Skip to content
Home » [NEW] อัตราค่าแรงขั้นต่ำปี 2564 ของประเทศอาเซียนเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ต่ำที่สุดในเอเชียและต่ำกว่าประเทศที่เศรษฐกิจพัฒนาแล้ว | ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ํา – NATAVIGUIDES

[NEW] อัตราค่าแรงขั้นต่ำปี 2564 ของประเทศอาเซียนเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ต่ำที่สุดในเอเชียและต่ำกว่าประเทศที่เศรษฐกิจพัฒนาแล้ว | ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ํา – NATAVIGUIDES

ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ํา: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

ต้นปี 2564 มานี้ อัตราค่าแรงขั้นต่ำของประเทศในภูมิภาคอาเซียนถูกปรับเพิ่มสูงขึ้นให้สอดคล้องกับสภาพค่าครองชีพที่สูงขึ้นและเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศ แต่ก็ยังเป็นค่าแรงขั้นต่ำที่ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับบรรดาประเทศในภูมิภาคเอเชีย และประเทศที่มีเศรษฐกิจพัฒนาแล้วในภูมิภาคอื่นของโลก รวมถึงว่าในช่วงการระบาดของโควิด-19 ประเทศสมาชิกอาเซียนหลายประเทศก็ไม่ได้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำหรือไม่ได้ปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำอย่างมีนัยสำคัญ

เว็บไซต์ aseanbriefing.com ได้รวบรวมอัตราค่าแรงขั้นต่ำประจำปี 2564 ของประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เมียนมา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ โดยไม่ได้นับรวมสิงคโปร์และบรูไนดารุสซาลาม เนื่องจากไม่ได้มีการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำเอาไว้

ทั้งนี้ ข้อมูลรายละเอียดของแต่ละประเทศ นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและนักธุรกิจที่จะใช้ประกอบการตัดสินใจแล้ว อาจจะช่วยทำให้เห็นภาพเงื่อนไขที่มาของอัตราค่าแรงขั้นต่ำที่ท้ายที่สุดจะช่วยส่งเสริม หรือ ไม่ช่วยส่งเสริมสุขภาวะความเป็นอยู่และการคุ้มครองผู้ใช้แรงงานในแต่ละประเทศด้วย

ข้อมูลค่าแรงขั้นต่ำประจำปี 2564 โดยสรุปของ 8 ประเทศ มีดังนี้

ประเทศไทย – ค่าแรงขั้นต่ำต่อวันอยู่ระหว่าง 313 บาท (US$10.03) ถึง 336 บาท(US$10.77) แตกต่างไปตามแต่ละจังหวัด

ลาว – ยังไม่ได้มีการปรับเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำมาตั้งแต่ปี 2561 โดยอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนสำหรับปี 2564 ยังอยู่ที่ 1.1 ล้านกีบ (US$116) ส่วนการหารือเพื่อกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำนั้น เป็นการหารือไตรภาคีระหว่างสมาชมนายจ้าง องค์กรแรงงาน และผู้แทนจากภาครัฐ

กัมพูชา – กระทรวงแรงงานและการฝึกอบรมของกัมพูชา (Ministry of Labor and Vocational Training – MLVT) ออกประกาศกระทรวงฉบับที่ 33 (Prakas No. 33) กำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 สำหรับแรงงานประจำ (regular workers) อยู่ที่ US$192 เพิ่มจากปี 2563 ที่ US$2 ส่วนอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนสำหรับแรงงานทดลองงาน (probationary workers) อยู่ที่ US$187

นอกจากนี้ แรงงานยังได้รับสิทธิประโยชน์อื่น ได้แก่ ค่าที่พัก US$7 ต่อเดือน โบนัสการเข้างาน US$10 ต่อเดือน ค่าอาหาร US$0.5 ต่อวัน โดยแรงงานที่ทำงานเป็นปีที่ 2 ถึงปีที่ 11 จะได้รับค่าทำงานล่วงเวลาและโบนัสตามความอาวุโส (seniority bonus) ระหว่าง US$2 ถึง US$11

ประกาศกระทรวงดังกล่าวยังได้กำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำสำหรับแรงงานที่ทำงานเป็นชิ้น โดยจะจ่ายตามจำนวนสินค้า อาทิ เสื้อผ้า และรองเท้า ที่ผลิตได้

เมียนมา – อัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อวันในเมียนมาจะมีการปรับทุก 2 ปี และการหารือครั้งล่าสุด ตามกำหนดคือจะต้องเริ่มเมื่อกลางปี 2563 แต่เนื่องจากการระบาดของโควิด-19 (รวมถึงเหตุการณ์ทางการเมือง) ทำให้การหารือดังกล่าวต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด

โดยหากยึดตามอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อวันตามเดิม จะอยู่ที่ 4,800 จ๊าด (US$3.07) สำหรับการทำงานเป็นเวลา 8 ชั่วโมง และตามแผนการเดิมจะมีการเสนอให้ปรับเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำ 8 ชั่วโมงต่อวัน เป็น 7,200 จ๊าด (US$4.62)

  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนของเวียดนาม 2564
  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนของมาเลเซีย 2564
  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนของอินโดนีเซีย 2564
  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อวันของฟิลิปปินส์ 2564

เวียดนาม – สภาพเศรษฐกิจของเวียดนามเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนในปี 2564 ยังคงเป็นอัตราเดิมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 และจะมีการปรับอีกครั้งวันที่ 1 กรกฎาคม 2564* ทั้งนี้ อัตราค่าแรงขั้นต่ำของเวียดนามยังแตกต่างกันไปตาม 4 ภูมิภาคของประเทศ โดยที่ภูมิภาคที่ 1 (พื้นที่เมืองของฮานอยและกรุงโฮจิมินห์) เป็นภูมิภาคที่มีอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนมากที่สุด ที่ 4,200,000 ดง (US$181) ขณะที่ภูมิภาคที่ 4 เป็นภูมิภาคที่มีอัตราค่าแรงขั้นต่ำน้อยที่สุด ที่ 3,070,000 ดง (US$132)

นอกจากนี้ พนักงานที่ผ่านการอบรมวิชาชีพมาแล้วจะต้องได้รับค่าแรงอย่างน้อย 7% มากกว่าอัตราค่าแรงขั้นต่ำของภูมิภาคนั้นด้วย

มาเลเซีย – อัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนในเมืองหลัก 56 เมืองอยู่ที่ 1,200 ริงกิต (US$291) ส่วนอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนในเมืองชนบทและพื้นที่ที่ไม่ใช่พื้นที่เมือง อยู่ที่ 1,100 ริงกิต (US$266) โดยคาดว่าภายในปี 2564 นี้จะมีการปรับอัตราค่าแรงขั้นต่ำอีกครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบันมากที่สุด

อินโดนีเซีย – กระทรวงแรงงานของอินโดนีเซีย (Ministry of Manpower) ออกหนังสือเวียนเลขที่ M/11/HK.04/X/2020 เมื่อปลายเดือนตุลาคม ปี 2563 ระบุให้ในปี 2564 ยังคงอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนไว้คงเดิม เนื่องจากผลกระทบทางเศรษฐกิจจากโรคระบาด อย่างไรก็ดี มีจังหวัด 5 จังหวัด (จาการ์ตา ซูลาเวซีใต้ ชวากลาง ชวาตะวันออก และยอคยาการ์ต้า) จาก 34 จังหวัดที่ตัดสินใจปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำสำหรับปี 2564 นี้ ซึ่งตามระเบียบของทางราชการที่ GR 78/2015 กำหนดให้รัฐบาลส่วนท้องถิ่นคำนวณอัตราค่าแรงขั้นต่ำเองได้ โดยมีสูตรคือ

เงินเฟ้อของประเทศ + การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ = เปอร์เซ็นต์ที่เพิ่มขึ้นของค่าแรงขั้นต่ำ

โดยสำหรับค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนสำหรับเมืองหลวงจาร์กาตานั้น อยู่ที่ 4,416,186 รูเปียห์ (US$306)

ฟิลิปปินส์ – อัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อวันประจำปี 2564 ของฟิลิปปินส์แตกต่างกันไปตามแต่ละภูมิภาค โดยอยู่ระหว่าง 316 เปโซ (US$6.57) ถึง 537 เปโซ (US$11.17) ส่วนการหารือเพื่อกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำนั้น เป็นการหารือไตรภาคีของคณะกรรมการ National Wages and Productivity Commission ซึ่งมีอยู่ประจำในทุกภูมิภาค

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ระบุว่า ค่าแรงขั้นต่ำที่ผ่านการหารือและกำหนดไว้อย่างเหมาะสมจะช่วยตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน #SDG8 ด้านการจ้างงานที่มีคุณค่าและสิทธิแรงงาน โดยที่หากกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่ยากจนที่สุด มีรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับการมีนโยบายทางการคลัง ค่าจ้าง และการคุ้มครองทางสังคม ก็จะช่วยให้เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียมในสังคมขึ้น เป็นการลดความเหลื่อมล้ำภายในประเทศตาม #SDG10

แต่หากค่าแรงขั้นต่ำไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจแล้ว ย่อมส่งผลต่อสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของแรงงาน

ประเด็นดังกล่าวเกี่ยวข้องกับ
#SDG1 การขจัดความยากจน
#SDG8 การเติบโตทางเศรษฐกิจและงานที่มีคุณค่า
-(8.5) ส่งเสริมการจ้างงานเต็มที่และมีผลิตภาพ และการมีงานที่สมควรสำหรับหญิงและชายทุกคน รวมถึงเยาวชนและผู้มีภาวะทุพพลภาพ และให้มีการจ่ายที่เท่าเทียมสำหรับงานที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน ภายในปี 2573
-(8.8) ปกป้องสิทธิแรงงานและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัยและมั่นคงสำหรับผู้ทำงานทุกคน รวมถึงแรงงานต่างด้าว โดยเฉพาะแรงงานหญิงและผู้ที่ทำงานเสี่ยงอันตราย
#SDG10 ลดความเหลื่อมล้ำภายในประเทศและระหว่างประเทศ
-(10.1) ส่งเสริมการเติบโตของรายได้ในกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่ยากจนที่สุดอย่างต่อเนื่อง ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ภายในปี 2573
-(10.4) เลือกใช้นโยบาย โดยเฉพาะนโยบายการคลัง ค่าจ้าง และการคุ้มครองทางสังคม และให้บรรลุความเสมอภาคยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง

แหล่งที่มา:
Minimum Wages in ASEAN for 2021 (ASEANBriefing) – ข้อมูลล่าสุดเมื่อเมษายน 2564
Minimum wages: an introduction (ILO)

Knowledge Communication | อยากรู้ความคิดของคนต่างพื้นเพ ต่างสังคมและวัฒนธรรม สนใจความเป็นไปของโลก ความมั่นคง และการพัฒนา แล้วนำมาถ่ายทอดร้อยเรียงเรื่องราวเล่าให้ฟัง

[NEW] อัตราค่าแรงขั้นต่ำปี 2564 ของประเทศอาเซียนเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ต่ำที่สุดในเอเชียและต่ำกว่าประเทศที่เศรษฐกิจพัฒนาแล้ว | ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ํา – NATAVIGUIDES

ต้นปี 2564 มานี้ อัตราค่าแรงขั้นต่ำของประเทศในภูมิภาคอาเซียนถูกปรับเพิ่มสูงขึ้นให้สอดคล้องกับสภาพค่าครองชีพที่สูงขึ้นและเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศ แต่ก็ยังเป็นค่าแรงขั้นต่ำที่ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับบรรดาประเทศในภูมิภาคเอเชีย และประเทศที่มีเศรษฐกิจพัฒนาแล้วในภูมิภาคอื่นของโลก รวมถึงว่าในช่วงการระบาดของโควิด-19 ประเทศสมาชิกอาเซียนหลายประเทศก็ไม่ได้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำหรือไม่ได้ปรับเพิ่มขึ้นค่าแรงขั้นต่ำอย่างมีนัยสำคัญ

เว็บไซต์ aseanbriefing.com ได้รวบรวมอัตราค่าแรงขั้นต่ำประจำปี 2564 ของประเทศสมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เมียนมา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ โดยไม่ได้นับรวมสิงคโปร์และบรูไนดารุสซาลาม เนื่องจากไม่ได้มีการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำเอาไว้

ทั้งนี้ ข้อมูลรายละเอียดของแต่ละประเทศ นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและนักธุรกิจที่จะใช้ประกอบการตัดสินใจแล้ว อาจจะช่วยทำให้เห็นภาพเงื่อนไขที่มาของอัตราค่าแรงขั้นต่ำที่ท้ายที่สุดจะช่วยส่งเสริม หรือ ไม่ช่วยส่งเสริมสุขภาวะความเป็นอยู่และการคุ้มครองผู้ใช้แรงงานในแต่ละประเทศด้วย

ข้อมูลค่าแรงขั้นต่ำประจำปี 2564 โดยสรุปของ 8 ประเทศ มีดังนี้

ประเทศไทย – ค่าแรงขั้นต่ำต่อวันอยู่ระหว่าง 313 บาท (US$10.03) ถึง 336 บาท(US$10.77) แตกต่างไปตามแต่ละจังหวัด

ลาว – ยังไม่ได้มีการปรับเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำมาตั้งแต่ปี 2561 โดยอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนสำหรับปี 2564 ยังอยู่ที่ 1.1 ล้านกีบ (US$116) ส่วนการหารือเพื่อกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำนั้น เป็นการหารือไตรภาคีระหว่างสมาชมนายจ้าง องค์กรแรงงาน และผู้แทนจากภาครัฐ

กัมพูชา – กระทรวงแรงงานและการฝึกอบรมของกัมพูชา (Ministry of Labor and Vocational Training – MLVT) ออกประกาศกระทรวงฉบับที่ 33 (Prakas No. 33) กำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 สำหรับแรงงานประจำ (regular workers) อยู่ที่ US$192 เพิ่มจากปี 2563 ที่ US$2 ส่วนอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนสำหรับแรงงานทดลองงาน (probationary workers) อยู่ที่ US$187

นอกจากนี้ แรงงานยังได้รับสิทธิประโยชน์อื่น ได้แก่ ค่าที่พัก US$7 ต่อเดือน โบนัสการเข้างาน US$10 ต่อเดือน ค่าอาหาร US$0.5 ต่อวัน โดยแรงงานที่ทำงานเป็นปีที่ 2 ถึงปีที่ 11 จะได้รับค่าทำงานล่วงเวลาและโบนัสตามความอาวุโส (seniority bonus) ระหว่าง US$2 ถึง US$11

ประกาศกระทรวงดังกล่าวยังได้กำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำสำหรับแรงงานที่ทำงานเป็นชิ้น โดยจะจ่ายตามจำนวนสินค้า อาทิ เสื้อผ้า และรองเท้า ที่ผลิตได้

เมียนมา – อัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อวันในเมียนมาจะมีการปรับทุก 2 ปี และการหารือครั้งล่าสุด ตามกำหนดคือจะต้องเริ่มเมื่อกลางปี 2563 แต่เนื่องจากการระบาดของโควิด-19 (รวมถึงเหตุการณ์ทางการเมือง) ทำให้การหารือดังกล่าวต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด

โดยหากยึดตามอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อวันตามเดิม จะอยู่ที่ 4,800 จ๊าด (US$3.07) สำหรับการทำงานเป็นเวลา 8 ชั่วโมง และตามแผนการเดิมจะมีการเสนอให้ปรับเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำ 8 ชั่วโมงต่อวัน เป็น 7,200 จ๊าด (US$4.62)

  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนของเวียดนาม 2564
  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนของมาเลเซีย 2564
  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนของอินโดนีเซีย 2564
  • ค่าแรงขั้นต่ำต่อวันของฟิลิปปินส์ 2564

เวียดนาม – สภาพเศรษฐกิจของเวียดนามเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนในปี 2564 ยังคงเป็นอัตราเดิมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 และจะมีการปรับอีกครั้งวันที่ 1 กรกฎาคม 2564* ทั้งนี้ อัตราค่าแรงขั้นต่ำของเวียดนามยังแตกต่างกันไปตาม 4 ภูมิภาคของประเทศ โดยที่ภูมิภาคที่ 1 (พื้นที่เมืองของฮานอยและกรุงโฮจิมินห์) เป็นภูมิภาคที่มีอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนมากที่สุด ที่ 4,200,000 ดง (US$181) ขณะที่ภูมิภาคที่ 4 เป็นภูมิภาคที่มีอัตราค่าแรงขั้นต่ำน้อยที่สุด ที่ 3,070,000 ดง (US$132)

นอกจากนี้ พนักงานที่ผ่านการอบรมวิชาชีพมาแล้วจะต้องได้รับค่าแรงอย่างน้อย 7% มากกว่าอัตราค่าแรงขั้นต่ำของภูมิภาคนั้นด้วย

มาเลเซีย – อัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนในเมืองหลัก 56 เมืองอยู่ที่ 1,200 ริงกิต (US$291) ส่วนอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนในเมืองชนบทและพื้นที่ที่ไม่ใช่พื้นที่เมือง อยู่ที่ 1,100 ริงกิต (US$266) โดยคาดว่าภายในปี 2564 นี้จะมีการปรับอัตราค่าแรงขั้นต่ำอีกครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบันมากที่สุด

อินโดนีเซีย – กระทรวงแรงงานของอินโดนีเซีย (Ministry of Manpower) ออกหนังสือเวียนเลขที่ M/11/HK.04/X/2020 เมื่อปลายเดือนตุลาคม ปี 2563 ระบุให้ในปี 2564 ยังคงอัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนไว้คงเดิม เนื่องจากผลกระทบทางเศรษฐกิจจากโรคระบาด อย่างไรก็ดี มีจังหวัด 5 จังหวัด (จาการ์ตา ซูลาเวซีใต้ ชวากลาง ชวาตะวันออก และยอคยาการ์ต้า) จาก 34 จังหวัดที่ตัดสินใจปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำสำหรับปี 2564 นี้ ซึ่งตามระเบียบของทางราชการที่ GR 78/2015 กำหนดให้รัฐบาลส่วนท้องถิ่นคำนวณอัตราค่าแรงขั้นต่ำเองได้ โดยมีสูตรคือ

เงินเฟ้อของประเทศ + การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ = เปอร์เซ็นต์ที่เพิ่มขึ้นของค่าแรงขั้นต่ำ

โดยสำหรับค่าแรงขั้นต่ำต่อเดือนสำหรับเมืองหลวงจาร์กาตานั้น อยู่ที่ 4,416,186 รูเปียห์ (US$306)

ฟิลิปปินส์ – อัตราค่าแรงขั้นต่ำต่อวันประจำปี 2564 ของฟิลิปปินส์แตกต่างกันไปตามแต่ละภูมิภาค โดยอยู่ระหว่าง 316 เปโซ (US$6.57) ถึง 537 เปโซ (US$11.17) ส่วนการหารือเพื่อกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำนั้น เป็นการหารือไตรภาคีของคณะกรรมการ National Wages and Productivity Commission ซึ่งมีอยู่ประจำในทุกภูมิภาค

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ระบุว่า ค่าแรงขั้นต่ำที่ผ่านการหารือและกำหนดไว้อย่างเหมาะสมจะช่วยตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน #SDG8 ด้านการจ้างงานที่มีคุณค่าและสิทธิแรงงาน โดยที่หากกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่ยากจนที่สุด มีรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับการมีนโยบายทางการคลัง ค่าจ้าง และการคุ้มครองทางสังคม ก็จะช่วยให้เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียมในสังคมขึ้น เป็นการลดความเหลื่อมล้ำภายในประเทศตาม #SDG10

แต่หากค่าแรงขั้นต่ำไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจแล้ว ย่อมส่งผลต่อสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของแรงงาน

ประเด็นดังกล่าวเกี่ยวข้องกับ
#SDG1 การขจัดความยากจน
#SDG8 การเติบโตทางเศรษฐกิจและงานที่มีคุณค่า
-(8.5) ส่งเสริมการจ้างงานเต็มที่และมีผลิตภาพ และการมีงานที่สมควรสำหรับหญิงและชายทุกคน รวมถึงเยาวชนและผู้มีภาวะทุพพลภาพ และให้มีการจ่ายที่เท่าเทียมสำหรับงานที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน ภายในปี 2573
-(8.8) ปกป้องสิทธิแรงงานและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัยและมั่นคงสำหรับผู้ทำงานทุกคน รวมถึงแรงงานต่างด้าว โดยเฉพาะแรงงานหญิงและผู้ที่ทำงานเสี่ยงอันตราย
#SDG10 ลดความเหลื่อมล้ำภายในประเทศและระหว่างประเทศ
-(10.1) ส่งเสริมการเติบโตของรายได้ในกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่ยากจนที่สุดอย่างต่อเนื่อง ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ภายในปี 2573
-(10.4) เลือกใช้นโยบาย โดยเฉพาะนโยบายการคลัง ค่าจ้าง และการคุ้มครองทางสังคม และให้บรรลุความเสมอภาคยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง

แหล่งที่มา:
Minimum Wages in ASEAN for 2021 (ASEANBriefing) – ข้อมูลล่าสุดเมื่อเมษายน 2564
Minimum wages: an introduction (ILO)

Knowledge Communication | อยากรู้ความคิดของคนต่างพื้นเพ ต่างสังคมและวัฒนธรรม สนใจความเป็นไปของโลก ความมั่นคง และการพัฒนา แล้วนำมาถ่ายทอดร้อยเรียงเรื่องราวเล่าให้ฟัง


Nat Siripong – คนขายแรง (ภาษาใต้) ft. มาลีฮวนน่า


เพลง : คนขายแรง (feat. มาลีฮวนน่า)
ศิลปิน : แน็ท ศิริพงษ์
ฟังและดาวน์โหลดได้ที่ iTunes AppleMusic Deezer JOOX Spotify
https://UmusicTH.lnk.to/uBtgO
แน็ท ศิริพงษ์
Facebook : https://www.facebook.com/siripong.srisukha29
Instagram : https://www.instagram.com/siripongsrisukha
YouTube : NatSiripongVEVO
มาลีฮวนน่า
Facebook : https://www.facebook.com/Maleehuanaofficial/
Universal Music Thailand
Facebook Page: https://www.facebook.com/universalmusicthailand
Twitter: https://twitter.com/UMusicThai
Instagram: https://www.instagram.com/universalmusicth
ติดต่องาน: 0859184338 , 0853388135 (นี)
Email: [email protected]
Credits:
เนื้อร้อง: ประทีป มวยกระโทก, เชาวเลข สร่างทุกข์ และ มาลีฮวนน่า
ทำนอง: ประทีป มวยกระโทก และ เชาวเลข สร่างทุกข์ และ มาลีฮวนน่า
เรียบเรียง : มาลีฮวนน่า, ศิริพงษ์ ศรีสุขา
Producer : มาลีฮวนน่า
Lead Vocal : คฑาวุธ ทองไทย, ศิริพงษ์ ศรีสุขา
Acoustic Guitar : สุรพงค์ เรืองณรงค์
Lyrics:
ในยามหน้าแล้ง มาขายแรงอยู่ในเมืองใหญ่
ได้ทุนเก็บออมพอใช้ เป็นทุนเมื่อยามหน้านา
ฟ้าโกรธใครกัน ลงทัณฑ์สวรรค์บ้านนา
ไอ้ทุย คันไถ เหว่ว้า กลัวนาเป็นของนายทุน
แสงไฟสว่าง แต่หนทางของเรามืดมน
ชีวิตของคนจนจน ต้องอดทน สู้ด้วยลำแข้ง
อาบเหงื่อต่างน้ำ เราทำอาชีพขายแรง
ก้าวไปในทุกทุกแห่ง หากยังมีแรงยังมีกำลัง
ชีวิตนี้ ไม่มีวันเป็นของเรา เหน็ดเหนื่อยก็ต้องทนเอา
งานหนักเบาต้องเอาทุกอย่าง
เกิดมายากจนก็ต้องดิ้นรนทนสู้กับงาน
พี่น้องพ่อแม่ทางบ้าน ยังเฝ้าคอยหวังส่งเงินกลับไป
เหนื่อยเพียงไหน หัวใจก็ไม่เคยหวั่น
ขอให้มีงาน มีเงินส่งบ้าน นั้นเป็นใช้ได้
เรื่องปากเรื่องท้อง พึ่งปลากระป๋องก็อิ่มสบาย
เหนื่อยหนักพักผ่อนก็หาย เป็นลูกผู้ชายเกิดมาขายแรง
แสงไฟสว่าง ส่องหนทางของเราก้าวไป
ไม่ว่าจะไกลเพียงไหน สู้ต่อไปด้วยใจกล้าแกร่ง
ไม่มีสิทธิ์ท้อ ไม่มีวันพอ ขอให้มีแรง
ก้าวไปในทุกทุกแห่ง เกิดมาขายแรงด้วยความภูมิใจ
เหนื่อยเพียงไหน หัวใจก็ไม่เคยหวั่น
ขอให้มีงาน มีเงินส่งบ้าน นั้นเป็นใช้ได้
เรื่องปากเรื่องท้อง พึ่งปลากระป๋องก็อิ่มสบาย
เหนื่อยหนักพักผ่อนก็หาย เป็นลูกผู้ชายเกิดมาขายแรง
แสงไฟสว่าง ส่องหนทางของเราก้าวไป
ไม่ว่าจะไกลเพียงไหน สู้ต่อไปด้วยใจกล้าแกร่ง
ไม่มีสิทธิ์ท้อ ไม่มีวันพอ ขอให้มีแรง
ก้าวไปในทุกทุกแห่ง เกิดมาขายแรงด้วยความภูมิใจ
ไม่มีสิทธิ์ท้อ ไม่มีวันพอ ขอให้มีแรง
ก้าวไปในทุกทุกแห่ง เกิดมาขายแรงด้วยความภูมิใจ
แน็ท
มาลีฮวนน่า
ไม้เมือง
คนขายแรง
คนขายแฮง
ไม่มีใจ
ศิริพงษ์
TheVoiceKidsThailand
TheVoiceThailand
Music video by Nat Siripong performing Kon Kai Rang. © 2018 Universal Music (Thailand) Ltd
http://vevo.ly/0yHhbZ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Nat Siripong - คนขายแรง (ภาษาใต้) ft. มาลีฮวนน่า

ขึ้นค่าแรงขั้นต่ำให้ปีใหม่ ค่าแรงขั้นต่ำปรับแบบค่อยเป็นค่อยไป จังหวัดไหนเยอะสุดมาดูกัน


ค่าแรงขั้นต่ำปรับแบบค่อยเป็นค่อยไป\r
\r
มติคณะกรรมการค่าจ้าง\r
ปรับค่าจ้างขั้นต่ำขึ้นจำนวน 5 6 บาท\r
นายสุทธิ สุโกศล ปลัดกระทรวงแรงงาน\r
ยืนยัน ตัวเลขดังกล่าวถือว่าเหมาะสมแล้ว\r
กับสถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป\r
แบ่งออกเป็น จังหวัดที่ปรับขึ้น 6 บาท 9 จังหวัด\r
คือ ชลบุรี ภูเก็ต กรุงเทพ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี\r
สมุทรปราการ สมุทรสาคร และปราจีนบุรี\r
ส่วน 68 จังหวัดที่เหลือปรับขึ้นในอัตรา 5 บาท\r
ส่งผลให้ขณะนี้ค่าจ้างขั้นต่ำ แบ่งได้เป็น 10 กลุ่มด้วยกัน\r
โดยกลุ่มที่มีอัตราสูงสุดคือ ชลบุรี กับ ภูเก็ต อยู่ที่ 336 บาท\r
ส่วนอัตราต่ำสุดคือ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี และยะลา อยู่ที่ 313 บาท\r
โดยรายละเอียด 10 ระดับ มีดังนี้\r
\r
1.ค่าจ้าง 336 บาท มี 2 จังหวัด คือ ชลบุรีและภูเก็ต\r
\r
2. ค่าจ้าง 335 บาท มี 1 จังหวัด คือ ระยอง\r
\r
3. ค่าจ้าง 331 บาท มี 6 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร\r
\r
4. ค่าจ้าง 330 บาท คือ ฉะเชิงเทรา\r
\r
5. ค่าจ้าง 325 บาท มี 14 จังหวัด คือ กระบี่ ขอนแก่น เชียงใหม่ ตราด นครราชสีมา พระนครศรีอยุธยา พังงา ลพบุรี สงขลา สระบุรี สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี หนองคาย และอุบลราชธานี\r
\r
6.ค่าจ้าง 324 บาท มี 1 จังหวัด คือ ปราจีนบุรี\r
\r
7. ค่าจ้าง 323 บาท มี 6 จังหวัด คือ กาฬสินธุ์ จันทบุรี นครนายก มุกดาหาร สกลนคร และสมุทรสงคราม\r
\r
8.ค่าจ้าง 320 บาท มี 21 จังหวัด คือ กาญจนบุรี ชัยนาท นครพนม นครสวรรค์ น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ์ พะเยา ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย สระแก้ว สุรินทร์ อ่างทอง อุดรธานี และอุตรดิตถ์\r
\r
9.ค่าจ้าง 315 บาท มี 22 จังหวัด คือ กำแพงเพชร ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย ตรัง ตาก นครศรีธรรมราช พิจิตร แพร่ มหาสารคาม แม่ฮ่องสอน ระนอง ราชบุรี ลำปาง ลำพูน ศรีสะเกษ สตูล สิงห์บุรี สุโขทัย หนองบัวลำภู อุทัยธานี และอำนาจเจริญ\r
\r
10.ค่าจ้าง 313 บาท มี 3 จังหวัด คือ นราธิวาส ปัตตานี และยะลา\r
\r
ทั้งนี้ หลังจากที่ได้ข้อสรุปแล้ว ทางคณะกรรมการค่าแรงขั้นต่ำจะนำเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีต่อไป เพื่อให้อัตราค่าจ้างนี้มีผลบังคับใช้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2563
\r
@ติดตามข่าวสารก่อนใครได้ที่ @\r
แฟนเพจ : @บัตรคนจน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ\r
╔═══════════════════════╗\r
♛♛ ติดตามเราได้ที่ : @ข่าว3TV ♛♛\r
กดติดตาม : ข่าว 3TV (กดที่ลิ้งค์)\r
ช่อง : https://www.youtube.com/channel/UCLiXNs1pUbN0ZoXHnwNXSg?sub_confirmation=1\r
เว็บ : https://bc3tv.blogspot.com/\r
เพจ ข่าว3tv : https://web.facebook.com/khao3tv\r
เพจ บัตรคนจน : https://web.facebook.com/113210476749851\r
เพจ ชิม ช้อม ใช้ : https://web.facebook.com/111657733576010\r
ไลน์ : http://nav.cx/soVuXZv\r
Email : [email protected]\r
ข่าว3TV 3TV ข่าว3ทีวี\r
╚═══════════════════════╝\r
@บัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด\r
@เงินอุดหนุนแรกเกิดล่าสุด\r
@บัตรสวัสดิการแห่งรัฐเดือนสิงหาคม2562\r
@ข่าวบัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด\r
@เงินช่วยเหลือชาวนาปี62/63\r
@วิธีการเตรียมตัวในการลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ\r
@ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ\r
@ลงทะเบียนบัตรคนจนรอบใหม่\r
@ลงทะเบียนบัตรคนจน\r
@ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด\r
@บัตรคนจนลงทะเบียนใหม่\r
@บัตรคนจนลงทะเบียนรอบใหม่วันไหน\r
@บัตรคนจนลงทะเบียนรอบใหม่\r
@บัตรคนจนลงทะเบียน\r
@บัตรคนจนลงทะเบียนวันไหน\r
บัตรคนจน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ \r
บัตรคนจนล่าสุด\r
บัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด\r
ข่าวบัตรคนจน ข่าวบัตรคนจนล่าสุด\r
ข่าวบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ข่าวบัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด

ขึ้นค่าแรงขั้นต่ำให้ปีใหม่ ค่าแรงขั้นต่ำปรับแบบค่อยเป็นค่อยไป  จังหวัดไหนเยอะสุดมาดูกัน

ช่วย 99 คนไทยถูกใช้แรงงานทาสกัมพูชา ร่วมแก๊งออนไลน์ ให้โทรมาหลอกคนไทยอีกที


ภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาช่วงบ่ายวันที่ 17 พ.ย. เป็นคลิปเหตุการณ์ขณะที่กลุ่มผู้ชายคนไทย กำลังพยายามพังประตูเหล็กออกไปด้านนอกตัวอาคาร หลังหนึ่ง ไม่ห่างจากโรงพยาบาลกรุงพนมเปญ
หลังจากศูนย์พิทักษ์เด็ก สตรี ครอบครัว ป้องกันปราบปรามการค้ามนุษย์และภาคประมง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประสานพลตำรวจเอกวัน วีระ รองผู้บัญชาการตำรวจกัมพูชา เร่งช่วยเหลือคนไทยที่ถูกนายทุนชาวจีน บังคับทำงานออนไลน์วันหนึ่งไม่ต่ำกว่า 20 ชั่วโมง โดยเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือคนไทยออกมาได้ทั้งหมด 99 คน
หนึ่งในคนไทยที่ถูกหลอกทำงาน ให้ข้อมูลว่า ลักลอบข้ามแดนทางด้านอำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว ก่อนจะขึ้นรถตู้ทึบไปกรุงพนมเปญ เมื่อไปถึงจุดนัดพบ คนไทยทั้งหมดจะถูกคุมขังภายในตึกแห่งหนึ่ง ไม่ให้เห็นแสงเดือนแสงตะวัน จะมีกลุ่มคนจีนหลายสิบคน คอยควบคุมคนไทยไม่ให้ออกไปไหน
ขณะที่ลักษณะการทำงานของกลุ่มนายทุนชาวจีนกลุ่มนี้ จะเป็นเว็บที่ชักชวนคนไทย ให้เติมเงินลงไปในแอปพลิเคชั่น จะได้รับผลตอบแทนสูงในระยะเวลาสั้นๆ ซึ่งคนไทยคนหนึ่ง จะต้องทำยอดให้ได้ 1 ถึง 2 ล้านบาทต่อเดือนต่อคน หากใครทำยอดไม่ถึงเป้า จะถูกผู้คุมทุบตี ช็อตไฟฟ้า หรือวิธีการทรมานต่างๆนาๆ เพื่อให้คนไทยเกิดความหวาดกลัว โดยกลุ่มผู้คุมชาวจีนจะพกอาวุธปืนกันเกือบทุกคน
โดยแหล่งข่าวคนเดิมยังบอกอีกว่า ทำงานมา 4 เดือนกว่า ได้เงินเพียงแค่ 2 เดือนแรกเท่านั้น และลักษณะการทำงานไม่เหมือนกับการขายฝันตามที่โฆษณาชวนเชื่อ เมื่อถูกทำร้าย ทรมานมากขึ้น จึงได้พยายามขอความช่วยเหลือไปยังสถานทูตไทยในกัมพูชา
แต่กลับทุกกลุ่มนายทุนชาวจีนรู้ตัวคนที่ขอความช่วยเหลือไปเกือบทั้งหมด ผู้ชายจะถูกทุบตี ทารุณและทรมานหลากหลายรูปแบบ บางคนถูกอุ้มหายไปเลยจนกระทั่งตอนนี้ ส่วนผู้หญิง มีหลายคนถูกขายต่อไปยังนายทุนชาวจีน กลุ่มอื่น
กระทั่งล่าสุด ตัดสินใจขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ทางฝั่งไทย จนได้รับการช่วยเหลือออกมาได้ และยังมีคนไทยที่ถูกหลอกทำงานในลักษณะเดียวกันที่ยังรอความช่วยเหลืออีกเกือบ 300 คน ที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน
ขณะที่ เจ้าหน้าที่ประสานงานชายแดนไทยกัมพูชา หรือ สน.ปทก เปิดเผยว่า หลังจากฝ่ายกัมพูชาช่วยเหลือคนไทยออกมาได้แล้ว จะต้องจัดทำบันทึกประวัติคนไทยทุกคน ก่อนจะประสานผ่านสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองของไทย ในการพาข้ามแดนกลับไทยทางด่านคลองลึก จังหวัดสระแก้ว และจะต้องเข้าสู่กระบวนการกักตัว 14 วันในอำเภออรัญประเทศ ซึ่งในขณะนี้ทาง สน.ปทก.กำลังรอการประสานมาจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกัมพูชา

อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : https://ch3plus.com/news/program/266517

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News)
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารก่อนใครได้ที่นี่
ch3plus : https://ch3plus.com/news/programs/morning
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
YouTube : https://cutt.ly/MorningnewsTV3

ช่วย 99 คนไทยถูกใช้แรงงานทาสกัมพูชา ร่วมแก๊งออนไลน์ ให้โทรมาหลอกคนไทยอีกที

ค่าจ้างขั้นต่ำ ปี2563


อ้างอิงจาก ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าข้างขั้นต่ำ (ฉบับที่ 10)
บท/บรรยาย:ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง PURE Studio

ค่าจ้างขั้นต่ำ ปี2563

ไทยลุ้นขึ้นค่าแรงขั้นต่ำตาม “สหรัฐฯ-จีน” I BUSINESS WATCH I 02-05-2564


แรงงานยุคโควิด งานหนัก เงินน้อย หนี้พุ่งสูง หนีตายจากเมืองกรุงกลับบ้านเกิด ลูกจ้างยังลุ้นขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ หลังจีนสหรัฐฯ นำร่องขึ้นสวนทางเศรษฐกิจ
แรงงาน ค่าแรงขั้นต่ำ
พบกับรายการ BUSINESS WATCH จับกระแสธุรกิจ ทุกวันจันทร์ ศุกร์ เวลา 21.15 22.00 น.
และวันอาทิตย์ เวลา 21.00 22.00 น. ทาง TNN ช่อง 16
BUSINESSWATCH TNNช่อง16 TNNONLINE TNNLIVE TNN16
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
website: www.TNNTHAILAND.com
facebook : TNNONLINE
facebook live : TNN Live
twitter : TNNONLINE
Line : @TNNONLINE
Youtube Official : TNNONLINE
Instagram : TNN_ONLINE
TIKTOK : @TNNONLINE
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

ไทยลุ้นขึ้นค่าแรงขั้นต่ำตาม “สหรัฐฯ-จีน” I BUSINESS WATCH I 02-05-2564

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ํา

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *