Skip to content
Home » [NEW] หลักการใช้ some กับ any พร้อมตัวอย่างประโยค | any อ่านว่า – NATAVIGUIDES

[NEW] หลักการใช้ some กับ any พร้อมตัวอย่างประโยค | any อ่านว่า – NATAVIGUIDES

any อ่านว่า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

คำว่า some และ any เป็นคำภาษาอังกฤษที่เราพบเจอได้บ่อยมากๆ แต่ถึงแม้จะเจอบ่อย หลายๆคนก็อาจจะยังงงกับเจ้าสองคำนี้อยู่ นั่นก็เพราะสองคำนี้มีความหมายและวิธีใช้ที่ค่อนข้างหลากหลายนั่นเอง

ในบทความนี้ ชิววี่ได้เรียบเรียงเนื้อหาเกี่ยวกับคำว่า some และ any ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย ทั้งความหมาย วิธีการใช้ และตัวอย่างประโยค มาให้เพื่อนๆได้เรียนรู้กัน ถ้าพร้อมแล้ว เราไปดูกันเลย

หลักการใช้ some

คำว่า some มีความหมายและการใช้ที่หลากหลาย ซึ่งหลักๆแล้วจะมีดังนี้

Some แปลว่า บาง…

Some มีความหมายว่า “บาง…” เช่น บางส่วน บางคน ฯลฯ โดยจะมีการใช้แบ่งได้คร่าวๆ 3 แบบ

1. ใช้บอกปริมาณ

Some ในกรณีนี้จะมีความหมายว่า “บางส่วน” หรือ “จำนวนหนึ่ง” ใช้พูดถึงสิ่งที่มีปริมาณมากกว่าหนึ่งหน่วย หรือพูดถึงบางส่วนของสิ่งนั้น แต่ไม่ได้ระบุชัดเจนว่ามีปริมาณเท่าใด

คำว่า some ในความหมายนี้ จะทำหน้าที่เป็น determiner เวลาใช้จะต้องอยู่หน้าคำนาม (determiner คือคำที่ใช้กำกับคำนาม ทำหน้าที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับคำนาม เช่น บอกปริมาณ ตัวอย่าง determiner คำอื่นเช่น a, an, the, many, much, any) อย่างเช่น

Some cake แปลว่า เค้กบางส่วน
Some apples แปลว่า แอปเปิลจำนวนหนึ่ง
Some idea แปลว่า ความคิดบางอัน

ตัวอย่างประโยค

I ate some ice cream yesterday.
เมื่อวานฉันกินไอศกรีมไปบางส่วน

Joe gave me some good advice.
โจให้คำแนะนำบางอย่างกับฉัน

ทั้งนี้ การใช้ some ในความหมายนี้ เราจะใช้กับคำนามนับไม่ได้ หรือคำนามนับได้ที่เป็นพหูพจน์เท่านั้น ถ้าเป็นคำนามนับได้ที่เป็นเอกพจน์ เราจะใช้ a หรือ an แทน อย่างเช่น

I bought a pen.
ฉันซื้อปากกาหนึ่งด้าม
(เนื่องจาก pen เป็นคำนามนับได้ เราจึงไม่ใช้ I bought some pen. แต่เราสามารถใช้ I bought some pens. ได้ ถ้าเราซื้อมาหลายด้าม)

2. ใช้กับคำนามที่ไม่เจาะจง

เราสามารถใช้ some เมื่อกล่าวถึงบุคคลหรือสิ่งใดๆ โดยที่ไม่ได้ระบุชี้ชัดว่าเป็นคนไหนหรือสิ่งไหน เช่น

Some person ใครบางคน
Some cat แมวบางตัว
Some method บางวิธี

Some ในความหมายนี้จะทำหน้าที่เป็น determiner ต้องใช้หน้าคำนามเช่นกัน

ตัวอย่างประโยค

Some person came to see you yesterday.
มีใครบางคนมาหาคุณเมื่อวานนี้

There should be some ways to solve this problem.
มันน่าจะมีบางหนทางที่จะแก้ปัญหานี้ได้

3. ใช้แทนคำนาม

เรายังสามารถใช้ some เป็น pronoun (คำที่ใช้แทนคำนาม) ได้อีกด้วย โดย some ในกรณีนี้จะมีความหมายว่า “บางส่วน” หรือ “จำนวนหนึ่ง” เหมือน some ที่ใช้บอกปริมาณ

ตัวอย่างประโยค

I have just made sandwiches. Would you like some?
ฉันเพิ่งทำแซนด์วิชเสร็จ คุณจะกินหน่อยมั้ย
(ถ้าแปลตรงๆจะเป็น “คุณจะกินบางส่วนมั้ย” แต่เพื่อให้เป็นธรรมชาติ เราเลยเปลี่ยนคำ)

Some of his works are very exceptional.
งานบางชิ้นของเขานั้นยอดเยี่ยมมาก

Some แปลว่า ปริมาณมาก

เรายังสามารถใช้ some เมื่อต้องการบอกว่าสิ่งไหนมี “ปริมาณมาก” ได้อีกด้วย คำว่า some ในความหมายนี้จะทำหน้าที่เป็น determiner การใช้จะต้องใช้หน้าคำนาม

ตัวอย่างประโยค

It will be some time before I forget it.
มันคงจะต้องใช้เวลาพอสมควรก่อนที่ฉันจะลืมมันได้

It normally takes some effort to be fluent in second language.
ปกติแล้วมันจะต้องใช้ความพยายามพอสมควรในการที่จะใช้ภาษาที่สองได้คล่อง

Some แปลว่า ดีเยี่ยม

Some มีอีกความหมายว่า “ดีเยี่ยม” ทำหน้าที่เป็น determiner เช่นเดียวกัน

ตัวอย่างประโยค

That was some concert last night!
คอนเสิร์ตเมื่อคืนนี่สุดยอดจริงๆ

That was some Friday night dinner, wasn’t it?
อาหารเย็นเมื่อคืนวันศุกร์นั้นวิเศษณ์ไปเลย ว่ามั้ย

Some แปลว่า ประมาณ

เราสามารถใช้ some ไว้หน้าจำนวนตัวเลข ซึ่งจะแปลว่า “ประมาณ”

ตัวอย่างประโยค

Some 500 people went to the event.
มีคนประมาณ 500 คนไปร่วมงาน

I worked there for some 10 years.
ฉันทำงานที่นั่นประมาณ 10 ปี

Some แปลว่า เล็กน้อย

Some ยังสามารถแปลว่า “เล็กน้อย” ได้อีกด้วย โดยจะทำหน้าที่เป็น adverb คำว่า some ในความหมายนี้จะถูกใช้ใน American English เป็นหลัก และถือว่าเป็นคำที่ไม่เป็นทางการ

ตัวอย่างประโยค

I am feeling some better.
ฉันรู้สึกดีขึ้นเล็กน้อย

We could work some and then have lunch.
เรามาทำงานกันซักหน่อยแล้วค่อยไปกินข้าวเที่ยงก็ได้นะ

หลักการใช้ any

คำว่า any จะมีความหมายและการใช้แบ่งได้หลักๆดังนี้

Any แปลว่า บ้าง

Any มีความหมายว่า “บ้าง” หรือ “สักนิด” ทำหน้าที่เป็น determiner ต้องใช้หน้าคำนาม คำว่า any ในความหมายนี้ มักจะใช้กับประโยคปฏิเสธและประโยคคำถาม

ตัวอย่างประโยค

Are there any cookies left?
มีคุ้กกี้เหลือบ้างมั้ย

I haven’t play any mobile games recently.
ช่วงที่ผ่านมาฉันไม่ได้เล่นเกมมือถือเลยสักนิด

Any ในความหมายนี้ยังสามารถทำหน้าที่เป็น pronoun ซึ่งก็คือคำที่ใช้แทนคำนามได้อีกด้วย

ตัวอย่างประโยค

I looked around for a bottle of water, but there wasn’t any.
ฉันมองหาน้ำขวด แต่มันไม่มีเลย

Have you read any of her books?
คุณได้อ่านหนังสือของเธอบ้างมั้ย

Any แปลว่า อันไหนก็ได้

Any ยังสามารถแปลว่า “อันไหนก็ได้” หรือ “อะไรก็ตาม”

ตัวอย่างประโยค

Any food is fine in moderation.
อาหารอะไรก็โอเคหมดถ้ากินแต่พอดี

Any light color is good with black.
สีอ่อนไม่ว่าจะสีไหนก็เข้ากับสีดำได้หมด

Any ในความหมายนี้ยังสามารถทำหน้าที่เป็น pronoun ซึ่งก็คือคำที่ใช้แทนคำนามได้อีกด้วย

ตัวอย่างประโยค

You can choose any of these t-shirts.
คุณสามารถเลือกเสื้อเชิ้ตอันไหนก็ได้

She is rich. She can buy any of these luxury clothes.
เธอรวย เธอสามารถซื้อเสื้อผ้าแพงๆอันไหนก็ได้

Any แปลว่า แม้แต่น้อย

Any ยังมีอีกความหมายคือ “แม้แต่น้อย” ซึ่งจะทำหน้าที่เป็น adverb คำว่า any ในความหมายนี้มักจะถูกใช้กับประโยคปฏิเสธและประโยคคำถาม

ตัวอย่างประโยค

This movie isn’t any good.
หนังเรื่องนี้ไม่ได้ดีเลยแม้แต่น้อย

Can’t you walk any faster?
คุณเดินเร็วขึ้นอีกสักหน่อยไม่ได้หรอ

Some กับ any ต่างกันอย่างไร

การใช้ some และ any เป็น determiner (คำที่ใช้กำกับคำนาม) ที่ใช้บอกปริมาณ (บางส่วน, จำนวนหนึ่ง, บ้าง, สักนิด) เราจะใช้กับประโยคคนละชนิดกัน

เราจะใช้ some กับประโยคบอกเล่า

I have some money.
ฉันมีเงินอยู่บ้าง
(เราจะไม่ใช้ I have any money.)

และจะใช้ any กับประโยคปฏิเสธ

I don’t have any money.
ฉันไม่มีเงินสักนิดเลย
(เราจะไม่ใช้ I don’t have some money.)

สำหรับประโยคคำถาม เรามักจะใช้ any

Do you have any money?
คุณมีเงินบ้างหรือเปล่า

แต่เราก็อาจใช้ some แทนได้ ถ้าเราคาดหวังว่าผู้ตอบจะตอบว่าใช่ หรือคาดหวังว่าเค้าจะมีในสิ่งที่เราถาม

Do you have some money?
คุณมีเงินบ้างหรือเปล่า

หรือเมื่อคำถามนั้นเป็นการยื่นข้อเสนอ การขอร้อง หรือการเสนอแนะ

Would you like some tea?
คุณจะรับชาหน่อยมั้ย

Can I have some coffee?
ฉันขอกาแฟได้มั้ย

Why don’t we buy some new clothes?
ทำไมพวกเราไม่ซื้อเสื้อผ้าใหม่สักหน่อยล่ะ

สรุปก็คือเรามักจะใช้ some ในประโยคบอกเล่า และใช้ any ในประโยคปฏิเสธและประโยคคำถาม แต่ก็มีข้อยกเว้น คือเราสามารถใช้ some กับประโยคคำถามได้ ถ้าเราคาดหวังว่าเค้าจะตอบว่าใช่ หรือคำถามนั้นเป็นการยื่นข้อเสนอ การขอร้อง หรือการเสนอแนะ

เปรียบเทียบการใช้ some/any, a/an และ many/much

สำหรับคนที่ยังสับสนว่าในการบอกปริมาณ ตอนไหนเราควรใช้ some/any ตอนไหนควรใช้ a/an และตอนไหนควรใช้ many/much เรามาดูสรุปการเปรียบเทียบกันเลย

การใช้ a กับ an

ในการบอกปริมาณ เราจะใช้ a และ an เมื่อสิ่งนั้นมีปริมาณหนึ่งหน่วย โดยจะใช้ an เมื่อคำตามหลังนั้นขึ้นต้นด้วย a, e, i, o, u และจะใช้ a กับคำอื่นๆ

I bought an apple.
ฉันซื้อแอปเปิลหนึ่งลูก
(Apple ขึ้นต้นด้วยตัว a เราจึงใช้ an)

I bought a banana.
ฉันซื้อกล้วยหนึ่งลูก
(Banana ไม่ได้ขึ้นต้นด้วย a, e, i, o, u เราจึงใช้ a)

การใช้ many กับ much

เราจะใช้ many กับ much เพื่อสื่อว่าสิ่งนั้นมีปริมาณมาก โดยเราจะใช้ many กับคำนามที่นับได้ และใช้ much กับคำนามที่นับไม่ได้

I have many friends.
ฉันมีเพื่อนหลายคน
(Friend เป็นคำนามนับได้)

I had so much fun.
ฉันรู้สึกสนุกมาก
(Fun เป็นคำนามนับไม่ได้)

การใช้ some กับ any

เราจะใช้ some กับ any ซึ่งแปลว่า บางส่วน, จำนวนหนึ่ง, บ้าง, สักนิด เมื่อคำนามนั้นเป็นคำนามนับได้และเป็นพหูพจน์

(เรามักจะใช้ some กับประโยคบอกเล่า และใช้ any กับประโยคปฏิเสธและประโยคคำถาม)

I can lend you some pencils.
ฉันให้คุณยืมดินสอบางส่วนได้นะ
(Pencil เป็นคำนามนับได้)

He doesn’t have any siblings.
เขาไม่มีพี่น้องเลยสักคน
(Sibling เป็นคำนามนับได้)

หรือเมื่อคำนามนั้นเป็นคำนามนับไม่ได้

We just want to have some fun.
พวกเราแค่อยากสนุกกันบ้างเท่านั้นเอง
(Fun เป็นคำนามนับไม่ได้)

Do you have any money?
คุณมีเงินบ้างหรือเปล่า
(Money เป็นคำนามนับไม่ได้)

สรุปง่ายๆก็คือ

  • ปริมาณหนึ่งหน่วย (เอกพจน์) และเป็นคำนามนับได้ ใช้ a (ไม่ได้ขึ้นต้นด้วย a, e, i, o, u) หรือ an (ขึ้นต้นด้วย a, e, i, o, u)
  • ปริมาณมาก และเป็นคำนามนับได้ ใช้ many
  • ปริมาณมาก และเป็นคำนามนับไม่ได้ ใช้ much
  • บางส่วน จำนวนหนึ่ง สักนิด และเป็นคำนามนับได้ที่เป็นพหูพจน์ ใช้ some หรือ any
  • บางส่วน จำนวนหนึ่ง สักนิด และเป็นคำนามนับไม่ได้ ใช้ some หรือ any

เป็นยังไงบ้างครับกับวิธีใช้ some, any และคำอื่นที่เกี่ยวข้องในภาษาอังกฤษ ทีนี้เพื่อนๆก็คงจะเข้าใจและสามารถนำไปใช้ได้ถูกต้องมากขึ้นแล้วนะครับ

อย่าลืมนะครับ ภาษาอังกฤษยิ่งเรียนรู้ ยิ่งฝึก ก็ยิ่งเก่ง สำหรับบทความนี้ ชิววี่ต้องขอตัวลาไปก่อน See you next time

[Update] | any อ่านว่า – NATAVIGUIDES

การเรียกชื่อแอนไอออน และออกซีแอนไอออน

สรุปการเรียกชื่อของแอนไอออนและออกซีแอนไอออน

1. แอนไอออนลงท้ายด้วย -ide เช่น simple anion ____ide (Chloride,Cl-)

2. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้ 2 ออกซีแอนไอออน ลงท้ายด้วย -ite และ -ate เช่น form with less oxygen _____ite ion (nitrite ion, NO2-) ,form with more oxygen _____ate ion(nitrate ion,NO3-)

3. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้มากกว่า 2 ออกซีแอนไอออน เช่น hypo___ite,hypochlorite,ClO-___ite,Chlorite,ClO2-_____ate,Chlorate,ClO3-per____ate,perchlorate,ClO4-

การเรียกชื่อสามัญ

การตั้งชื่อสามัญ (Common name) ตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของการพบสารนั้น เช่น

Na2SO4เรียกว่า Glauber’s salt ให้เกียรติแก่ J.F.Glauber ซึ่งเป็นผู้ค้นพบ
NH4Cl เรียกว่า sal ammoniac มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน
C6H4(HO)COOCH3(methyl salicylate) เรียกว่า oil of wintergreen
SbCl3เรียกว่า butter of antimony ตามลักษณะทางกายภาพที่พบ

การเรียกชื่อสารอินทรีย์

ในสมัยแรก ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เนื่องจากมีสารที่พบไม่มากนักจึงมักจะเรียกชื่อตามที่นักเคมีคิดว่าเหมาะสม ซึ่งอาจจะเรียกชื่อตามสิ่งที่พบหรือตามสถานที่พบ ชื่อที่เรียกโดยไม่มีกฎเกณฑ์เหล่านี้ เรียกว่าชื่อสามัญ (common name) ต่อ มาเมื่อมีการค้นพบสารอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น การเรียกชื่อสามัญจึงเริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากชื่อสามัญส่วนมากจะไม่มี ส่วนสัมพันธ์กับชนิดของสารหรือไม่มีส่วนสัมพันธ์กับสูตรโครงสร้าง ทำให้ยากแก่การจดจำว่าสารดังกล่าวนั้นเป็นสารประเภทใด มีสูตรโครงสร้างเป็นอย่างไร โดยเฉพาะสารที่มีสูตรโครงสร้างคล้าย ๆ กันหรือที่มีสูตรโครงสร้างซับซ้อนจะเรียกชื่อสามัญไม่ได้

นักเคมีจึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อขึ้นใหม่ให้เป็นระบบเดียวกันว่า ระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) การเรียกชื่อในระบบ IUPAC นี้มีส่วนสัมพันธ์กับชนิดและสูตรโครงสร้างของสารจึงทำให้ง่ายแก่การจดจำ ซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ 

IUPAC

การเรียกชื่อระบบ IUPAC

เป็นการเรียกชื่อตามระบบสากล มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนจึงทำให้เรียกชื่อสารอินทรีย์ได้ทุกชนิด ทั้งที่เป็นโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่ หรือที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบง่าย และที่ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้จะทำให้ทราบชนิดและลักษณะโครงสร้างของสาร เพราะหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างสาร

การเรียกชื่อระบบ IUPAC เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1892 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยการประชุมร่วมกันของนักเคมีเพื่อวางกฎเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ ในครั้งแรกเรียกระบบการเรียกชื่อนี้ว่าระบบเจนีวา ต่อมาสหพันธ์นักเคมีระหว่างประเทศ (International Union of Chemistry) ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUC และเมื่อมีการค้นพบสารใหม่เพิ่มมากขึ้นจึงได้ปรับปรุงการเรียกชื่อใหม่อีก ครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUPAC ดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

หลักเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักดังนี้

1. ชื่อโครงสร้างหลัก เป็นส่วนที่แสดงลักษณะโครงสร้างหลักของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุด การเรียกชื่อโครงสร้างหลักจึงเรียกตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสาย ยาวที่สุด

2.คำลงท้าย เป็นส่วนที่เต็มท้ายชื่อโครงสร้างหลัก เพื่อแสดงว่าสารอินทรีย์นั้นเป็นสารประกอบประเภทใด เป็นสารประกอบประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว คำลงท้ายจะบอกให้ทราบถึงชนิดของหมู่ฟังก์ชันในโมเลกุล

3.คำนำหน้า เป็นส่วนที่เติมหน้าชื่อของโครงสร้างหลัก เพื่อจะบอกให้ทราบว่าในโครงสร้างหลักมีหมู่ฟังก์ชัน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมใดบ้างมาต่ออย่างละกี่หมู่และอยู่ที่ C ตำแหน่งใดในโครงสร้างหลัก การบอกตำแหน่งของส่วนที่มาต่อให้ใช้ตัวเลขน้อยที่สุด (ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของ C ในโครงสร้างหลัก)

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมซ้ำ ๆ กันมาเกาะให้บอกจำนวนโดยใช้ภาษากรีก เช่น di = 2 กลุ่ม, tri = 3 กลุ่ม, tetra = 4 กลุ่ม, penta = 5 กลุ่ม

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมหลายชนิดมาเกาะ ให้เรียกชื่อเรียงลำดับตามอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอย่าง

2-methyl- หมายถึง มี methyl group มาต่อที่ C ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก

3-hydroxy- หมายถึง มี OH มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 ในโครงสร้างหลัก

3-ethyl-2-methyl หมายถึง มี ethyl มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 และ methyl group มาต่อที่ C

ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก 

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

1. ให้เรียกชื่อของธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของธาตุที่อยู่ด้านหลังโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายของธาตุเป็น-ไอด์(-ide) ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

ไฮโดรเจน (H) ออกเสียงเป็น ไฮไดรต์
คาร์บอน (C) ออกเสียงเป็น คาร์ไบด์
ไนโตรเจน (N) ออกเสียงเป็น ไนไตรด์
ฟลูออรีน (F) ออกเสียงเป็น ฟลูออไรด์
คลอรีน (CI) ออกเสียงเป็น คลอไรต์
ออกซิเจน (O)ออกเสียงเป็น ออกไซต์

2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุไว้หน้าชื่อธาตุโดยวิธีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุจะระบุโดยใช้ชื่อตัวเลขในภาษากรีก ดังนี้

1 = มอนอ (mono)
2 = ได (di)
3 = ไตร (tri)
4 = เตตระ (tetra)
5 = เพนตะ (penta)
6 = เฮกซะ (hexa)
7 = เฮปตะ (hepta)
8 = ออกตะ (octa)
9 = โนนะ (nona)
10 = เดคะ (deca)

แต่มีข้อยกเว้น คือ ไม่ต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุที่อยู่ด้านหน้าในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้าน หน้ามีอยู่เพียงอะตอมเดียว และไม่จำเป็นต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้านหน้า เป็นธาตุไฮโดรเจน ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมก็ตาม

ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

N2O5Nเรียกว่า ไดโนโตรเจนเพนตะออกไซด์
N2Oเรียกว่า ไดโนโตรเจนมอนอกไซด์
CCI4เรียกว่าคาร์บอนเตตระคลอไรด์
SO2เรียกว่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์
COเรียกว่า คาร์บอนมอนนอกไซด์
CO2เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์
H2Sเรียกว่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่งเกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามด้วยธาตุหลังซึ่งเป็นไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) ดังนี้

1. เริ่มจากอ่านชื่อไอออนบวก (ธาตุโลหะ) ก่อน

2. อ่านชื่อธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) โดยเปลี่ยนเสียงสุดท้ายเป็น -ไอด์ (-ide) ดังตัวอย่างเช่น

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
MgO อ่านว่า แมกนีเซียมออกไซด์
Al2O3อ่านว่า อะลูมิเนียมออกไซด์

3. หากไอออนลบมีลักษณะเป็นกลุ่มธาตุ จะมีชื่อเรียกเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น No3-เรียกว่า ไนเดรต, CO32-เรียกว่า คาร์บอเนต, SO42-เรียกว่า ซัลเฟต OH-เรียกว่า ไฮดรอกไซด์ เป็นต้น ดังตัวอย่างเช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
Na2SO4อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่น

อออซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)

ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)

คลอรีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (iodide)

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloridr)
CaI2อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์ (Calcium iodide)

KBr อ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์ (Potascium bromide)
CaCl2อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride)

ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดีนวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่นFe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+และCu เกิดอิออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้

FeCl2อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ ( Iron (II) chloride )
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ( Cupper (I) sunfide )

FeCl3อ่านว่า ไอร์ออน(III) คลอไรด์ ( Iron (III) chloride )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ( Copper (II) sunfide )

2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่าถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต (Calcium carbonatX
KNO3อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต (Potascium nitrae)

Ba(OH)2อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์ (Barium hydroxide)
(NH4)3PO4อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต (Ammomium pospate)

การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

หลักการเรียกชื่อสารเชิงซ้อนและไอออนเชิงซ้อน
RULES FOR NAMING COORDINATION COMPLEXES

  • เรียกชื่อของไอออนบวกก่อนไอออนลบ
  • เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนต
  • ใช้ตัวเลขภาษากรีกระบุจำนวน mono-, di-, tri-, tetra-, penta-, hexa-, ในการใช้ระบุจำนวนลิแกนด์เมื่อลิแกนด์โดยมีความสัมพันธ์อย่างง่าย และใช้คำอุปสรรคในภาษากรีก bis-, tris-, and tetrakis- กับลิแกนด์ที่มีความซับซ้อน
  • ชื่อของลิแกนด์ในไอออนลบจะลงท้ายด้วย o, เช่น fluoro (F-), chloro (Cl-), bromo (Br-), iodo (I-), oxo (O2-), hydroxo (OH-), และ cyano (CN-)
  • มีลิแกนดด์เป็นกลางจำนวนเล็กน้อยใช้ชื่อสามัญ เช่น น้ำ ใช้ aquo (H2O), แอมโมเนีย ใช้ ammine (NH3), และคาร์บอนิล ใช้ carbonyl (CO)
  • การเรียงลำดับของลิแกนด์ให้เรียงลำดับดังนี้: ไอออนลบ โมเลกุลที่เป็นกลาง ไอออนบวก สำหรับลิแกนด์ที่มีประจุเหมือนกันให้เรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
  • ระบุเลขออกซิเดชันของอะตอมโลหะแทรนซิชันเป็นตัวเลขโรมันอักษรตัวใหญ่ตามหลังอะตอมโลหะ
  • ชื่อของไอออนเชิงซ้อนลบจะลงท้ายด้วย –

    ate

    เช่น Co(SCN)42-, อ่านว่า tetrathiocyanatocobaltate(II) ion เมื่อสัญลักษณ์ของโลหะแทรนซิชันมาจากภาษาละติน ให้ลงท้ายชื่อโลหะ ให้ลงท้ายชื่อด้วย

    -ate

    เช่น

    Fe

    ในไออนเชิงซ้อนลบ

    คำในภาษาละตินคือ

    ferrum

    ชื่อของ

    Fe

    จึงเป็น

    ferrate

    และของทองแดง

    Cu

    จึงเป็น

    cuprate

  • ชื่อของโลหะแทรนซิซันในไอออนเชิงซ้อนบวก ให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษตากปกติ และต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย


\”Company\” ไม่ได้แปลว่าบริษัทเหรอ ??


สอบถามเรื่องคอร์สได้ที่ไลน์ https://lin.ee/uVp0whL (@ajarnadam) หรือโทร 02 612 9300
รายละเอียดคอร์ส https://www.ajarnadam.tv/
FB: http://www.facebook.com/AjarnAdamBradshaw
IG: https://www.instagram.com/ajarnadam
Twitter: http://twitter.com/AjarnAdam
ภาษาอังกฤษ อาจารย์อดัม AjarnAdam

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

\

Anne-Marie – 2002 (Live At Brighton Music Hall 2018)


AnneMarie performing 2002 live At Brighton Music Hall, 2018.
watch the official video for 2002 here https://www.youtube.com/watch?v=Ilan3K9pjg
2002 is taken from AnneMarie’s debut studio album Speak Your Mind released in 2018, which featured the singles Alarm, Ciao Adios, Heavy, Then, Friends 2002 \u0026 Perfect To Me.
Subscribe to the AnneMarie’s channel for all the best and latest official music videos, behind the scenes and live performances here http://bit.ly/1FciNcA
Listen to more from the album Speak Your Mind:
https://www.youtube.com/playlist?list=OLAK5uy_lluGR30cpjJE51wo0AaYaucx7SHlYxp8
Get Speak Your Mind the debut album http://ad.gt/speakyourmind
See more official videos from AnneMarie here:
https://www.youtube.com/watch?v=qjQjxpnwVZw\u0026list=PLgzgA64MLAflH_RyIf8Q3CDtIVaXUuwS_
Follow AnneMarie:
Official Website http://iamannemarie.com
Facebook http://www.facebook.com/iamannemarie
Twitter http://twitter.com/AnneMarie
Instagram https://instagram.com/annemarie
About AnneMarie:
AnneMarie has proved to be one of the UK’s most exciting and successful British breakthrough popstars of recent years. A former 3x world karate champion and West End child starturned 9x BRIT Award nominee, AM’s rise has been nothing short of meteoric. In 2018 AnneMarie released her debut album, ‘Speak Your Mind’ which featured the hit singles ‘Alarm’, ‘Ciao Adios’, ‘Heavy’, ‘Friends’, ‘2002’ and ‘Perfect to Me’. She subsequently ended that year as as the UK’s biggestselling debut artist, selling out headline shows and playing stadium dates supporting longtime friend and champion Ed Sheeran in the process.
She has also sang on and cowritten many other hits such as Birthday, Rockabye, Don’t Leave Me Alone, To Be Young, fck, i’m lonely and Don’t Play, collaborating with the likes of Clean Bandit, Marshmello, David Guetta, Lauv, Rudimental, Doja Cat and KSI, as well as starring on The Greatest Showman: Reimagined soundtrack performing Rewrite the stars alongside James Arthur.
AnneMarie 2002 AnneMarieLive

Anne-Marie - 2002 (Live At Brighton Music Hall 2018)

Alan Walker – All Falls Down (feat. Noah Cyrus with Digital Farm Animals)


Join me on Discord here: https://discord.gg/alanwalker
A new album. Join forces here: https://youtu.be/IeIPYZWgVcg
△ Merch @ https://store.alanwalker.no △
Thanks for listening. If you want to hear my newest single and the last video in the World of Walker trilogy, \”Heading Home,\” check out the official music video here: https://youtu.be/mfSU_XwEnZA \u0026 the LIVE performance here: https://www.youtube.com/watch?v=cYxAr_NZF9E
I’m extremely excited to finally release the music video for my new single All Falls Down. Let me know what you think like, share and leave a comment in the section below!
Alan
_______________________________
WorldOfWalker
Listen to the single here: https://AlanWalker.lnk.to/AllFallsDown
Also remember to check out these videos:
Tired: https://youtu.be/g4hGRvs6HHU
All Falls Down (trailer): https://youtu.be/74EOvSjXrgY
_______________________________
Merch available at https://bit.ly/AlanWalkerStore
Subscribe: https://www.youtube.com/user/djwalkzz?sub_confirmation=1
Make sure to subscribe and ring the bell button to get notifications 🙂
Facebook: http://bit.ly/AlanWalker_Facebook
Instagram: http://bit.ly/AlanWalker_Instagram
Twitter: http://bit.ly/AlanWalker_Twitter
Tiktok: alanwalkermusic
Snapchat: alanwalkermusic
_______________________________
/// Walker Gaming ///
Website: https://walkergaming.com​
Instagram: https://www.instagram.com/w47k3rg4m1ng​
Facebook: https://m.facebook.com/w47k3rg4m1ng​
Twitch: https://www.twitch.tv/w47k3rg4m1ng​
Twitter: https://twitter.com/w47k3rg4m1ng​
TikTok: https://vm.tiktok.com/ZMebouDue
_______________________________
Credits:
Director: Kristian Berg (http://www.kristianberg.com)
Concept: Kristian Berg \u0026 MER (http://www.mer.as)
Produced by: Synne Seltveit Viper Film (http://www.viperfilm.com)
Produced by: Niklas Røseth iProduksjon (http://www.iproduksjon.com)
Produced by: Ana Sikavica Red Production (http://www.redproduction.tv)
D.O.P: Jakob Ingimundarson (http://www.jakobingimundarson.com)
Editor: Jonas Aarø
VFX: Wirat Johannessen (Knowit Experience)
Additional flag design: Audun Notevarp
Grade: Julien Alary
Sound design: Fredrik Borch Olsen (http://www.mer.as)
Costume Designer: Elise N. Nystad
Set Designer: Krešo Glavinić
Gaffer: Vladimir Slijepčević
1st AC: Espen Olsen
Drone operator: Roger Fosaas
Shot on location in Croatia, Montenegro and Bosnia \u0026 Herzegovina
A special thanks to everyone involved!
_______________________________
Lyrics:
What’s the trick I wish I knew
I’m so done with thinking through
All the things I could’ve been
And I know you wonder too,
All it takes is that one look you do
and I run right back to you
u crossed the line
\u0026 it’s time to say fu!
What’s the point in saying that
when u know how I’ll react
U think u can just take it back
but shit just don’t work like that
you’re the drug that I’m addicted to
And I want you so bad
Guess I’m stuck
with you
and that’s that
Cus when it all falls down, then whatever
When it don’t work out for the better
If we just ain’t right and it’s time to say goodbye
when it all falls down,
when it all falls down
I’ll be fine
I’ll be fine
I’ll be fine
You’re the drug that I’m addicted to
And I want you so bad
But I’ll be fine
Why we fight, I don’t know
We say what hurts the most
Oh, I try
staying cold,
But you take it personal,
All this firing shots,
and making grounder
It’s way too hard to cope
But I still
Can’t let
You go
All Falls Down,
All Falls Down,
All Falls Down,
All Falls Down.
AlanWalker AllFallsDown NoahCyrus DigitalFarmAnimals

Alan Walker - All Falls Down (feat. Noah Cyrus with Digital Farm Animals)

คําศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดสัตว์ ชุดที่ 1


++ คําศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดสัตว์ ชุดที่ 1 ++
ประกอบไปด้วยคำศัพท์ในหมวดสัตว์
1. Ant (แอ็นท) มด
2. Bat (แบท) ค้างคาว
3. Bear (แบ) หมี
4. Bee (บี) ผึ้ง
5. Bird (เบิด) นก
6. Cat (แค็ท) แมว
7. Chicken (ชิคเคิน) ไก่
8. Cow (คาว) วัว
9. Crab (แครบ) ปู
10. Deer (เดีย) กวาง
11. Dog (ด็อก) สุนัข
12. Dolphin (ดอลฟิน) ปลาโลมา
13. Duck (ดัค) เป็ด
14. Eel (อีล) ปลาไหล
15. Elephant (เอลอิแฟ็นท) ช้าง
16. Fish (ฟิช) ปลา
17. Frog (ฟรอก) กบ
18. Giraffe (จิราฟ) ยีราฟ
19. Goat (โกท) แพะ
20. Snake (สเนค) งู
++ จัดทำโดย Por Pure Channel ++
ภาพประกอบในคลิปทั้งหมดนำมาจากเว็บไซต์ https://pixabay.com/
ฝากกด Like กดแชร์ คลิปวีดีโอ และกด Subscribe ด้วยจร้า
จะอัพคลิปเรื่อยๆ
Channel : https://www.youtube.com/channel/UCuxFOCWjUZ7PxmzBaxialBQ
Subscribe : https://www.youtube.com/channel/UCuxFOCWjUZ7PxmzBaxialBQ?sub_confirmation=1

คําศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดสัตว์ ชุดที่ 1

[Full Album] Bolbbalgan4 (볼빨간사춘기) – RED PLANET [Re-Upload Version + Bonus DL Links]


볼빨간사춘기 (Bolppalgan Puberty) RED PLANET [MP3 Audio]
Full Album RED PLANET
Download Links: Coming soon
Track List:
01. 우주를 줄게 (Galaxy)
02. 싸운날 (Fight Day)
03. You(=I)
04. 심술 (Mean)
05. 나만 안되는 연애 (Hard To love)
06. 초콜릿 (Chocolate)
07. 프리지아 (Freesia)
08. X Song
09. 반지 (Ring)
10. 사랑에 빠졌을 때 (When I Fall In Love)
11. 좋다고 말해 (Tell Me You Love Me)
Release Date: 2016.08.29
Genre: Folk
Language: Korean
Bit Rate: MP3320kbps + iTunes Plus AAC M4A

[Full Album] Bolbbalgan4 (볼빨간사춘기) - RED PLANET [Re-Upload Version + Bonus DL Links]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ any อ่านว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *