร ถ้าใจของเราไม่เข้มแข็งพอ
บอกตัวเองต้องอยู่ให้ไหว แม้ต้องเดินคนเดียวตลอดไป
ไม่เป็นไร ก็แค่รักตัวเอง
(, )
solo
(, , )
FIN ไม่นานก็ชิน

ไม่นานก็ชิน - FIN (Official MV)

มือใหม่อยากซื้อ กองทุนรวม 2021 เริ่มต้นยังไง? l สรุป 5 STEP นักลงทุนต้องรู้ ก่อนเริ่ม ลงทุน


Than Money Trick 🚩 ขอตอบ คำถามยอดฮิตของ กองทุนรวม อยากเริ่มลงทุนกองทุนรวมทำยังไง มือใหม่ควรศึกษาตรงไหนก่อน? หรือ ซื้อกองทุนไหนดี
ธัญขอสรุปเป็น 5 ขั้นตอนให้มือใหม่ ได้ทำตาม ศึกษาให้เข้าใจก่อนจะนำเงินไปลงทุนค่ะ
ข้อ 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนรวม
กองทุนรวมคืออะไร 👉🏻https://bit.ly/37vOGWp
กองทุนรวมเหมาะกับใคร👉🏻https://bit.ly/3gWKUsl
กองทุนรวมได้เงินยังไง👉🏻https://bit.ly/2WtONLI
ข้อ2. มีเป้าหมายในการลงทุน
กองทุน SSF กับ RMF 👉🏻 https://bit.ly/38hKHf5
ข้อ3.ทำแบบประเมินความเสี่ยงก่อนลงทุน
ความเสี่ยง8ระดับ ของกองทุนรวม 👉🏻https://bit.ly/3qM59gW
ลงทุนแบบDCA หรือเงินก้อนดี 👉🏻https://bit.ly/3m2wdok
ข้อ4.เลือกกองทุนที่เราต้องการซื้อ
สแกนกองทุน ด้วยWealthMagik 👉🏻https://bit.ly/37NAVBf
วิธีอ่านหนังสือชี้ชวนกองทุน 👉🏻https://bit.ly/2Iz1j9B
ซื้อกองทุนแบบปันผล หรือไม่มีปันผล ดีกว่ากัน? 👉🏻https://bit.ly/2LIZU1f
เลือกกองทุน SET50 👉🏻 https://bit.ly/2Kjkhlf
ข้อ5. เปิดพอร์ต ซื้อขายกองทุน
ซื้อกองทุนรวม ที่ไหนดี 👉🏻https://bit.ly/2VVYnqw
วิธีเลือกโบรกเกอร์กองทุน 👉🏻 https://bit.ly/3oHMocj
✅✅✅เพื่อนๆอาจสนใจ VDO นี้✅✅✅
NAV กองทุนรวม 👉🏻 https://bit.ly/3nuXMbn
วิธีเลือกกองทุน เพื่อ DCA 👉🏻 https://bit.ly/3mvsAaO
📌เข้าร่วมกลุ่ม \”เพื่อนออมเงินและลงทุน\” 👉🏻 https://www.facebook.com/groups/853842831690160/?ref=share
ติดตามกันได้ที่ 👉🏻 Facebook FanPage : https://www.facebook.com/thanmoneytrick/
บริหารเงินให้รวยเร็วthanmoneytrick

มือใหม่อยากซื้อ กองทุนรวม 2021 เริ่มต้นยังไง? l สรุป 5 STEP นักลงทุนต้องรู้ ก่อนเริ่ม ลงทุน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ คุณต้องมีสิทธิ์เข้าถึง pantip

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *