Skip to content
Home » [NEW] อยากย้ายประเทศฟังทางนี้! มีเงินเก็บอย่างต่ำ 3 แสน หาผัว-หาเมียฝรั่ง ง่ายสุดขอทุนเรียนต่อแล้วหางานทำ | อยาก ไป ทํา งาน ต่าง ประเทศ ต้อง ทํา ยัง ไง – NATAVIGUIDES

[NEW] อยากย้ายประเทศฟังทางนี้! มีเงินเก็บอย่างต่ำ 3 แสน หาผัว-หาเมียฝรั่ง ง่ายสุดขอทุนเรียนต่อแล้วหางานทำ | อยาก ไป ทํา งาน ต่าง ประเทศ ต้อง ทํา ยัง ไง – NATAVIGUIDES

อยาก ไป ทํา งาน ต่าง ประเทศ ต้อง ทํา ยัง ไง: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

คนแชร์กว่า 6 หมื่น สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ สำหรับคนที่ไม่อยากอยู่เมืองไทย สาระสำคัญคือ มีเงินเก็บในธนาคารอย่างต่ำ 3 แสนบาทต่อคน ไปหาวิธีหาสามีหรือภรรยาฝรั่ง แต่ง่ายที่สุดคือ ขอทุนไปเรียนต่อแล้วหางานทำ ถึงที่แล้วหางานทำอย่างด่วน ห้ามชอปปิ้งเด็ดขาด เหงาก็โทร.หาเพื่อน โทร.หาที่บ้าน ออกไปเดินถ่ายรูปเล่น หรือชวนคนแปลกหน้าคุย

วันนี้ (23 พ.ย.) ในเฟซบุ๊กได้มีผู้คนแชร์ข้อความจากผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง ระบุหัวข้อว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ” ซึ่งโพสต์ไว้เมื่อวันที่ 17 ต.ค. ที่ผ่านมา ปรากฏว่า ถึงวันนี้มีคนแชร์มากกว่า 6.4 หมื่นครั้ง ระบุว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ

1. มีเงินเก็บในธนาคารอย่างต่ำ 3 แสนบาท*ต่อคน*

เงินจำนวนนี้ห้ามใช้จ่ายเด็ดขาด มีไว้เพื่อโชว์ใน Bank Statement เวลาที่ยื่นขอวีซ่า และทางที่ดีควรเป็นบัญชีออมทรัพย์ที่มีการเคลื่อนไหวอย่างสม่ำเสมอ แต่ถ้าเป็นฝากประจำก็ไม่เป็นไร แค่ต้องแนบบัญชีออมทรัพย์ไปด้วย

2. ไปหาวิธีว่าจะไปต่างประเทศได้อย่างไร

– หาสามี/ภรรยาฝรั่ง
– (ขอทุน) ไปเรียนต่อแล้วหางานทำ*วิธีนี้ง่ายสุด
– หางานในต่างประเทศ/ย้ายตำแหน่งจากภายในองค์กร
– ยื่น migration program (แคนาดา/ออสเตรเลีย)
– US Green Card

3. เงินตั้งตัว
ต้องมีเงินใช้ที่เมืองนอกอย่างต่ำสองเดือนระหว่างที่กำลังหางานทำ สบายๆ ต้องมีอย่างน้อยๆ สัก 50,000-100,000 บาท เงินจำนวนนี้เป็นค่าอาหารและของใช้ ค่าเช่าบ้าน ค่ารถเมล์ ค่าซิมโทรศัพท์และค่าดำเนินการเอกสารจิปาถะ *ห้ามชอปปิ้งเด็ดขาด

จะไปหาเงินนี้จากที่ไหน : ทำงานเก็บเงินเอง/กู้ยืม/ทุนเรียนต่อ (เรื่องทุนไว้ว่ากันวันหลัง)

ถ้ามีน้อยกว่า 50,000 บาท จะเครียดมาก จะได้กินแต่ผักและขนมปัง ยิ่งแถบสแกนดิเนเวียค่าครองชีพสูงยิ่งต้องมีมาก นั่งรถไฟชั่วโมงเดียวเที่ยวละ 500 บาท นั่งรถเมล์สิบนาที 50 บาท ใช้เงินเหมือนถลุงเงิน

4. ถึงที่แล้วหางานทำอย่างด่วน

งานบริการ
– ถึงที่แล้วเปิดแมปดูเลยว่าร้านอาหาร/ร้านขายของ มีกี่ที่ในเมือง แล้วเดินไปเคาะประตูทีละร้าน ถ้าร้านปิดอยู่ลองเคาะๆ ดู เดี๋ยวก็มีคนมาเปิดประตู วิธีนี้เขาจะชอบมากกว่าส่งอีเมล เพราะได้สัมผัสตัวจริงของเรา
– วันที่ไปถึงแต่งหน้าแต่งตัวดีๆ เล็บมือต้องสะอาด พอไปถึงร้านแล้วให้ขอคุยกับ “ผู้จัดการร้าน” กับคนอื่นไม่ต้องคุยมาก
– Hej! Can I speak to the restaurant manager? I have arrived here a week ago and was wondering if there is any vacancies here?
– แล้วเขาจะถามว่าเคยทำอะไรมาก่อน ก็บอกไปตามตรงสั้นๆ ถ้าที่ทำมาไม่เกี่ยวกับร้านอาหารก็บอกไปว่า I want to learn new things and start over in a different industry.
– ถ้าเขาบอกว่าไม่มีงาน ให้จบด้วยการขอคำแนะนำจากเขา (Ok, one last question, do you have any advice for me looking for jobs here?) แล้วขอบคุณงามๆ บางทีถ้าเขาประทับใจเราเขาจะขอคอนแทกต์เราเก็บไว้
– เตรียม CV หน้าเดียวพอ เขียนให้เข้าทางอาชีพบริการ แล้วพิมพ์ออกมาสักห้าฉบับ ถ้าเขาขอแบบกระดาษก็หยิบให้เขา ถ้าเขาขอเป็นอีเมลก็ส่งให้เขาทางอีเมล

งานบริษัท
– ต้องหา local platform ให้เจอว่าเขาใช้อะไร (JobDB, JobTopGun ของประเทศนั้นๆ) ถ้าหาออนไลน์ไม่เจอ ก็ลองถามจากพนักงานเสิร์ฟที่วัยรุ่นๆ หน่อยก็ได้ ถ้าเพิ่งเริ่มงานอย่าไปหาจาก LinkedIn มันชั้นสูงมาก เดี๋ยวจะหมดกำลังใจเอา
– เข้ากรุ๊ปเฟซบุ๊ก เช่น English Jobs in Sweden
– บางทีเขาจะมีโปรแกรมฝึกงานสำหรับชาวต่างชาติ เข้าโปรแกรมนี้เสร็จจะได้ placement ในบริษัทเลย
– ทำมากกว่าที่เขาขอหนึ่งสเต็ปเสมอ เช่น ถ้าเขาขอแค่ CV ให้ส่ง CV+Cover letter กรอกแบบฟอร์มให้หมดทุกช่องแม้ช่องนั้นจะมีคำว่า optional เราต้องทำมากกว่าเขาเพื่อพิสูจน์ตัวเองเสมอ การเป็นชาวต่างชาติที่ทำงานในเมืองนอก คือ เราต้องเทียบเท่าหรือเก่งกว่าคนของเขา
– ขาดสกิลอะไรไปเรียนออนไลน์ แล้วหาทางเก็บพอร์ต ทุกสกิลที่เขียนในเรซูเม่ต้องมีพอร์ตรองรับ
– สายคอนเทนต์เปิดไอจีทำพอร์ตรัวๆ ไอจีเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ง่ายและอินเตอร์สุด สกิลที่นำไปขายได้นั้น ได้แก่ Graphic designing/Photography, Copywriting, SMM, Social Media Marketing ฯลฯ แล้วแต่เราจะนึกออกเลย follower น้อยไม่เป็นไร ลองทำของใหม่ไปเรื่อยๆ เอาเป็นว่าให้มันมีของออกมาเยอะๆ มีที่เก็บเป็นที่เป็นทางก็พอ
– เวลาสมัครงานให้ทำ CV tracker ไว้ด้วย เป็นไฟล์ Excel เพื่อให้เรารู้เองว่าเราสมัครไปกี่ที่ ที่ไหนบ้าง
– สมัครงานไปเรื่อยๆ ให้เป็นกิจวัตรประจำวัน ไม่ได้ไม่ต้องเสียใจนาน คิดเสียว่าโลกจะมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้เราเสมอ

5. ภาษา
– สอบให้ผ่านขั้นต่ำที่จะมาที่นี่ เช่น ถ้าเขาขอ IELTS 7.0 ก็ทำให้ถึงเป้าพอ เดี๋ยวมาถึงที่นี่จะเก่งกว่านี้ได้เองตามธรรมชาติ
– ภาษาเป็นสิ่งที่ไม่มีเพดาน ณ จุดหนึ่งความเก่ง คือ เอาตัวรอดได้ ยากขึ้นมาหน่อยคือคุยกับเขาในบทสนทนาได้
– แต่ถ้าพูดถึงระดับที่ทำงานบริษัทได้ เราคิดว่าอย่างน้อยต้องแก้เอสให้ตัวเองได้ และเข้าใจความแตกต่างระหว่างสารที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ

6. เตรียมตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมต่างชาติ
– ดูหนังฟังเพลงฝรั่ง สังเกตว่าเขาทำตัวกันอย่างไร เช่น เวลากินข้าวจับช้อนส้อม สำนวนภาษา การแต่งกาย ฯลฯ หาให้เจอว่าเขาต่างจากเราอย่างไร เป็นการฝึกความเข้าใจทางวัฒนธรรมรูปแบบหนึ่ง
– หาโอกาสเข้าสังคมกับเพื่อนต่างชาติ
– “ด้านได้ อายอด” อย่าเขินอายในสิ่งที่ดีงาม
– เป็นคนชอบถามและกล้าแสดงออก ต่อรองให้เป็นและทันคน มี resilience สูงๆ เข้าไว้ เฟลแล้วฟื้นตัวให้ไว
– คนต่างชาติจะไม่มีวันเข้าใจความเกรงใจของคนไทย เราจะรู้สึกเหมือนว่าเขาไม่แคร์เราเลย ในสังคมเมืองนอก ถ้าอยากได้อะไรเราต่างหากที่ต้องเป็นคนพูด ถ้าไม่พูดก็แสดงว่าที่เป็นอยู่นี้โอเคแล้ว

มาอยู่เมืองนอกไม่น่ากลัวอย่างที่คิด เหงาก็โทร.หาเพื่อน โทร.หาที่บ้าน ออกไปเดินถ่ายรูปเล่น หรือชวนคนแปลกหน้าคุย

ช่วงแรกๆ ลำบากสุดเลย เพราะไม่ชินกับการอยู่คนเดียว แต่พอชินแล้วจะเริ่มชิล เห็นเลขเงินแล้วจะเริ่มมีกำลังใจในการอยู่ต่อ เริ่มมีเป้าหมายและสนุกกับชีวิตมากขึ้น

เรื่องทำเอกสารราชการบอกได้เลยว่ายุ่งยากทุกประเทศ หน่วยงานราชการพูดไม่ตรงกันบ้างแม้จะเป็นสวีเดนก็ตาม และชีวิตจะยังคงมีปัญหาจุกจิกกวนใจอีกร้อยแปดพันประการ ทั้งเป็นปัญหาที่มาจากคนอื่น จากระบบหรือจากตัวเราเอง บางทีเราก็ทำดีที่สุดได้แค่นี้ สวีเดนก็สวีเดนเถอะ ทุกที่บนโลกก็มีความไม่สมบูรณ์แบบในแบบของมัน เรารับอย่างไหนได้มากกว่ากันล่ะ

แต่ทุกครั้งที่เจอปัญหาขอให้คิดว่าออกไปได้ก็ดีแค่ไหนแล้ว ชีวิตที่ไทยเราเคยลำบากกว่านี้อีก บ่นเสร็จก็ไปทำอย่างอื่นต่อ

จะไปคือไป ลงมือจัดการทำเอกสาร ไม่ต้องอธิบายตัวเองให้ใครฟังทั้งนั้นเพราะจะทำให้ไขว้เขว อยากรู้อะไรมาคุยกับเราหรือคุยกับคนที่เขาออกไปได้แล้ว ถ้าไม่แน่ใจก็ลองออกมาอยู่ก่อนไม่ชอบก็กลับบ้าน

ถ้าไม่รู้ว่าจะต้องทำยังไงก็ออกมาให้ได้ก่อน
แล้วชีวิตจะมีทางไปของมันเอง…”

อ่านโพสต์ต้นฉบับ คลิกที่นี่

วันนี้ (23 พ.ย.) ในเฟซบุ๊กได้มีผู้คนแชร์ข้อความจากผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง ระบุหัวข้อว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ” ซึ่งโพสต์ไว้เมื่อวันที่ 17 ต.ค. ที่ผ่านมา ปรากฏว่า ถึงวันนี้มีคนแชร์มากกว่า 6.4 หมื่นครั้ง ระบุว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ1. มีเงินเก็บในธนาคารอย่างต่ำ 3 แสนบาท*ต่อคน*เงินจำนวนนี้ห้ามใช้จ่ายเด็ดขาด มีไว้เพื่อโชว์ใน Bank Statement เวลาที่ยื่นขอวีซ่า และทางที่ดีควรเป็นบัญชีออมทรัพย์ที่มีการเคลื่อนไหวอย่างสม่ำเสมอ แต่ถ้าเป็นฝากประจำก็ไม่เป็นไร แค่ต้องแนบบัญชีออมทรัพย์ไปด้วย2. ไปหาวิธีว่าจะไปต่างประเทศได้อย่างไร- หาสามี/ภรรยาฝรั่ง- (ขอทุน) ไปเรียนต่อแล้วหางานทำ*วิธีนี้ง่ายสุด- หางานในต่างประเทศ/ย้ายตำแหน่งจากภายในองค์กร- ยื่น migration program (แคนาดา/ออสเตรเลีย)- US Green Card3. เงินตั้งตัวต้องมีเงินใช้ที่เมืองนอกอย่างต่ำสองเดือนระหว่างที่กำลังหางานทำ สบายๆ ต้องมีอย่างน้อยๆ สัก 50,000-100,000 บาท เงินจำนวนนี้เป็นค่าอาหารและของใช้ ค่าเช่าบ้าน ค่ารถเมล์ ค่าซิมโทรศัพท์และค่าดำเนินการเอกสารจิปาถะ *ห้ามชอปปิ้งเด็ดขาดจะไปหาเงินนี้จากที่ไหน : ทำงานเก็บเงินเอง/กู้ยืม/ทุนเรียนต่อ (เรื่องทุนไว้ว่ากันวันหลัง)ถ้ามีน้อยกว่า 50,000 บาท จะเครียดมาก จะได้กินแต่ผักและขนมปัง ยิ่งแถบสแกนดิเนเวียค่าครองชีพสูงยิ่งต้องมีมาก นั่งรถไฟชั่วโมงเดียวเที่ยวละ 500 บาท นั่งรถเมล์สิบนาที 50 บาท ใช้เงินเหมือนถลุงเงิน4. ถึงที่แล้วหางานทำอย่างด่วนงานบริการ- ถึงที่แล้วเปิดแมปดูเลยว่าร้านอาหาร/ร้านขายของ มีกี่ที่ในเมือง แล้วเดินไปเคาะประตูทีละร้าน ถ้าร้านปิดอยู่ลองเคาะๆ ดู เดี๋ยวก็มีคนมาเปิดประตู วิธีนี้เขาจะชอบมากกว่าส่งอีเมล เพราะได้สัมผัสตัวจริงของเรา- วันที่ไปถึงแต่งหน้าแต่งตัวดีๆ เล็บมือต้องสะอาด พอไปถึงร้านแล้วให้ขอคุยกับ “ผู้จัดการร้าน” กับคนอื่นไม่ต้องคุยมาก- Hej! Can I speak to the restaurant manager? I have arrived here a week ago and was wondering if there is any vacancies here?- แล้วเขาจะถามว่าเคยทำอะไรมาก่อน ก็บอกไปตามตรงสั้นๆ ถ้าที่ทำมาไม่เกี่ยวกับร้านอาหารก็บอกไปว่า I want to learn new things and start over in a different industry.- ถ้าเขาบอกว่าไม่มีงาน ให้จบด้วยการขอคำแนะนำจากเขา (Ok, one last question, do you have any advice for me looking for jobs here?) แล้วขอบคุณงามๆ บางทีถ้าเขาประทับใจเราเขาจะขอคอนแทกต์เราเก็บไว้- เตรียม CV หน้าเดียวพอ เขียนให้เข้าทางอาชีพบริการ แล้วพิมพ์ออกมาสักห้าฉบับ ถ้าเขาขอแบบกระดาษก็หยิบให้เขา ถ้าเขาขอเป็นอีเมลก็ส่งให้เขาทางอีเมลงานบริษัท- ต้องหา local platform ให้เจอว่าเขาใช้อะไร (JobDB, JobTopGun ของประเทศนั้นๆ) ถ้าหาออนไลน์ไม่เจอ ก็ลองถามจากพนักงานเสิร์ฟที่วัยรุ่นๆ หน่อยก็ได้ ถ้าเพิ่งเริ่มงานอย่าไปหาจาก LinkedIn มันชั้นสูงมาก เดี๋ยวจะหมดกำลังใจเอา- เข้ากรุ๊ปเฟซบุ๊ก เช่น English Jobs in Sweden- บางทีเขาจะมีโปรแกรมฝึกงานสำหรับชาวต่างชาติ เข้าโปรแกรมนี้เสร็จจะได้ placement ในบริษัทเลย- ทำมากกว่าที่เขาขอหนึ่งสเต็ปเสมอ เช่น ถ้าเขาขอแค่ CV ให้ส่ง CV+Cover letter กรอกแบบฟอร์มให้หมดทุกช่องแม้ช่องนั้นจะมีคำว่า optional เราต้องทำมากกว่าเขาเพื่อพิสูจน์ตัวเองเสมอ การเป็นชาวต่างชาติที่ทำงานในเมืองนอก คือ เราต้องเทียบเท่าหรือเก่งกว่าคนของเขา- ขาดสกิลอะไรไปเรียนออนไลน์ แล้วหาทางเก็บพอร์ต ทุกสกิลที่เขียนในเรซูเม่ต้องมีพอร์ตรองรับ- สายคอนเทนต์เปิดไอจีทำพอร์ตรัวๆ ไอจีเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ง่ายและอินเตอร์สุด สกิลที่นำไปขายได้นั้น ได้แก่ Graphic designing/Photography, Copywriting, SMM, Social Media Marketing ฯลฯ แล้วแต่เราจะนึกออกเลย follower น้อยไม่เป็นไร ลองทำของใหม่ไปเรื่อยๆ เอาเป็นว่าให้มันมีของออกมาเยอะๆ มีที่เก็บเป็นที่เป็นทางก็พอ- เวลาสมัครงานให้ทำ CV tracker ไว้ด้วย เป็นไฟล์ Excel เพื่อให้เรารู้เองว่าเราสมัครไปกี่ที่ ที่ไหนบ้าง- สมัครงานไปเรื่อยๆ ให้เป็นกิจวัตรประจำวัน ไม่ได้ไม่ต้องเสียใจนาน คิดเสียว่าโลกจะมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้เราเสมอ5. ภาษา- สอบให้ผ่านขั้นต่ำที่จะมาที่นี่ เช่น ถ้าเขาขอ IELTS 7.0 ก็ทำให้ถึงเป้าพอ เดี๋ยวมาถึงที่นี่จะเก่งกว่านี้ได้เองตามธรรมชาติ- ภาษาเป็นสิ่งที่ไม่มีเพดาน ณ จุดหนึ่งความเก่ง คือ เอาตัวรอดได้ ยากขึ้นมาหน่อยคือคุยกับเขาในบทสนทนาได้- แต่ถ้าพูดถึงระดับที่ทำงานบริษัทได้ เราคิดว่าอย่างน้อยต้องแก้เอสให้ตัวเองได้ และเข้าใจความแตกต่างระหว่างสารที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ6. เตรียมตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมต่างชาติ- ดูหนังฟังเพลงฝรั่ง สังเกตว่าเขาทำตัวกันอย่างไร เช่น เวลากินข้าวจับช้อนส้อม สำนวนภาษา การแต่งกาย ฯลฯ หาให้เจอว่าเขาต่างจากเราอย่างไร เป็นการฝึกความเข้าใจทางวัฒนธรรมรูปแบบหนึ่ง- หาโอกาสเข้าสังคมกับเพื่อนต่างชาติ- “ด้านได้ อายอด” อย่าเขินอายในสิ่งที่ดีงาม- เป็นคนชอบถามและกล้าแสดงออก ต่อรองให้เป็นและทันคน มี resilience สูงๆ เข้าไว้ เฟลแล้วฟื้นตัวให้ไว- คนต่างชาติจะไม่มีวันเข้าใจความเกรงใจของคนไทย เราจะรู้สึกเหมือนว่าเขาไม่แคร์เราเลย ในสังคมเมืองนอก ถ้าอยากได้อะไรเราต่างหากที่ต้องเป็นคนพูด ถ้าไม่พูดก็แสดงว่าที่เป็นอยู่นี้โอเคแล้วมาอยู่เมืองนอกไม่น่ากลัวอย่างที่คิด เหงาก็โทร.หาเพื่อน โทร.หาที่บ้าน ออกไปเดินถ่ายรูปเล่น หรือชวนคนแปลกหน้าคุยช่วงแรกๆ ลำบากสุดเลย เพราะไม่ชินกับการอยู่คนเดียว แต่พอชินแล้วจะเริ่มชิล เห็นเลขเงินแล้วจะเริ่มมีกำลังใจในการอยู่ต่อ เริ่มมีเป้าหมายและสนุกกับชีวิตมากขึ้นเรื่องทำเอกสารราชการบอกได้เลยว่ายุ่งยากทุกประเทศ หน่วยงานราชการพูดไม่ตรงกันบ้างแม้จะเป็นสวีเดนก็ตาม และชีวิตจะยังคงมีปัญหาจุกจิกกวนใจอีกร้อยแปดพันประการ ทั้งเป็นปัญหาที่มาจากคนอื่น จากระบบหรือจากตัวเราเอง บางทีเราก็ทำดีที่สุดได้แค่นี้ สวีเดนก็สวีเดนเถอะ ทุกที่บนโลกก็มีความไม่สมบูรณ์แบบในแบบของมัน เรารับอย่างไหนได้มากกว่ากันล่ะแต่ทุกครั้งที่เจอปัญหาขอให้คิดว่าออกไปได้ก็ดีแค่ไหนแล้ว ชีวิตที่ไทยเราเคยลำบากกว่านี้อีก บ่นเสร็จก็ไปทำอย่างอื่นต่อจะไปคือไป ลงมือจัดการทำเอกสาร ไม่ต้องอธิบายตัวเองให้ใครฟังทั้งนั้นเพราะจะทำให้ไขว้เขว อยากรู้อะไรมาคุยกับเราหรือคุยกับคนที่เขาออกไปได้แล้ว ถ้าไม่แน่ใจก็ลองออกมาอยู่ก่อนไม่ชอบก็กลับบ้านถ้าไม่รู้ว่าจะต้องทำยังไงก็ออกมาให้ได้ก่อนแล้วชีวิตจะมีทางไปของมันเอง…”

[NEW] อยากย้ายประเทศฟังทางนี้! มีเงินเก็บอย่างต่ำ 3 แสน หาผัว-หาเมียฝรั่ง ง่ายสุดขอทุนเรียนต่อแล้วหางานทำ | อยาก ไป ทํา งาน ต่าง ประเทศ ต้อง ทํา ยัง ไง – NATAVIGUIDES

คนแชร์กว่า 6 หมื่น สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ สำหรับคนที่ไม่อยากอยู่เมืองไทย สาระสำคัญคือ มีเงินเก็บในธนาคารอย่างต่ำ 3 แสนบาทต่อคน ไปหาวิธีหาสามีหรือภรรยาฝรั่ง แต่ง่ายที่สุดคือ ขอทุนไปเรียนต่อแล้วหางานทำ ถึงที่แล้วหางานทำอย่างด่วน ห้ามชอปปิ้งเด็ดขาด เหงาก็โทร.หาเพื่อน โทร.หาที่บ้าน ออกไปเดินถ่ายรูปเล่น หรือชวนคนแปลกหน้าคุย

วันนี้ (23 พ.ย.) ในเฟซบุ๊กได้มีผู้คนแชร์ข้อความจากผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง ระบุหัวข้อว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ” ซึ่งโพสต์ไว้เมื่อวันที่ 17 ต.ค. ที่ผ่านมา ปรากฏว่า ถึงวันนี้มีคนแชร์มากกว่า 6.4 หมื่นครั้ง ระบุว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ

1. มีเงินเก็บในธนาคารอย่างต่ำ 3 แสนบาท*ต่อคน*

เงินจำนวนนี้ห้ามใช้จ่ายเด็ดขาด มีไว้เพื่อโชว์ใน Bank Statement เวลาที่ยื่นขอวีซ่า และทางที่ดีควรเป็นบัญชีออมทรัพย์ที่มีการเคลื่อนไหวอย่างสม่ำเสมอ แต่ถ้าเป็นฝากประจำก็ไม่เป็นไร แค่ต้องแนบบัญชีออมทรัพย์ไปด้วย

2. ไปหาวิธีว่าจะไปต่างประเทศได้อย่างไร

– หาสามี/ภรรยาฝรั่ง
– (ขอทุน) ไปเรียนต่อแล้วหางานทำ*วิธีนี้ง่ายสุด
– หางานในต่างประเทศ/ย้ายตำแหน่งจากภายในองค์กร
– ยื่น migration program (แคนาดา/ออสเตรเลีย)
– US Green Card

3. เงินตั้งตัว
ต้องมีเงินใช้ที่เมืองนอกอย่างต่ำสองเดือนระหว่างที่กำลังหางานทำ สบายๆ ต้องมีอย่างน้อยๆ สัก 50,000-100,000 บาท เงินจำนวนนี้เป็นค่าอาหารและของใช้ ค่าเช่าบ้าน ค่ารถเมล์ ค่าซิมโทรศัพท์และค่าดำเนินการเอกสารจิปาถะ *ห้ามชอปปิ้งเด็ดขาด

จะไปหาเงินนี้จากที่ไหน : ทำงานเก็บเงินเอง/กู้ยืม/ทุนเรียนต่อ (เรื่องทุนไว้ว่ากันวันหลัง)

ถ้ามีน้อยกว่า 50,000 บาท จะเครียดมาก จะได้กินแต่ผักและขนมปัง ยิ่งแถบสแกนดิเนเวียค่าครองชีพสูงยิ่งต้องมีมาก นั่งรถไฟชั่วโมงเดียวเที่ยวละ 500 บาท นั่งรถเมล์สิบนาที 50 บาท ใช้เงินเหมือนถลุงเงิน

4. ถึงที่แล้วหางานทำอย่างด่วน

งานบริการ
– ถึงที่แล้วเปิดแมปดูเลยว่าร้านอาหาร/ร้านขายของ มีกี่ที่ในเมือง แล้วเดินไปเคาะประตูทีละร้าน ถ้าร้านปิดอยู่ลองเคาะๆ ดู เดี๋ยวก็มีคนมาเปิดประตู วิธีนี้เขาจะชอบมากกว่าส่งอีเมล เพราะได้สัมผัสตัวจริงของเรา
– วันที่ไปถึงแต่งหน้าแต่งตัวดีๆ เล็บมือต้องสะอาด พอไปถึงร้านแล้วให้ขอคุยกับ “ผู้จัดการร้าน” กับคนอื่นไม่ต้องคุยมาก
– Hej! Can I speak to the restaurant manager? I have arrived here a week ago and was wondering if there is any vacancies here?
– แล้วเขาจะถามว่าเคยทำอะไรมาก่อน ก็บอกไปตามตรงสั้นๆ ถ้าที่ทำมาไม่เกี่ยวกับร้านอาหารก็บอกไปว่า I want to learn new things and start over in a different industry.
– ถ้าเขาบอกว่าไม่มีงาน ให้จบด้วยการขอคำแนะนำจากเขา (Ok, one last question, do you have any advice for me looking for jobs here?) แล้วขอบคุณงามๆ บางทีถ้าเขาประทับใจเราเขาจะขอคอนแทกต์เราเก็บไว้
– เตรียม CV หน้าเดียวพอ เขียนให้เข้าทางอาชีพบริการ แล้วพิมพ์ออกมาสักห้าฉบับ ถ้าเขาขอแบบกระดาษก็หยิบให้เขา ถ้าเขาขอเป็นอีเมลก็ส่งให้เขาทางอีเมล

งานบริษัท
– ต้องหา local platform ให้เจอว่าเขาใช้อะไร (JobDB, JobTopGun ของประเทศนั้นๆ) ถ้าหาออนไลน์ไม่เจอ ก็ลองถามจากพนักงานเสิร์ฟที่วัยรุ่นๆ หน่อยก็ได้ ถ้าเพิ่งเริ่มงานอย่าไปหาจาก LinkedIn มันชั้นสูงมาก เดี๋ยวจะหมดกำลังใจเอา
– เข้ากรุ๊ปเฟซบุ๊ก เช่น English Jobs in Sweden
– บางทีเขาจะมีโปรแกรมฝึกงานสำหรับชาวต่างชาติ เข้าโปรแกรมนี้เสร็จจะได้ placement ในบริษัทเลย
– ทำมากกว่าที่เขาขอหนึ่งสเต็ปเสมอ เช่น ถ้าเขาขอแค่ CV ให้ส่ง CV+Cover letter กรอกแบบฟอร์มให้หมดทุกช่องแม้ช่องนั้นจะมีคำว่า optional เราต้องทำมากกว่าเขาเพื่อพิสูจน์ตัวเองเสมอ การเป็นชาวต่างชาติที่ทำงานในเมืองนอก คือ เราต้องเทียบเท่าหรือเก่งกว่าคนของเขา
– ขาดสกิลอะไรไปเรียนออนไลน์ แล้วหาทางเก็บพอร์ต ทุกสกิลที่เขียนในเรซูเม่ต้องมีพอร์ตรองรับ
– สายคอนเทนต์เปิดไอจีทำพอร์ตรัวๆ ไอจีเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ง่ายและอินเตอร์สุด สกิลที่นำไปขายได้นั้น ได้แก่ Graphic designing/Photography, Copywriting, SMM, Social Media Marketing ฯลฯ แล้วแต่เราจะนึกออกเลย follower น้อยไม่เป็นไร ลองทำของใหม่ไปเรื่อยๆ เอาเป็นว่าให้มันมีของออกมาเยอะๆ มีที่เก็บเป็นที่เป็นทางก็พอ
– เวลาสมัครงานให้ทำ CV tracker ไว้ด้วย เป็นไฟล์ Excel เพื่อให้เรารู้เองว่าเราสมัครไปกี่ที่ ที่ไหนบ้าง
– สมัครงานไปเรื่อยๆ ให้เป็นกิจวัตรประจำวัน ไม่ได้ไม่ต้องเสียใจนาน คิดเสียว่าโลกจะมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้เราเสมอ

5. ภาษา
– สอบให้ผ่านขั้นต่ำที่จะมาที่นี่ เช่น ถ้าเขาขอ IELTS 7.0 ก็ทำให้ถึงเป้าพอ เดี๋ยวมาถึงที่นี่จะเก่งกว่านี้ได้เองตามธรรมชาติ
– ภาษาเป็นสิ่งที่ไม่มีเพดาน ณ จุดหนึ่งความเก่ง คือ เอาตัวรอดได้ ยากขึ้นมาหน่อยคือคุยกับเขาในบทสนทนาได้
– แต่ถ้าพูดถึงระดับที่ทำงานบริษัทได้ เราคิดว่าอย่างน้อยต้องแก้เอสให้ตัวเองได้ และเข้าใจความแตกต่างระหว่างสารที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ

6. เตรียมตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมต่างชาติ
– ดูหนังฟังเพลงฝรั่ง สังเกตว่าเขาทำตัวกันอย่างไร เช่น เวลากินข้าวจับช้อนส้อม สำนวนภาษา การแต่งกาย ฯลฯ หาให้เจอว่าเขาต่างจากเราอย่างไร เป็นการฝึกความเข้าใจทางวัฒนธรรมรูปแบบหนึ่ง
– หาโอกาสเข้าสังคมกับเพื่อนต่างชาติ
– “ด้านได้ อายอด” อย่าเขินอายในสิ่งที่ดีงาม
– เป็นคนชอบถามและกล้าแสดงออก ต่อรองให้เป็นและทันคน มี resilience สูงๆ เข้าไว้ เฟลแล้วฟื้นตัวให้ไว
– คนต่างชาติจะไม่มีวันเข้าใจความเกรงใจของคนไทย เราจะรู้สึกเหมือนว่าเขาไม่แคร์เราเลย ในสังคมเมืองนอก ถ้าอยากได้อะไรเราต่างหากที่ต้องเป็นคนพูด ถ้าไม่พูดก็แสดงว่าที่เป็นอยู่นี้โอเคแล้ว

มาอยู่เมืองนอกไม่น่ากลัวอย่างที่คิด เหงาก็โทร.หาเพื่อน โทร.หาที่บ้าน ออกไปเดินถ่ายรูปเล่น หรือชวนคนแปลกหน้าคุย

ช่วงแรกๆ ลำบากสุดเลย เพราะไม่ชินกับการอยู่คนเดียว แต่พอชินแล้วจะเริ่มชิล เห็นเลขเงินแล้วจะเริ่มมีกำลังใจในการอยู่ต่อ เริ่มมีเป้าหมายและสนุกกับชีวิตมากขึ้น

เรื่องทำเอกสารราชการบอกได้เลยว่ายุ่งยากทุกประเทศ หน่วยงานราชการพูดไม่ตรงกันบ้างแม้จะเป็นสวีเดนก็ตาม และชีวิตจะยังคงมีปัญหาจุกจิกกวนใจอีกร้อยแปดพันประการ ทั้งเป็นปัญหาที่มาจากคนอื่น จากระบบหรือจากตัวเราเอง บางทีเราก็ทำดีที่สุดได้แค่นี้ สวีเดนก็สวีเดนเถอะ ทุกที่บนโลกก็มีความไม่สมบูรณ์แบบในแบบของมัน เรารับอย่างไหนได้มากกว่ากันล่ะ

แต่ทุกครั้งที่เจอปัญหาขอให้คิดว่าออกไปได้ก็ดีแค่ไหนแล้ว ชีวิตที่ไทยเราเคยลำบากกว่านี้อีก บ่นเสร็จก็ไปทำอย่างอื่นต่อ

จะไปคือไป ลงมือจัดการทำเอกสาร ไม่ต้องอธิบายตัวเองให้ใครฟังทั้งนั้นเพราะจะทำให้ไขว้เขว อยากรู้อะไรมาคุยกับเราหรือคุยกับคนที่เขาออกไปได้แล้ว ถ้าไม่แน่ใจก็ลองออกมาอยู่ก่อนไม่ชอบก็กลับบ้าน

ถ้าไม่รู้ว่าจะต้องทำยังไงก็ออกมาให้ได้ก่อน
แล้วชีวิตจะมีทางไปของมันเอง…”

อ่านโพสต์ต้นฉบับ คลิกที่นี่

วันนี้ (23 พ.ย.) ในเฟซบุ๊กได้มีผู้คนแชร์ข้อความจากผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง ระบุหัวข้อว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ” ซึ่งโพสต์ไว้เมื่อวันที่ 17 ต.ค. ที่ผ่านมา ปรากฏว่า ถึงวันนี้มีคนแชร์มากกว่า 6.4 หมื่นครั้ง ระบุว่า “สรุปขั้นตอนการย้ายประเทศ1. มีเงินเก็บในธนาคารอย่างต่ำ 3 แสนบาท*ต่อคน*เงินจำนวนนี้ห้ามใช้จ่ายเด็ดขาด มีไว้เพื่อโชว์ใน Bank Statement เวลาที่ยื่นขอวีซ่า และทางที่ดีควรเป็นบัญชีออมทรัพย์ที่มีการเคลื่อนไหวอย่างสม่ำเสมอ แต่ถ้าเป็นฝากประจำก็ไม่เป็นไร แค่ต้องแนบบัญชีออมทรัพย์ไปด้วย2. ไปหาวิธีว่าจะไปต่างประเทศได้อย่างไร- หาสามี/ภรรยาฝรั่ง- (ขอทุน) ไปเรียนต่อแล้วหางานทำ*วิธีนี้ง่ายสุด- หางานในต่างประเทศ/ย้ายตำแหน่งจากภายในองค์กร- ยื่น migration program (แคนาดา/ออสเตรเลีย)- US Green Card3. เงินตั้งตัวต้องมีเงินใช้ที่เมืองนอกอย่างต่ำสองเดือนระหว่างที่กำลังหางานทำ สบายๆ ต้องมีอย่างน้อยๆ สัก 50,000-100,000 บาท เงินจำนวนนี้เป็นค่าอาหารและของใช้ ค่าเช่าบ้าน ค่ารถเมล์ ค่าซิมโทรศัพท์และค่าดำเนินการเอกสารจิปาถะ *ห้ามชอปปิ้งเด็ดขาดจะไปหาเงินนี้จากที่ไหน : ทำงานเก็บเงินเอง/กู้ยืม/ทุนเรียนต่อ (เรื่องทุนไว้ว่ากันวันหลัง)ถ้ามีน้อยกว่า 50,000 บาท จะเครียดมาก จะได้กินแต่ผักและขนมปัง ยิ่งแถบสแกนดิเนเวียค่าครองชีพสูงยิ่งต้องมีมาก นั่งรถไฟชั่วโมงเดียวเที่ยวละ 500 บาท นั่งรถเมล์สิบนาที 50 บาท ใช้เงินเหมือนถลุงเงิน4. ถึงที่แล้วหางานทำอย่างด่วนงานบริการ- ถึงที่แล้วเปิดแมปดูเลยว่าร้านอาหาร/ร้านขายของ มีกี่ที่ในเมือง แล้วเดินไปเคาะประตูทีละร้าน ถ้าร้านปิดอยู่ลองเคาะๆ ดู เดี๋ยวก็มีคนมาเปิดประตู วิธีนี้เขาจะชอบมากกว่าส่งอีเมล เพราะได้สัมผัสตัวจริงของเรา- วันที่ไปถึงแต่งหน้าแต่งตัวดีๆ เล็บมือต้องสะอาด พอไปถึงร้านแล้วให้ขอคุยกับ “ผู้จัดการร้าน” กับคนอื่นไม่ต้องคุยมาก- Hej! Can I speak to the restaurant manager? I have arrived here a week ago and was wondering if there is any vacancies here?- แล้วเขาจะถามว่าเคยทำอะไรมาก่อน ก็บอกไปตามตรงสั้นๆ ถ้าที่ทำมาไม่เกี่ยวกับร้านอาหารก็บอกไปว่า I want to learn new things and start over in a different industry.- ถ้าเขาบอกว่าไม่มีงาน ให้จบด้วยการขอคำแนะนำจากเขา (Ok, one last question, do you have any advice for me looking for jobs here?) แล้วขอบคุณงามๆ บางทีถ้าเขาประทับใจเราเขาจะขอคอนแทกต์เราเก็บไว้- เตรียม CV หน้าเดียวพอ เขียนให้เข้าทางอาชีพบริการ แล้วพิมพ์ออกมาสักห้าฉบับ ถ้าเขาขอแบบกระดาษก็หยิบให้เขา ถ้าเขาขอเป็นอีเมลก็ส่งให้เขาทางอีเมลงานบริษัท- ต้องหา local platform ให้เจอว่าเขาใช้อะไร (JobDB, JobTopGun ของประเทศนั้นๆ) ถ้าหาออนไลน์ไม่เจอ ก็ลองถามจากพนักงานเสิร์ฟที่วัยรุ่นๆ หน่อยก็ได้ ถ้าเพิ่งเริ่มงานอย่าไปหาจาก LinkedIn มันชั้นสูงมาก เดี๋ยวจะหมดกำลังใจเอา- เข้ากรุ๊ปเฟซบุ๊ก เช่น English Jobs in Sweden- บางทีเขาจะมีโปรแกรมฝึกงานสำหรับชาวต่างชาติ เข้าโปรแกรมนี้เสร็จจะได้ placement ในบริษัทเลย- ทำมากกว่าที่เขาขอหนึ่งสเต็ปเสมอ เช่น ถ้าเขาขอแค่ CV ให้ส่ง CV+Cover letter กรอกแบบฟอร์มให้หมดทุกช่องแม้ช่องนั้นจะมีคำว่า optional เราต้องทำมากกว่าเขาเพื่อพิสูจน์ตัวเองเสมอ การเป็นชาวต่างชาติที่ทำงานในเมืองนอก คือ เราต้องเทียบเท่าหรือเก่งกว่าคนของเขา- ขาดสกิลอะไรไปเรียนออนไลน์ แล้วหาทางเก็บพอร์ต ทุกสกิลที่เขียนในเรซูเม่ต้องมีพอร์ตรองรับ- สายคอนเทนต์เปิดไอจีทำพอร์ตรัวๆ ไอจีเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ง่ายและอินเตอร์สุด สกิลที่นำไปขายได้นั้น ได้แก่ Graphic designing/Photography, Copywriting, SMM, Social Media Marketing ฯลฯ แล้วแต่เราจะนึกออกเลย follower น้อยไม่เป็นไร ลองทำของใหม่ไปเรื่อยๆ เอาเป็นว่าให้มันมีของออกมาเยอะๆ มีที่เก็บเป็นที่เป็นทางก็พอ- เวลาสมัครงานให้ทำ CV tracker ไว้ด้วย เป็นไฟล์ Excel เพื่อให้เรารู้เองว่าเราสมัครไปกี่ที่ ที่ไหนบ้าง- สมัครงานไปเรื่อยๆ ให้เป็นกิจวัตรประจำวัน ไม่ได้ไม่ต้องเสียใจนาน คิดเสียว่าโลกจะมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้เราเสมอ5. ภาษา- สอบให้ผ่านขั้นต่ำที่จะมาที่นี่ เช่น ถ้าเขาขอ IELTS 7.0 ก็ทำให้ถึงเป้าพอ เดี๋ยวมาถึงที่นี่จะเก่งกว่านี้ได้เองตามธรรมชาติ- ภาษาเป็นสิ่งที่ไม่มีเพดาน ณ จุดหนึ่งความเก่ง คือ เอาตัวรอดได้ ยากขึ้นมาหน่อยคือคุยกับเขาในบทสนทนาได้- แต่ถ้าพูดถึงระดับที่ทำงานบริษัทได้ เราคิดว่าอย่างน้อยต้องแก้เอสให้ตัวเองได้ และเข้าใจความแตกต่างระหว่างสารที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ6. เตรียมตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมต่างชาติ- ดูหนังฟังเพลงฝรั่ง สังเกตว่าเขาทำตัวกันอย่างไร เช่น เวลากินข้าวจับช้อนส้อม สำนวนภาษา การแต่งกาย ฯลฯ หาให้เจอว่าเขาต่างจากเราอย่างไร เป็นการฝึกความเข้าใจทางวัฒนธรรมรูปแบบหนึ่ง- หาโอกาสเข้าสังคมกับเพื่อนต่างชาติ- “ด้านได้ อายอด” อย่าเขินอายในสิ่งที่ดีงาม- เป็นคนชอบถามและกล้าแสดงออก ต่อรองให้เป็นและทันคน มี resilience สูงๆ เข้าไว้ เฟลแล้วฟื้นตัวให้ไว- คนต่างชาติจะไม่มีวันเข้าใจความเกรงใจของคนไทย เราจะรู้สึกเหมือนว่าเขาไม่แคร์เราเลย ในสังคมเมืองนอก ถ้าอยากได้อะไรเราต่างหากที่ต้องเป็นคนพูด ถ้าไม่พูดก็แสดงว่าที่เป็นอยู่นี้โอเคแล้วมาอยู่เมืองนอกไม่น่ากลัวอย่างที่คิด เหงาก็โทร.หาเพื่อน โทร.หาที่บ้าน ออกไปเดินถ่ายรูปเล่น หรือชวนคนแปลกหน้าคุยช่วงแรกๆ ลำบากสุดเลย เพราะไม่ชินกับการอยู่คนเดียว แต่พอชินแล้วจะเริ่มชิล เห็นเลขเงินแล้วจะเริ่มมีกำลังใจในการอยู่ต่อ เริ่มมีเป้าหมายและสนุกกับชีวิตมากขึ้นเรื่องทำเอกสารราชการบอกได้เลยว่ายุ่งยากทุกประเทศ หน่วยงานราชการพูดไม่ตรงกันบ้างแม้จะเป็นสวีเดนก็ตาม และชีวิตจะยังคงมีปัญหาจุกจิกกวนใจอีกร้อยแปดพันประการ ทั้งเป็นปัญหาที่มาจากคนอื่น จากระบบหรือจากตัวเราเอง บางทีเราก็ทำดีที่สุดได้แค่นี้ สวีเดนก็สวีเดนเถอะ ทุกที่บนโลกก็มีความไม่สมบูรณ์แบบในแบบของมัน เรารับอย่างไหนได้มากกว่ากันล่ะแต่ทุกครั้งที่เจอปัญหาขอให้คิดว่าออกไปได้ก็ดีแค่ไหนแล้ว ชีวิตที่ไทยเราเคยลำบากกว่านี้อีก บ่นเสร็จก็ไปทำอย่างอื่นต่อจะไปคือไป ลงมือจัดการทำเอกสาร ไม่ต้องอธิบายตัวเองให้ใครฟังทั้งนั้นเพราะจะทำให้ไขว้เขว อยากรู้อะไรมาคุยกับเราหรือคุยกับคนที่เขาออกไปได้แล้ว ถ้าไม่แน่ใจก็ลองออกมาอยู่ก่อนไม่ชอบก็กลับบ้านถ้าไม่รู้ว่าจะต้องทำยังไงก็ออกมาให้ได้ก่อนแล้วชีวิตจะมีทางไปของมันเอง…”


ขันหมากมาแล้ว งานแต่งเช้าเจนนี่ยิว ยินดีด้วยจ้าา🥰


เจนนี่ได้หมดถ้าสดชื่น
งานแต่งเจนนี่ได้หมดถ้าสดชื่น
ยิวเจนchanel
เจนนี่แต่งงาน
งานแต่งเจนนี่
เจนนี่ลิลลี่
เจนนี่
ลิลลี่
เจนนี่ยิว
ลิลลี่เจนนี่
ลิลลี่ได้หมดถ้าสดชื่น
เจนยิว
ยิวเจนนี่
ยิวเจน
ยิวเจนchanel
เจนนี่รัชนก
ยิวฉัตรมงคล
ค่าเพลงได้หมดถ้าสดชื่น
เลิกคุยทั้งอำเภอ
ได้หมดถ้าสดชื่น
ข่าวบันเทิง
เจนนี่ท้อง
ฝากครรภ์
ฝากท้อง
ฝากกดติดตาม
ฝากกดไลค์
หนูแพรวได้หทดถ้าสดชื่น
ถ่ายพรีเวดดิ้ง
พรีเวดดิ้ง
เจนนี่แต่งงาน
งานแต่งงาน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ขันหมากมาแล้ว งานแต่งเช้าเจนนี่ยิว ยินดีด้วยจ้าา🥰

Ep.202| อยากไปทำงานต่างประเทศ ต้องทำยังไง??? เตรียมตัวแบบไหน #เดินไปคุยไป


งานต่างประเทศ
เตรียมตัวไปต่างประเทศ
คทา

Ep.202| อยากไปทำงานต่างประเทศ ต้องทำยังไง??? เตรียมตัวแบบไหน #เดินไปคุยไป

ไปทำงานเกาหลี \”แบบถูกกฎหมาย\” ใช้เงินกี่บาท?


ปล.ถ้าสนใจข้อสอบอยากนำไปฝึกหัดทำเพื่อสอบไปทำงาน ทักไลน์ mooly99

ไปทำงานเกาหลี \

ทำงานที่ญี่ปุ่น ผ่านบริษัทจัดหางาน ได้เงินเดือนเท่าไร


ทำงานที่ญี่ปุ่น ผ่านบริษัทจัดหางาน ได้เงินเดือนเท่าไร

อยากมาทำงานที่ต่างประเทศ ต้องทำยังไง? (นิวซีแลนด์)


💻 FB Page : จูนโกะเมาท์มอย https://www.facebook.com/junekotalkative
📷 IG : junekotalkative
🎥 Youtube : จูนโกะ​เมาท์มอย​ ichigojuneko

อยากมาทำงานที่ต่างประเทศ ต้องทำยังไง? (นิวซีแลนด์)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ อยาก ไป ทํา งาน ต่าง ประเทศ ต้อง ทํา ยัง ไง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *