Skip to content
Home » [NEW] อาณาจักรสัตว์ « ● Kingdom (biology) ● | protostomia คือ – NATAVIGUIDES

[NEW] อาณาจักรสัตว์ « ● Kingdom (biology) ● | protostomia คือ – NATAVIGUIDES

protostomia คือ: คุณกำลังดูกระทู้

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

กวาง สิ่งมีชิวิตที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่งที่ถูกจัดไว้ในอาณาจักรสัตว์ มีระบบประสาทที่ซับซ้อน นอกจากนี้ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆด้วย เช่น ปลา แมลง นก สัตว์ คน เป็นต้น

อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)

สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจำนวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทำให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทำให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสำคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ

เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์
1. เซลล์แบบยูคาริโอต (eukaryotic cell) คือเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ในไซโทพลาสซึมมีออร์แกนเนลล์ต่างๆ กระจายอยู่
2. ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ชนิดที่ไม่มีผนังเซลล์ เรียกว่าเซลล์สัตว์ ทำให้เซลล์มีลักษณะอ่อนนุ่มและแตกต่างไปจากเซลล์พืช เซลล์เหล่านี้จะมารวมกันเป็นเนื้อเยื่อเพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งพบว่าเซลล์ในเนื้อเยื่อมักมีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน มีการประสานการทำงานระหว่างกัน   สัตว์ชั้นสูงมีเนื้อเยื่อหลายชนิดสามารถจำแนกตามหน้าที่และตำแหน่งที่อยู่ของร่างกายเป็น 5 ประเภท คือ เนื้อเยื่อบุผิว(epithelial tissue) เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ(muscular tissue) เนื้อเยื่อลำเลียง (vascular tissue) และเนื้อเยื่อประสาท (nervous tissue)
3. สร้างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์ ดังนั้นการดำรงชีวิตจึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหารซึ่งอาจเป็นพืชหรือสัตว์ด้วยกัน การดำรงชีวิตจึงมักเป็นแบบผู้ล่าเหยื่อหรือปรสิตเสมอ
4. โดยทั่วไปเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีบางชนิดพบว่าเมื่อเป็นตัวเต็มวัยแล้วเกาะอยู่กับที่
5. โดยส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีระบบประสาท มีอวัยวะรับความรู้สึกและตอบสนอง เช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์ เป็นต้น

เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์
ปัจจุบันสัตว์ในโลกที่มนุษย์รู้จักมีมากกว่า 1 ล้านสปีชีส์ พบทั้งในน้ำจืด น้ำเค็มและบนบก ซึ่งสามารถจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate) และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง (vertebrate) และสามารถจำแนกเป็นไฟลัมต่าง ๆ ได้ราว 35 ไฟลัม แต่ส่วนใหญ่จะเรียนรู้กันเฉพาะไฟลัมใหญ่ ๆ เท่านั้น ซึ่งในการจัดจำแนกจะใช้เกณฑ์ต่างๆ  ดังนี้
1. ระดับการทำงานร่วมกันของเซลล์ (level of cell organization) โดยดูการร่วมกันทำงานของเซลล์และการจัดเป็นเนื้อเยื่อนั้น มีลักษณะเป็นอย่างไรมากหรือน้อยเพียงใด ซึ่งทำให้แบ่งสัตว์ออกเป็นพวกใหญ่ ๆ คือ
1.1 เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง( no true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า พาราซัว (parazoa) เนื่องจากเซลล์ในสัตว์กลุ่มนี้ไม่มีการประสานงานกันระหว่างเซลล์ โดยเซลล์ทุกเซลล์จะมีหน้าที่ในการดำรงชีวิตของตนเอง หน้าที่ทั่วไปคือด้านโภชนาการ และสืบพันธุ์ ได้แก่ พวกฟองน้ำ
1.2 เนื้อเยื่อที่แท้จริง (true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า ยูเมตาซัว (eumetazoa) ซึ่งเนื้อเยื่อจะถูกสร้างขึ้นเป็นชั้น หรือเรียกว่า ชั้นของเนื้อเยื่อ (germ layer) มี 2 ประเภทคือ
1.2.1 เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (diploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน (endoderm) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย
1.2.2. เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (triploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก ชั้นกลาง (mesoderm) และชั้นใน ได้แก่พวกหนอนตัวแบนขึ้นไป จนถึงสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
2. สมมาตร (symmetry) คือลักษณะการแบ่งร่างกายออกเป็นซีก ๆ ตามความยาวของซีกเท่า ๆ กัน มีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่
2.1 ไม่มีสมมาตร (asymmetry) มีรูปร่างไม่แน่นอน ไม่สามารถแบ่งซีกซ้ายและซีกขวาได้ เท่า ๆ กัน ได้แก่ พวกฟองน้ำ
2.2 สมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) ร่างกายของสัตว์จะมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก หรือล้อรถ ถ้าตัดผ่านจุดศูนย์กลางแล้วจะตัดอย่างไรก็ได้ 2 ส่วนที่เท่ากันเสมอ หรือเรียกว่า มีสมมาตรที่ผ่าซีกได้เท่า ๆ กันหลาย ๆ ครั้งในแนวรัศมี ได้แก่ สัตว์พวกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เม่นทะเล
2.3 สมมาตรแบบครึ่งซีก (bilateral symmetry) หรือมีสามาตรที่ผ่าซีกได้เท่า ๆ กัน เพียง 1 ครั้ง สมมาตรแบบนี้สามารถผ่าหรือตัดแบ่งครึ่งร่างกายตามความยาวของลำตัวแล้วทำให้ 2 ข้างเท่ากัน ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง
3. ลักษณะช่องว่างในลำตัวหรือช่องตัว (body cavity or coelom) คือช่องว่างภายในลำตัวที่อยู่ระหว่างผนังลำตัวกับอวัยวะภายในตัว ภายใน coelom มักจะมีของเหลวอยู่เต็ม ของเหลวเหล่านี้ทำหน้าที่เสมือนหนึ่งระบบไหลเวียนโลหิตง่าย ๆ ในสัตว์บางพวกช่วยลำเลียงสารอาหาร ออกซิเจน และของเสีย เป็นต้น อีกทั้งยังช่วยลดแรงกระแทกจากภายนอกที่อาจเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน และยังเป็นบริเวณที่ทำให้อวัยวะภายในเคลื่อนที่ได้อิสระจากผนังลำตัว ยอมให้อวัยวะขยายใหญ่ได้ ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นเกณฑ์ในการจำแนกสัตว์ได้ แบ่งเป็น 3 พวกคือ
3.1 ไม่มีช่องว่างในลำตัวหรือไม่มีช่องตัว (no body cavity or acoelom) เป็นพวกที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นอยู่ชิดกัน โดยไม่มีช่องว่างในแต่ละชั้น ได้แก่พวกหนอนตัวแบน
3.2 มีช่องตัวเทียม (pseudocoelom) เป็นช่องตัวที่เจริญอยู่ระหว่าง mesoderm ของผนังลำตัว และ endoderm ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ช่องตัวนี้ไม่มีเยื่อบุช่องท้องกั้นเป็นขอบเขต ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม โรติเฟอร์ (rotifer)
3.3 มีช่องตัวที่แท้จริง (eucoelom or coelom) เป็นช่องตัวที่เจริญแทรกอยู่ระหว่าง mesoderm 2 ชั้น คือ mesoderm ชั้นนอกเป็นส่วนหนึ่งของผนังลำตัว (body wall) กับ mesoderm ชั้นในซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผนังลำไส้ (intestinal wall) และ mesoderm ทั้งสองส่วนจะบุด้วยเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) ได้แก่ ไส้เดือนดิน หอย แมลง ปลา สัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นต้น
4. การเกิดช่องปาก ซึ่งสามารถแบ่งสัตว์ตามการเกิดช่องปากได้ 2 กลุ่ม
4.1 โปรโตสโตเมีย (protostomia) เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิดก่อนช่องทวารในขณะที่เป็นตัวอ่อน ซึ่งช่องปากเกิดจากบลาสโตพอร์ หรือบริเวณใกล้ ๆ บลาสโตพอร์ (blastopore) ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน หนอนตัวกลม หนอนมีปล้อง หอย สัตว์ขาปล้อง
4.2 ดิวเทอโรสโตเมีย (deuterostomia) เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร เกิดจากช่องใหม่ที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นทางเดินอาหารซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ บลาสโตพอร์ ได้แก่ พวกดาวทะเล และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
5. ทางเดินอาหาร (digestive tract)

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ไฟลัม คือ

1.ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
2.ไฟลัมซีเลนเทอราตา (Phylum Coelenterata)
3.ไฟลัมเนมาโทดา (Phylum Nematoda)
4.ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)
5.ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
6.ไฟลัมเอชิโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata)
7.ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes)
8.ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)
9.ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)

ข้อมูลจาก : http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/572-00/ , http://blogdeksiamkingdomanimalia.blogspot.com/

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…

[NEW] Animal Kingdom | protostomia คือ – NATAVIGUIDES

อาณาจักรสัตว์ (Animal Kingdom) – บทนำ

 

Animal are multicellular, heterotrophic eukaryote with tissues that develop from embryonic layers. (Campbell, 2011)

Multicellular–> สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

Heterotrophic eukaryote–> ร่างกายของสัตว์ประกอบด้วยเซลล์แบบยูคาริโอต และ ส่วนใหญ่ดำรงชีวิตเป็นผู้บริโภค ซึ่งทำให้สัตว์มีความแตกต่างจากพืช ซึ่งเป็น Autotrophic eukaryote

 

ทฤษฎีEndosymbiosis

(อ่านเพิ่มเติมที่ http://www.scimath.org/index.php/socialnetwork/groups/viewbulletin/202-%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1+2+%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99?groupid=31)

Tissues developed from embryonic layers

–> เซลล์สัตว์มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากเซลล์พืช และเชื้อรา คือ เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์ (Cell wall) แต่เซลล์สัตว์มีโปรตีนเป็นตัวเชีอมระหว่างเซลล์ ส่วนใหญ่คือ โปรตีนคอลลาเจน (Collagen)

–> สัตว์มีเซลล์ 2 ชนิดที่ไม่พบในสิ่งมีชีวิตอื่น คือ เซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์ประสาท

–> เนื้อเยื่อ คือ กลุ่มเซลล์ที่มีโครงสร้าง และ/หรือ หน้าที่ เหมือนกัน กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง เรียกว่า Parazoa และกลุ่มที่มีเนื้อเยื่อแท้จริง เรียกว่า Eumetazoa

–> เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อประสาท ทำให้สัตว์มีการตอบสนองที่ชัดเจน มีการเคลื่อนที่

–> เมื่อเสปิร์มปฏิสนธิกับไข่ ได้ไซโกต (Zygote) ซึ่งจะมีการพัฒนาต่อไปเป็นเอมบริโอ (Embryo) ผ่านระยะต่างๆ ดังนี้ Clevage, Blastulation, Gastrulation ตามลำดับ

–> การเปลี่ยนแปลงของ Blastoporeแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ Protostomia (Blastopore เปลี่ยนเป็นช่องปาก) และ Deuterostomia (Blastopore เปลี่ยนเป็นทวารหนัก)

–> หลังจากการพัฒนาของเอมบริโอ จนเนื้อเยื่อถูกแบ่งเป็นชั้น Ectoderm, mesoderm และ Endodermโดยจะเกิดช่องว่างระหว่างลำตัวกับอวัยวะภายใน โดยสามารถแบ่งสัตว์ได้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ไม่มีช่องว่างลำตัว (Acoelomate), กลุ่มช่องว่างลำตัวเทียม (Pseudocoelomate) และกลุ่มที่มีช่องว่างลำตัวแท้จริง (Coelomate)

–> สมมาตรร่างกายของสัตว์ (Symmetry)แบ่งเป็น กลุ่มที่ไม่มีสมมาตร (Asymmetry) กลุ่มที่มีสมมาตรร่างกายแบบรัศมี (Radial symmetry) และกลุ่มที่มีสมมาตรด้านข้าง (Bilateral symmetry)

–> รูปแบบการเจริญในระยะตัวอ่อน ของสัตว์ในกลุ่ม Protostomiaจำแนกเป็น ระยะตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์ (Trochophore larva) และกลุ่มที่มีการลอกคราบในขณะเจริญเติบโต

สรุปการวิวัฒนาการของสัตว์


Return to contents


PROTOSTOME AND DEUTEROSTOME / ANIMALS BODY PLAN/TUBE WITHIN A TUBE PLAN(EXPLAINATION \u0026 MCQ)


In this video I have discussed
The taxa protostome \u0026 deuterostome.
Protostome \u0026 deuterostome are the types of body plan, these are the tubewithinatube plan.
I have also discussed some important MCQS on protostome \u0026 deuterostome.
see also
https://youtu.be/VVICCMHQLGY
https://youtu.be/DSpMKcShfx8

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

PROTOSTOME AND DEUTEROSTOME / ANIMALS BODY PLAN/TUBE WITHIN A TUBE PLAN(EXPLAINATION \u0026 MCQ)

ความปลออดภัยในอุตสาหกรรม รวมวิธีชี้บ่งความเสี่ยงแบบต่างๆ HAZID method


Welcome to prostask channel. This channel presents you about process and process safety design as followed. If it is not so bad, can you give me some words of encouragement and please consider subscribing. Thank you.
Qualitative Risk Assessment
HEMP: https://youtu.be/VrzLn0wjX3E
HEMP (EN): https://youtu.be/wFxkn4tiqqE
HAZID selection: https://youtu.be/F2R6z1XmO8Y
HAZID: https://youtu.be/g5J4uq_ibM
ENVID: https://youtu.be/6CKdIdJMTos
HAZID (EN): https://youtu.be/dWpI1DdROe8
HAZOP: https://youtu.be/CezJVWbL5BU
HAZOP (EN): https://youtu.be/skKPKy3W9g
HAZOP tips: https://youtu.be/QxgBbbDykA
BowtieAnalysis: https://youtu.be/7JwXqk0hHck
FMEA: https://youtu.be/7hnJuj9cT8
FMEA VS FMEDA: https://youtu.be/hIe5RPUYjQI
WhatIf analysis: https://youtu.be/HRhIu10TP8o
Hazard Checklist: https://youtu.be/uqkbpENiks
PHA: https://youtu.be/h5rxLsOMpsg
HAZMAT: https://youtu.be/iGXRVnzicI
Project Risk Assessment: https://youtu.be/XO5U8ZBJ6a4
Alarm Rationalization Study: https://youtu.be/Qsntrs7wR0U
ARS tip: https://youtu.be/BMRZmyztdOk
SFMEA, DFMEA, PFMEA: https://youtu.be/Qm5frG_PkrI
HACCP: https://youtu.be/R5skKCOtes
SCTA: https://youtu.be/IxYq0122Ys
HFE: https://youtu.be/JAGy3J8RMTo
CHAZOP: https://youtu.be/SB9armqY3BI
Quantitative Risk Assessment
FTA: https://youtu.be/iE5sQPIeaQ
ETA: https://youtu.be/l04G14ym8DA
QRA: https://youtu.be/cy9IRerr0bw
Potential loss of life (PLL): https://youtu.be/rlTl4gE8pXY
Social risk, FN curve: https://youtu.be/Y9PxjkCEet8
Dow F\u0026EI1: https://youtu.be/qNf6fuGy3Xc
Dow F\u0026EI2: https://youtu.be/OVX8HFBpd0M
Dow F\u0026EI example: https://youtu.be/wB_M7Iq6PwE
Blast explosion: https://youtu.be/hukza9z92mI
Basic of explosion: https://youtu.be/WBTrWX5GkjU
Vapor Cloud Explosion: https://youtu.be/vdMZ6FtkoyI
BST: https://youtu.be/pXJYMYLzUc
Congestion and confinement: https://youtu.be/I5cn1ruxCLg
Sideon pressure: https://youtu.be/KKSK_2HTPwQ
Thermal radiation: https://youtu.be/opQEOtYAjg
Example Thermal radiation: https://youtu.be/jOIm3aFRxY
Plant layout: https://youtu.be/uOXzem1C9SM
Heat radiation shield: https://youtu.be/oDilAG_TQhY
Human Vulnerability Analysis: https://youtu.be/sib0bgv1yMo
Building Risk Assessment (BRA): https://youtu.be/K4HNVfMN618
Fire analysis: https://youtu.be/f1TEtnBySq4
Gas Dispersion Modelling: https://youtu.be/mkk8LHYsrZ0
Gaussian Plume: https://youtu.be/JpSLtUCAFq8
Plume rise and effective height: https://youtu.be/nEY7dkvmA1A
Factor for gas dispersion: https://youtu.be/J9qzm4t1d8M
VOC emission: https://youtu.be/_hMOn1flPBI
Method to estimate VOC emission: https://youtu.be/p458c3TZjcc
Basic of EERA: https://youtu.be/1KOcBRUv_MI
Functional Safety
Safety Instrumented System (SIS): https://youtu.be/rFR5bPQSecc
Safety Instrumented Function (SIF): https://youtu.be/uoHaPUhAwhU
Basic of SIL: https://youtu.be/EnKjQqtV9Yg
Risk Graph: https://youtu.be/T9DZEvZnhbk
LOPA: https://youtu.be/hyAfsIjLAqw
LOPA: https://youtu.be/Mug3yz_khAU
Safety Layer Matrix: https://youtu.be/fg6VH3KK43s
Probability of failure: https://youtu.be/DGOoN8ZF_dM
Probability of failure by FTA: https://youtu.be/kPYkmPUaQ8E
Random event: https://youtu.be/xwgXHhASmek
SIL architecture: https://youtu.be/hfH7y7OmAdU
Compare SIL architecture: https://youtu.be/zSTZUsMbXxI
Proof test: https://youtu.be/sLdKIQB_bWg
Confidence factor: https://youtu.be/eqV02Z172vY
Compliance to IEC61511: https://youtu.be/JxALtYocAk
SIS justification: https://youtu.be/IvrNBZopX4
HIPPS VS ESD: https://youtu.be/4cFJbkXR6S8
Basic of ESD: https://youtu.be/lCw5k1UYnkc
Functional Safety for machinery: https://youtu.be/f1NxqXvi6H8
Process Safety Management (PSM)
Mechanical Integrity and RBI: https://youtu.be/NsRQc6Vpm3c
Risk Management Plan (RMP): https://youtu.be/hvWzCGOPasw
Reliability
Reliability Study: https://youtu.be/2r1gk__SwBY
Basic of reliability and safety: https://youtu.be/E4xpEjv2i9E
Safety and reliability Term: https://youtu.be/GIPEX90CaX0
Reliability and availability: https://youtu.be/xwgXHhASmek
Process Safety
Hazardous Area Classification https://youtu.be/cd76znViYyo
Control of ignition: https://youtu.be/MOo2NttqQNM
Basic hazardous area classification: https://youtu.be/dID9hpWbUQg
Chemical Reactivity: https://youtu.be/0hOCztzFpfU
Toxicology: https://youtu.be/_lCp4yNFvd4
Benefit to Cost Ratio: https://youtu.be/2Sh03P6Vjc
Safety Barrier: https://youtu.be/ZsJuaCFBAFQ
Fire Zone: https://youtu.be/xrB3OKEctKA
Noise impact: https://youtu.be/CEbqO1mWHWw
Fire proofing zone: https://youtu.be/pst5ybc866o
PSM: https://youtu.be/ZPpuJouQ1GY
Safety Critical Element: https://youtu.be/lAsgzPG15Gs
Safety Critical Element
Flame arrester: https://youtu.be/iWU69oBti7k
Emergency Vent: https://youtu.be/A0AlVbOr1_4
Spill pit: https://youtu.be/95zQfIdd6tc
Depressurizing valve: https://youtu.be/hBL9A5BL5o
Pongsakorn Monturat
พงศกร มลธุรัช
บริการให้คำปรึกษา เกี่ยวกับ process and process safety
Line ID: pongsakorn023
Mail: [email protected]
Phone: +66944592885

ความปลออดภัยในอุตสาหกรรม รวมวิธีชี้บ่งความเสี่ยงแบบต่างๆ HAZID method

Overall Equipment Effectiveness (OEE) คืออะไร? | สำคัญอย่างไร? คำนวณอย่างไร? | EP. 91 | 2021.11.16


Overall Equipment Effectiveness (OEE) คืออะไร? | สำคัญอย่างไร? คำนวณอย่างไร? | EP. 91 | 2021.11.16
================================================
OEE หรือ Overall Equipment Effectiveness คืออะไร?
สำคัญอย่างไรกับโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต?
มีสูตร และวิธีการคำนวณอย่างไร?
ความหมายของ OEE หรือ Overall Equipment Effectiveness ก็ตามชื่อของภาษาอังกฤษ เลยนะครับ คือ ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ต่างๆ ในการผลิต โดยการเปรียบเทียบออกมาเป็นตัวเลข ในช่วงเวลาการผลิตนั้นๆ
สุดท้ายนี้ ฝาก กดไลค์ กดแชร์ กดกระดิ่ง กดติดตาม หรือ กด subscribe ให้กับช่องของผมด้วยนะครับผม “Die Casting and Engineering Knowledge Sharing” ขอบคุณมาก ๆ ครับ ที่รับชมและรับฟังครับ ขอบคุณมากครับ เจอกัน คลิปหน้าครับผม
Finally, please press the button of Like, Share, Bell and subscribe for my YouTube Chanel “Die Casting
==============================================================
ช่องนี้จัดทำขึ้นมาเพื่อที่ ต้องการจะแชร์ประสบการณ์และความรู้ที่เกี่ยวกับวิศวกรรม, ความรู้ทั่วไป, ประสบการณ์ชีวิตในโรงงาน และ งาน Die Casting เพื่อที่จะเป็นประโยชน์สำหรับ บุคคลที่เกี่ยวข้อง บุคคลทั่วไป และนักเรียน นักศึกษา และคนที่สนใจ เพื่อจะได้นำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการทำงาน หรือใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต สำหรับเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านนะครับผม หากผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยไว้ ณ ทีนี้ด้วยนะครับผม ขอบคุณครับ ==============================================================
🙏 🙏 🙏 ขอบคุณมากๆ เลยนะครับที่ติดตามผลงานกันครับผม 🙏 🙏 🙏 ผมรบกวนฝากติดตามผลงานของผมในช่องทางอื่นๆ ด้วยนะครับ ขอบคุณมากๆ ครับ
Fan Page: WAND Intelligence (https://www.facebook.com/Banpot.Adisak)
Fan Page: Adisak Banpot (https://www.facebook.com/AdisakBanpot.PENG)
Fan Page: Aluminum High Pressure Die Casting and Engineering Knowledge Sharing (https://bit.ly/2VZwBwx)
Blog: WAND Intelligence (https://wandintelligence.blogspot.com/)

Overall Equipment Effectiveness (OEE) คืออะไร? | สำคัญอย่างไร? คำนวณอย่างไร? | EP. 91 | 2021.11.16

Biology Protostomes vs Deuterostome


________________CLICK TO SUBSCRIBE________________
https://www.youtube.com/c/drdiclonius/?sub_confirmation=1
Make sure to subscribe and be updated with our most recent videos! Lots of new content will be updated regularly! Thank you for your support and for subscribing!
Instagram: https://www.instagram.com/drdbiology
Mouth first or anus first?

Biology Protostomes vs Deuterostome

What are Fossil Bryozoans?


Invertebrate Paleontology and Paleobotany is a graduate level course in paleontology at Utah State University, which covers the major groups of marine invertebrates, fossil plants, and the important techniques and tools used in the field of paleontology. It covers ichnology, fossil preservation, taphonomy, ontogeny, cladistics, biostratigraphy, paleoecology, extinction and evolutionary rates, and many other tools used by professional paleontologists in the study of fossils and their importance in the field of geology. Course lectures are produced and broadcast from the Uintah Basin Campus in Vernal, Utah. If you like more information about the course and becoming a student at Utah State University check out this website: http://geology.usu.edu

What are Fossil Bryozoans?

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ protostomia คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *