Skip to content
Home » [NEW] สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 | สิทธิ ประกัน สังคม กรณี ทุพพลภาพ – NATAVIGUIDES

[NEW] สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 | สิทธิ ประกัน สังคม กรณี ทุพพลภาพ – NATAVIGUIDES

สิทธิ ประกัน สังคม กรณี ทุพพลภาพ: คุณกำลังดูกระทู้

          ข่าวดีสำหรับผู้ประกันตนทุกท่าน พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2558 ได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 22 มิ.ย.2558 ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ภายใน 120 วันนับตั้งแต่วันที่ประกาศหรือเริ่มตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558

          ทางทีมงาน jobsDB ได้สรุปสิทธิประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นสำหรับผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับใหม่ดังต่อไปนี้ค่ะ

สิทธิประโยชน์

สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับเดิม

สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติประกันสังคม ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2558

กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย

มีสิทธิได้รับเฉพาะค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าบำบัดทางการแพทย์ ค่ากินอยู่ และรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล ค่ายา และค่าเวชภัณฑ์ ค่ารถพยาบาล หรือค่าพาหนะรับส่งผู้ป่วย

เพิ่มค่าส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและค่าใช้จ่ายเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้ประกันตน ในกรณีได้รับความเสียหายจากการรับบริการทางการแพทย์

กรณีคลอดบุตร

มีสิทธิได้รับไม่เกิน 2 ครั้ง เหมาจ่าย ครั้งละ 13,000 บาท + เงินสงเคราะห์การหยุดงาน 90 วัน

มีสิทธิได้รับไม่จำกัดจำนวนครั้ง

กรณีสงเคราะห์บุตร

ได้รับสำหรับบุตรอายุ 0 – 6 ปี คราวละ ไม่เกิน 2 คน เหมาจ่ายรายเดือน เดือนละ 400 บาท ต่อคน

มีสิทธิได้รับคราวละไม่เกิน 3 คน

กรณีว่างงาน

ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับเมื่อถูกเลิกจ้างหรือลาออก

เพิ่มความคุ้มครองสิทธิประโยชน์กรณีว่างงานแก่ผู้ประกันตน กรณีนายจ้างหยุดกิจการชั่วคราวเนื่องจากเหตุสุดวิสัยโดยยังไม่มีการเลิกจ้าง เช่น กรณีสถานประกอบการถูกน้ำท่วม

ผู้เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือผู้ทุพพลภาพ

ไม่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน กรณีเสียชีวิต

เพิ่มสิทธิประโยชน์กรณีเสียชีวิตแก่ผู้เจ็บป่วยเรื้อรัง/ ผู้ทุพพลภาพ แม้ส่งเงินสมทบไม่ครบตามสิทธิ

ผู้จงใจให้ตนเองได้รับบาดเจ็บ ทุพพลภาพ และตาย

ไม่ได้รับความคุ้มครอง

เพิ่มสิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกันตนที่จงใจทำให้ตนเองบาดเจ็บ ทุพพลภาพ และตาย หรือยินยอมให้ผู้อื่นก่อให้เกิดขึ้น

กรณีทุพพลภาพ

ผู้ประกันตนต้องสูญเสียสมรรถภาพของร่างกายร้อยละ 50 ถึงจะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ

*ผู้ทุพพลภาพอยู่ก่อนวันที่ 31 มีนาคม 2538 ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 15 ปี

ผู้ประกันตนซึ่งสูญเสียสมรรถภาพ ไม่ถึงร้อยละ 50 ของร่างกายมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ

*ผู้ทุพพลภาพอยู่ก่อนวันที่ 31 มีนาคม 2538 ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ตลอดชีวิต 

กรณีตาย เงินสงเคราะห์กรณีที่ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย

(เดิม) ถ้าก่อนถึงแก่ความตาย ผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่สามสิบหกเดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึงหนึ่งร้อยยี่สิบเดือน ให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวณเท่ากับค่าจ้างเฉลี่ยหนึ่งเดือนครึ่ง

        ถ้าก่อนถึงแก่ความตายผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่หนึ่งร้อยยี่สิบเดือนขึ้นไปให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวนเท่ากับค่าจ้างเฉลี่ยห้าเดือน

(แก้ไข) ถ้าก่อนถึงแก่ความตาย ผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่สามสิบหกเดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึงหนึ่งร้อยยี่สิบเดือน ให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวนเท่ากับร้อยละห้าสิบของค่าจ้าง รายเดือน ที่คำนวณได้ตามมาตรา 57 คูณด้วยสี่ (เท่ากับค่าจ้างประมาณ 2 เดือน)

          ถ้าก่อนถึงแก่ความตายผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่หนึ่งร้อยยี่สิบเดือนขึ้นไปให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวนเท่ากับร้อยละห้าสิบของค่าจ้างรายเดือนที่คำนวณได้ตามมาตรา 57 คูณด้วยสิบสอง (เท่ากับค่าจ้างประมาณ6เดือน)

ปรับปรุงหลักเกณฑ์การได้รับสิทธิประโยชน์

ผู้ประกันตนที่ไม่มีทายาท (บิดา มารดา บุตร และคู่สมรส) ไม่สามารถทำหนังสือระบุบุคคลผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพไว้ล่วงหน้าได้ โดยเงินบำเหน็จชราภาพจะตกเป็นของกองทุน และ มีระยะเวลาการยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทนภายใน 1 ปี

ผู้ประกันตนสามารถทำหนังสือระบุบุคคลผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพไว้ล่วงหน้าได้ โดยมีสิทธิได้รับร่วมกับทายาท หากไม่มีทายาท หรือไม่มีบุคคลที่ทำหนังสือระบุจะให้สิทธิแก่ พี่ น้อง ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา และ ขยายระยะเวลาการยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทนจาก 1 ปี เป็น 2 ปี

ขยายความคุ้มครอง

1.คุ้มครองเฉพาะลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน

2.ไม่คุ้มครองลูกจ้างที่ไปประจำสำนักงานในสาขาต่างประเทศ

1.ขยายความคุ้มครองไปถึงลูกจ้างชั่วคราวทุกประเภทของส่วนราชการ

2.ขยายความคุ้มครองให้กับลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศ และไปประจำทำงานในต่างประเทศ

ความโปร่งใส ตรวจสอบได้

1.ไม่มีคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อกำกับดูแลความโปร่งใส ได้มาตรฐาน

2.คณะกรรมการประกันสังคม ไม่มีการกำหนดวิธีการได้มา คุณสมบัติลักษณะต้องห้ามและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

3.ที่ปรึกษา มาจากการแต่งตั้งของรัฐมนตรี

4.คณะกรรมการการแพทย์ ไม่มีการกำหนดวิธีการได้มา คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม

1.คณะกรรมการตรวจสอบ กำหนดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน แต่งตั้งเพื่อกำกับดูแลความโปร่งใส ได้มาตรฐาน โดยหลักเกณฑ์ วิธีการได้มา องค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกันสังคม

  1. คณะกรรมการประกันสังคม กำหนดวิธีการได้มา คุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามของกรรมการประกันสังคม และต้องแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ต่อคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  2. ที่ปรึกษา มาจากการสรรหาตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
  3. คณะกรรมการการแพทย์ กำหนดวิธีการได้มา โดยให้มาจากการสรรหาตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกันสังคม กำหนดคุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามของคณะกรรมการการแพทย์

การบริหารการลงทุน

ไม่สามารถลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ได้ เพราะจะทำให้อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวตกเป็นที่ราชพัสดุ

กำหนดให้อสังหาริมทรัพย์ที่สำนักงานประกันสังคมได้มาจากการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนไม่เป็นที่ราชพัสดุ จะมีผลทำให้สำนักงานประกันสังคมสามารถนำเงินกองทุนไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเป็นการลงทุนที่มีผลตอบแทนสูงได้

เงินสมทบ

1.ไม่สามารถลดอัตราเงินสมทบเฉพาะพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติได้หากจะลดอัตราเงินสมทบ จะต้องประกาศลดอัตราเงินสมทบทั่วประเทศ

  1. ไม่ได้กำหนดในกฎหมายให้รัฐบาลร่วมจ่ายเงินสมทบแต่ปัจจุบันรัฐบาลจัดสรรงบประมาณให้เป็นเงินอุดหนุนสำหรับจ่ายเป็นเงินสมทบให้กับผู้ประกันตนมาตรา 40
  2. รัฐบาลสามารถออกประกาศลดหย่อนการออกเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือผู้ประกันตน และนายจ้างให้ได้รับผ่อนปรนการเก็บเงินสมทบในท้องที่ที่เกิดภัยพิบัติ
  3. กำหนดให้รัฐบาลร่วมจ่ายเงินสมทบให้กับผู้ประกันตนมาตรา 40 ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตน
  1. รัฐบาลสามารถออกประกาศลดหย่อนการออกเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือผู้ประกันตน และนายจ้างให้ได้รับผ่อนปรนการเก็บเงินสมทบในท้องที่ที่เกิดภัยพิบัติ

2. กำหนดให้รัฐบาลร่วมจ่ายเงินสมทบให้กับผู้ประกันตนมาตรา 40 ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตน

New jobs every day means new opportunities. Don’t miss out. Create a Job Alert

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

วิธีเช็คเงินออมประกันสังคมของตัวเองต้องทำยังไง

เงินเดือนไม่ถึงเกณฑ์การเสียภาษี ต้องยื่นภาษีหรือเปล่า

[NEW] สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 | สิทธิ ประกัน สังคม กรณี ทุพพลภาพ – NATAVIGUIDES

          ข่าวดีสำหรับผู้ประกันตนทุกท่าน พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2558 ได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 22 มิ.ย.2558 ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ภายใน 120 วันนับตั้งแต่วันที่ประกาศหรือเริ่มตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558

          ทางทีมงาน jobsDB ได้สรุปสิทธิประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นสำหรับผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับใหม่ดังต่อไปนี้ค่ะ

สิทธิประโยชน์

สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับเดิม

สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติประกันสังคม ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2558

กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย

มีสิทธิได้รับเฉพาะค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าบำบัดทางการแพทย์ ค่ากินอยู่ และรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล ค่ายา และค่าเวชภัณฑ์ ค่ารถพยาบาล หรือค่าพาหนะรับส่งผู้ป่วย

เพิ่มค่าส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและค่าใช้จ่ายเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้ประกันตน ในกรณีได้รับความเสียหายจากการรับบริการทางการแพทย์

กรณีคลอดบุตร

มีสิทธิได้รับไม่เกิน 2 ครั้ง เหมาจ่าย ครั้งละ 13,000 บาท + เงินสงเคราะห์การหยุดงาน 90 วัน

มีสิทธิได้รับไม่จำกัดจำนวนครั้ง

กรณีสงเคราะห์บุตร

ได้รับสำหรับบุตรอายุ 0 – 6 ปี คราวละ ไม่เกิน 2 คน เหมาจ่ายรายเดือน เดือนละ 400 บาท ต่อคน

มีสิทธิได้รับคราวละไม่เกิน 3 คน

กรณีว่างงาน

ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับเมื่อถูกเลิกจ้างหรือลาออก

เพิ่มความคุ้มครองสิทธิประโยชน์กรณีว่างงานแก่ผู้ประกันตน กรณีนายจ้างหยุดกิจการชั่วคราวเนื่องจากเหตุสุดวิสัยโดยยังไม่มีการเลิกจ้าง เช่น กรณีสถานประกอบการถูกน้ำท่วม

ผู้เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือผู้ทุพพลภาพ

ไม่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน กรณีเสียชีวิต

เพิ่มสิทธิประโยชน์กรณีเสียชีวิตแก่ผู้เจ็บป่วยเรื้อรัง/ ผู้ทุพพลภาพ แม้ส่งเงินสมทบไม่ครบตามสิทธิ

ผู้จงใจให้ตนเองได้รับบาดเจ็บ ทุพพลภาพ และตาย

ไม่ได้รับความคุ้มครอง

เพิ่มสิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกันตนที่จงใจทำให้ตนเองบาดเจ็บ ทุพพลภาพ และตาย หรือยินยอมให้ผู้อื่นก่อให้เกิดขึ้น

กรณีทุพพลภาพ

ผู้ประกันตนต้องสูญเสียสมรรถภาพของร่างกายร้อยละ 50 ถึงจะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ

*ผู้ทุพพลภาพอยู่ก่อนวันที่ 31 มีนาคม 2538 ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 15 ปี

ผู้ประกันตนซึ่งสูญเสียสมรรถภาพ ไม่ถึงร้อยละ 50 ของร่างกายมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ

*ผู้ทุพพลภาพอยู่ก่อนวันที่ 31 มีนาคม 2538 ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ตลอดชีวิต 

กรณีตาย เงินสงเคราะห์กรณีที่ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย

(เดิม) ถ้าก่อนถึงแก่ความตาย ผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่สามสิบหกเดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึงหนึ่งร้อยยี่สิบเดือน ให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวณเท่ากับค่าจ้างเฉลี่ยหนึ่งเดือนครึ่ง

        ถ้าก่อนถึงแก่ความตายผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่หนึ่งร้อยยี่สิบเดือนขึ้นไปให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวนเท่ากับค่าจ้างเฉลี่ยห้าเดือน

(แก้ไข) ถ้าก่อนถึงแก่ความตาย ผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่สามสิบหกเดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึงหนึ่งร้อยยี่สิบเดือน ให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวนเท่ากับร้อยละห้าสิบของค่าจ้าง รายเดือน ที่คำนวณได้ตามมาตรา 57 คูณด้วยสี่ (เท่ากับค่าจ้างประมาณ 2 เดือน)

          ถ้าก่อนถึงแก่ความตายผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่หนึ่งร้อยยี่สิบเดือนขึ้นไปให้จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นจำนวนเท่ากับร้อยละห้าสิบของค่าจ้างรายเดือนที่คำนวณได้ตามมาตรา 57 คูณด้วยสิบสอง (เท่ากับค่าจ้างประมาณ6เดือน)

ปรับปรุงหลักเกณฑ์การได้รับสิทธิประโยชน์

ผู้ประกันตนที่ไม่มีทายาท (บิดา มารดา บุตร และคู่สมรส) ไม่สามารถทำหนังสือระบุบุคคลผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพไว้ล่วงหน้าได้ โดยเงินบำเหน็จชราภาพจะตกเป็นของกองทุน และ มีระยะเวลาการยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทนภายใน 1 ปี

ผู้ประกันตนสามารถทำหนังสือระบุบุคคลผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพไว้ล่วงหน้าได้ โดยมีสิทธิได้รับร่วมกับทายาท หากไม่มีทายาท หรือไม่มีบุคคลที่ทำหนังสือระบุจะให้สิทธิแก่ พี่ น้อง ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา และ ขยายระยะเวลาการยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทนจาก 1 ปี เป็น 2 ปี

ขยายความคุ้มครอง

1.คุ้มครองเฉพาะลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน

2.ไม่คุ้มครองลูกจ้างที่ไปประจำสำนักงานในสาขาต่างประเทศ

1.ขยายความคุ้มครองไปถึงลูกจ้างชั่วคราวทุกประเภทของส่วนราชการ

2.ขยายความคุ้มครองให้กับลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศ และไปประจำทำงานในต่างประเทศ

ความโปร่งใส ตรวจสอบได้

1.ไม่มีคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อกำกับดูแลความโปร่งใส ได้มาตรฐาน

2.คณะกรรมการประกันสังคม ไม่มีการกำหนดวิธีการได้มา คุณสมบัติลักษณะต้องห้ามและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

3.ที่ปรึกษา มาจากการแต่งตั้งของรัฐมนตรี

4.คณะกรรมการการแพทย์ ไม่มีการกำหนดวิธีการได้มา คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม

1.คณะกรรมการตรวจสอบ กำหนดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน แต่งตั้งเพื่อกำกับดูแลความโปร่งใส ได้มาตรฐาน โดยหลักเกณฑ์ วิธีการได้มา องค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกันสังคม

  1. คณะกรรมการประกันสังคม กำหนดวิธีการได้มา คุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามของกรรมการประกันสังคม และต้องแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ต่อคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  2. ที่ปรึกษา มาจากการสรรหาตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
  3. คณะกรรมการการแพทย์ กำหนดวิธีการได้มา โดยให้มาจากการสรรหาตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกันสังคม กำหนดคุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามของคณะกรรมการการแพทย์

การบริหารการลงทุน

ไม่สามารถลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ได้ เพราะจะทำให้อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวตกเป็นที่ราชพัสดุ

กำหนดให้อสังหาริมทรัพย์ที่สำนักงานประกันสังคมได้มาจากการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนไม่เป็นที่ราชพัสดุ จะมีผลทำให้สำนักงานประกันสังคมสามารถนำเงินกองทุนไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเป็นการลงทุนที่มีผลตอบแทนสูงได้

เงินสมทบ

1.ไม่สามารถลดอัตราเงินสมทบเฉพาะพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติได้หากจะลดอัตราเงินสมทบ จะต้องประกาศลดอัตราเงินสมทบทั่วประเทศ

  1. ไม่ได้กำหนดในกฎหมายให้รัฐบาลร่วมจ่ายเงินสมทบแต่ปัจจุบันรัฐบาลจัดสรรงบประมาณให้เป็นเงินอุดหนุนสำหรับจ่ายเป็นเงินสมทบให้กับผู้ประกันตนมาตรา 40
  2. รัฐบาลสามารถออกประกาศลดหย่อนการออกเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือผู้ประกันตน และนายจ้างให้ได้รับผ่อนปรนการเก็บเงินสมทบในท้องที่ที่เกิดภัยพิบัติ
  3. กำหนดให้รัฐบาลร่วมจ่ายเงินสมทบให้กับผู้ประกันตนมาตรา 40 ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตน
  1. รัฐบาลสามารถออกประกาศลดหย่อนการออกเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือผู้ประกันตน และนายจ้างให้ได้รับผ่อนปรนการเก็บเงินสมทบในท้องที่ที่เกิดภัยพิบัติ

2. กำหนดให้รัฐบาลร่วมจ่ายเงินสมทบให้กับผู้ประกันตนมาตรา 40 ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตน

New jobs every day means new opportunities. Don’t miss out. Create a Job Alert

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

วิธีเช็คเงินออมประกันสังคมของตัวเองต้องทำยังไง

เงินเดือนไม่ถึงเกณฑ์การเสียภาษี ต้องยื่นภาษีหรือเปล่า


ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีทุพพลภาพ/Nathamon channel


@ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีทุพพลภาพ
สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา 40 กรณีทุพพลภาพข้อมูล update 1 เมษายน 2564
ทุพพลภาพ หมายความว่า การสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือของร่างกายหรือสูญเสียภาวะปกติของจิตใจ จนทำให้ความสามารถในการทำงานลดลงถึงขนาดไม่อาจประกอบการงานตามปกติได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการแพทย์กำหนด
เงื่อนไขการเกิดสิทธิประโยชน์ มีดังนี้
1. จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือนใน 10 เดือน ก่อนเป็นผู้ทุพพลภาพ ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 บาท/เดือน
2. จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 12 เดือนใน 20 เดือน ก่อนเป็นผู้ทุพพลภาพ ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 650 บาท/เดือน
3. จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 24 เดือนใน 40 เดือน ก่อนเป็นผู้ทุพพลภาพ ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 800 บาท/เดือน
4. จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 36 เดือนใน 60 เดือน ก่อนเป็นผู้ทุพพลภาพ ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 1,000 บาท/เดือน
สำหรับทางเลือกที่ 1 และทางเลือกที่ 2 : ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ตามเงื่อนไขที่กล่าวมาแล้วเป็นเวลา 15 ปี
หากเสียชีวิตระหว่างรับเงินทดแทนกรณีทุพพลภาพอยู่ จะได้รับเงินค่าทำศพ 25,000 บาท
สำหรับทางเลือกที่ 3 : ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ตามเงื่อนไขการเกิดสิทธิประโยชน์ตลอดชีวิต หากเสียชีวิตระหว่างรับเงินทดแทนกรณีทุพพลภาพอยู่ จะได้รับเงินค่าทำศพ 50,000 บาท
เอกสารและหลักฐานที่ต้องใช้เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทน ประกอบด้วย แบบคำร้องขอรับสิทธิประโยชน์ทดแทน สปส. 201/ม.40, ใบรับรองแพทย์ที่ระบุว่าเป็นบุคคลทุพพลภาพ, สำเนาเวชระเบียน และสำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี (กรณีขอรับเงินผ่านทางบัญชีธนาคารของผู้ประกันตน)
ระยะเวลาดำเนินการ
1. ยื่นคำร้องขอรับสิทธิประโยชน์ทดแทนภายใน 2 ปีนับตั้งแต่วันที่เกิดสิทธิประโยชน์
2. เมื่อได้รับการแจ้งจากประกันสังคม ผู้ประกันตนต้องรับเงินภายใน 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา ที่สะดวก (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)
ประกันสังคมมาตรา40ทุพพลภาพNathamon channel

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีทุพพลภาพ/Nathamon channel

ไม่อยากรับเงินชราภาพเป็นบำนาญ แต่ส่งประกันสังคมครบ 180 เดือนแล้ว จะทำอย่างไร


ข้อมูลในคลิปนี้เหมาะสำหรับ
ผู้ที่มีความกังวลว่าจะเสียชีวิตเร็วแล้วจะไม่คุ้มหากรับบำนาญ

ไม่อยากรับเงินชราภาพเป็นบำนาญ แต่ส่งประกันสังคมครบ 180 เดือนแล้ว จะทำอย่างไร

ข่าวดี! รัฐบาลเตรียมออกมาตรการเยียวยาเพิ่มเดือน ธันวาคม 64 ประกันสังคม


ข่าวดี! รัฐบาลเตรียมออกมาตรการเยียวยาเพิ่มเดือน ธันวาคม 64 ประกันสังคม
Mommyteenews ขอเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะส่งข่าวให้พี่น้องชาวไทยนะคะ ไม่อยากพลาดคลิปข่าวดีๆกดติดตาม และสั่นกระดิ่งไว้เลยค่ะ
ํติดตามได้ 2 ช่องทาง
ํYoutube : https://youtube.com/channel/UC7cfX82vrQ4DWp7iaHPVw
Facebook :
https://www.facebook.com/Mommyteenews/
😊 ใครสนใจอยากเรียนการขายออนไลน์พาทำเพจปังด้วยทีมโค้ชเงินล้าน​ แค่​ 98 บาท
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม
Line: http://bit.ly/2h2kMP

เตรียมออกมาตรการเยียวยาเพิ่มเดือนธันวาคม64ประกันสังคมเยียวยาประกันสังคมจ่ายลูกจ้างและนายจ้างประกันสังคมล่าสุดวันไหนสรุปประชุมเยียายาล่าสุดลุ้นต่อคนละครึ่งเฟส 3เพิ่มเงินเราชนะ/ม.33เพิ่มเงินเยียวยาเยียวยาเพิ่มล่าสุดวันรับเงินเยียวยาล่าสุดเยียวยาโควิดล่าสุดเยียวยาโควิดรอบ3ม.33ล่าสุดยิ่งใช้ยิ่งได้คนละครึ่งล่าสุดเราชนะล่าสุดเยียวยาโควิดล่าสุดบัตรคนจนรับเยียวยาล่าสุดประกันสังคมตรวจโควิดฟรีเยียวยาโควิด เงินเยียวยาประกันสังคม เงินเยียวยาประกันสังคม แจกเงินเยียวยา ประกันสังคม เงินเยียวยาผู้ประกันตน เงินว่างงานช่วงโควิด

ข่าวดี! รัฐบาลเตรียมออกมาตรการเยียวยาเพิ่มเดือน ธันวาคม 64 ประกันสังคม

สิทธิประกันสังคมกรณีทุพพลภาพ ช่อง TPTV


เผยแพร่ 26 มิถุนายน 262

สิทธิประกันสังคมกรณีทุพพลภาพ ช่อง TPTV

เปรียบเทียบกรณีทุพพลภาพ ประกันสังคม 3 มาตรา


หลักเกณฑ์และเงื่อนไข (สำหรับ ม.33 และ ม.39)
ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนทุพพลภาพ
ประโยชน์ทดแทนที่ท่านจะได้รับ
1. เงินทดแทนการขาดรายได้
กรณีทุพพลภาพรุนแรง ได้รับในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเป็นรายเดือน ตลอดชีวิต
กรณีทุพพลภาพไม่รุนแรง ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาตามประกาศฯกำหนด
2. ค่าบริการทางการแพทย์ ดังนี้
• กรณีเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลของรัฐ
ประเภทผู้ป่วยนอก จ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น
ประเภทผู้ป่วยใน จ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้แก่สถานพยาบาลคำนวณตามกลุ่มวินิจฉัยโรค (DRGs)
• กรณีเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลของเอกชน
ประเภทผู้ป่วยนอก จ่ายเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท
ประเภทผู้ป่วยใน จ่ายเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเดือนละ 4,000 บาท
• ค่ารถพยาบาลหรือค่าพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพกรณีเข้ารับบริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายไม่เกินเดือนละ 500 บาท
• ได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเมื่อมีมติให้เป็นผู้ทุพพลภาพ
• ผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพและเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานของสำนักงานประกันสังคมจะจ่ายค่าฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ทุพพลภาพตามหลักเกณฑ์ประกาศฯกำหนด
• ค่าทำศพ
1. กรณีผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพถึงแก่ความตาย ผู้จัดการศพมีสิทธิได้รับค่าทำศพ 40,000 บาท
================
เงื่อนไขการเกิดสิทธิ(สำหรับ ม.40)
จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือนใน 10 เดือน ก่อนเดือนทุพพลภาพ ได้รับ 500 บาท
จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 12 เดือนใน 20 เดือน ก่อนเดือนทุพพลภาพ ได้รับ 650 บาท
จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 24 เดือนใน 40 เดือน ก่อนเดือนทุพพลภาพ ได้รับ 800 บาท
จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 36 เดือนใน 60 เดือน ก่อนเดือนทุพพลภาพ ได้รับ 1,000 บาท
ทางเลือกที่ 1 และทางเลือกที่ 2
ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ต่อเดือน เป็นระยะเวลา 15 ปี
เสียชีวิตระหว่างรับเงินทดแทนการขาดรายได้กรณีทุพพลภาพ ได้รับเงินค่าทำศพ 20,000 บาท
ทางเลือกที่ 3
ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ต่อเดือน ตลอดชีวิต
เสียชีวิตระหว่างรับเงินทดแทนการขาดรายได้กรณีทุพพลภาพ ได้รับเงินค่าทำศพ 40,000 บาท
=============
ขอขอบคุณข้อมูลจาก www.sso.go.th

เปรียบเทียบกรณีทุพพลภาพ ประกันสังคม 3 มาตรา

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สิทธิ ประกัน สังคม กรณี ทุพพลภาพ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *