Skip to content
Home » [NEW] รีวิวสอวนฟิสิกส์+แนะนำหนังสือที่ต้องใช้ ตั้งแต่สอบเข้าจนถึงสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ(TPhO) | ประกาศ ผล สอบ สอ วน – NATAVIGUIDES

[NEW] รีวิวสอวนฟิสิกส์+แนะนำหนังสือที่ต้องใช้ ตั้งแต่สอบเข้าจนถึงสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ(TPhO) | ประกาศ ผล สอบ สอ วน – NATAVIGUIDES

ประกาศ ผล สอบ สอ วน: คุณกำลังดูกระทู้

Table of Contents

รีวิวสอวนฟิสิกส์+แนะนำหนังสือที่ต้องใช้ ตั้งแต่สอบเข้าจนถึงสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ(TPhO)

heart
กระทู้นี้พี่จะแบ่งเป็น 2 ส่วนนะครับ ส่วนแรกคือรีวิวค่ายสอวนรวมถึงบอกเนื้อหาที่ใช้ในแต่ละค่าย และส่วนที่สองคือแนะนำหนังสือที่จำเป็นต้องใช้     หากมีอะไรผิดพลาดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ

ช่วงที่ 1 : รีวิวค่ายสอวน

1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์
แน่นอนว่าก่อนที่จะเข้าค่ายสอวนได้ น้องๆก็ต้องสอบคัดเข้าค่ายให้ได้ก่อน เนื้อหาที่ออกข้อสอบเป็นเนื้อหาม.ปลาย ธรรมดาๆ  (แต่พี่ค่อนข้างมั่นใจว่า มันยากกว่าข้อสอบที่โรงเรียนแน่นอน)    ข้อสอบจะแตกต่างกันในแต่ละปี ขึ้นกับอาจารย์ผู้ออกข้อสอบครับ มีบางปีที่ง่ายและมีบางปีที่ยากสลับกันไป ซึ่งเนื้อหาที่สอบก็อาจแตกต่างกันในแต่ละปีเช่นกัน แต่โดยรวมแล้วไม่เกินความรู้ม.ปลายครับ เนื้อหาที่ออกในปี 2562-2563  มีดังนี้

คณิตศาสตร์ที่ใช้ก็ไม่ยากครับ  มีแค่แก้สมการ แก้สมการกำลังสอง ตรีโกณมิติ พีชคณิต ความรู้เรขาคณิตเบื้องต้น เวกเตอร์ ยังไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องแคลคูลัสครับ
คำแนะนำ: อ่านเนื้อหาม.ปลายที่จะออกสอบทั้งหมด และตะลุยทำโจทย์สอวน.ปีเก่าๆ ให้หมดเลยครับ เอาแบบให้เข้าใจทุกข้อ ถ้าจะให้ดีก็จับเวลาทำเสมือนจริง 3 ชั่วโมงเลย ถึงข้อสอบปีเก่าๆจะออกเนื้อหาไม่ตรงกับในปีปัจจุบันก็ไม่เป็นไร เพราะถือว่าเป็นการฝึกโจทย์สำหรับค่ายต่อๆไปนะครับ ส่วนหนังสือที่พี่จะแนะนำเดี๋ยวจะบอกในส่วนต่อไป (ในช่วงที่ 2)

2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1
การสอนในค่ายจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือช่วงเช้าเรียนทฤษฎี (ประมาณ 3 ชั่วโมง) ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นแลป และ tutorial (รวมอีก 3 ชั่วโมง)  มีสอนเลทบ้างเป็นเรื่องปกติ ถ้าเป็นศูนย์กทม.จะเป็นค่ายแบบไป-กลับ แต่ถ้าศูนย์ต่างจังหวัดน่าจะต้องค้างคืนครับ วันสุดท้ายของการเข้าค่ายจะเป็น สอบทฤษฎี (3 ชั่วโมง) และสอบปฏิบัติ (3 ชั่วโมง)
–   เนื้อหาที่สอนภาคทฤษฎี  
น้องๆที่พึ่งเข้าค่ายนี้มาครั้งแรกอาจจะต้องปรับตัวพอสมควรครับ  เพราะเนื้อหาที่สอนจะเป็นฟิสิกส์ม.ปลายผสมกับฟิสิกส์ของมหาลัยปี1 (มีแคลคูลัสมาเกี่ยวข้อง)  เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับ

–   เนื้อหาที่สอนภาคปฏิบัติ
ภาคบ่ายจะมีการทำทดลองเป็นคู่ ใช้เวลาประมาณ 1.5 ชั่วโมง  สองวันแรกเขาสอนทฤษฎีต่างๆที่จำเป็นต้องใช้ในการทดลองก่อนครับ อ่านมาให้ดีๆนะครับ เพราะการทดลองครั้งถัดๆไป เราต้องใช้ความรู้จากที่เขาสอน (เผลอๆใช้ได้จนถึงค่ายสสวท.เลย) เนื้อหาที่ใช้มีดังนี้

คำแนะนำ :   สำหรับคนที่เคยเข้ามาก่อน ส่วนตัวพี่คิดว่าสามารถผ่านค่ายนี้ได้สบายๆ ด้วยการทำข้อสอบเก่า แต่ถ้าคนไหนไม่เคยเข้ามาก่อนควรตั้งใจเรียนในค่ายดีๆ อ่านชีทที่อาจารย์ให้มาด้วยนะครับ บางครั้งเขาก็ออกคล้ายๆกับในชีท
ปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม คนที่ออกข้อสอบไม่ใช่คนเดียวกับที่สอนครับ ดังนั้นถ้าเขาจะออกอะไรที่ไม่ค่อยตรงกับที่สอนในค่ายก็ อย่าใส่ใจเลยครับ555

3) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 2
การเรียนการสอนในค่ายคล้ายๆกับในค่าย 1 ครับ คือแบ่งเป็นช่วงเช้ากับช่วงบ่าย และวันสุดท้ายก็สอบปลายค่าย แต่เนื้อหาที่เรียนจะต่างกัน ดังนี้
–   เนื้อหาที่สอนภาคทฤษฎี  
เริ่มลึกกว่าค่าย 1 พอสมควร เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับ

กระทู้นี้พี่จะแบ่งเป็น 2 ส่วนนะครับ ส่วนแรกคือและส่วนที่สองคือหากมีอะไรผิดพลาดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์แน่นอนว่าก่อนที่จะเข้าค่ายสอวนได้ น้องๆก็ต้องสอบคัดเข้าค่ายให้ได้ก่อน เนื้อหาที่ออกข้อสอบเป็นเนื้อหาม.ปลาย ธรรมดาๆ (แต่พี่ค่อนข้างมั่นใจว่า มันยากกว่าข้อสอบที่โรงเรียนแน่นอน) ข้อสอบจะแตกต่างกันในแต่ละปี ขึ้นกับอาจารย์ผู้ออกข้อสอบครับ มีบางปีที่ง่ายและมีบางปีที่ยากสลับกันไป ซึ่งเนื้อหาที่สอบก็อาจแตกต่างกันในแต่ละปีเช่นกัน แต่โดยรวมแล้วไม่เกินความรู้ม.ปลายครับ เนื้อหาที่ออกในปี 2562-2563 มีดังนี้คณิตศาสตร์ที่ใช้ก็ไม่ยากครับ มีแค่แก้สมการ แก้สมการกำลังสอง ตรีโกณมิติ พีชคณิต ความรู้เรขาคณิตเบื้องต้น เวกเตอร์ ยังไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องแคลคูลัสครับ: อ่านเนื้อหาม.ปลายที่จะออกสอบทั้งหมด และตะลุยทำโจทย์สอวน.ปีเก่าๆ ให้หมดเลยครับ เอาแบบให้เข้าใจทุกข้อ ถ้าจะให้ดีก็จับเวลาทำเสมือนจริง 3 ชั่วโมงเลย ถึงข้อสอบปีเก่าๆจะออกเนื้อหาไม่ตรงกับในปีปัจจุบันก็ไม่เป็นไร เพราะถือว่าเป็นการฝึกโจทย์สำหรับค่ายต่อๆไปนะครับ ส่วนหนังสือที่พี่จะแนะนำเดี๋ยวจะบอกในส่วนต่อไป (ในช่วงที่ 2)2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1การสอนในค่ายจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือช่วงเช้าเรียนทฤษฎี (ประมาณ 3 ชั่วโมง) ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นแลป และ tutorial (รวมอีก 3 ชั่วโมง) มีสอนเลทบ้างเป็นเรื่องปกติ ถ้าเป็นศูนย์กทม.จะเป็นค่ายแบบไป-กลับ แต่ถ้าศูนย์ต่างจังหวัดน่าจะต้องค้างคืนครับ วันสุดท้ายของการเข้าค่ายจะเป็น(3 ชั่วโมง) และ(3 ชั่วโมง)น้องๆที่พึ่งเข้าค่ายนี้มาครั้งแรกอาจจะต้องปรับตัวพอสมควรครับ เพราะเนื้อหาที่สอนจะเป็นฟิสิกส์ม.ปลายผสมกับฟิสิกส์ของมหาลัยปี1 (มีแคลคูลัสมาเกี่ยวข้อง) เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับภาคบ่ายจะมีการทำทดลองเป็นคู่ ใช้เวลาประมาณ 1.5 ชั่วโมง สองวันแรกเขาสอนทฤษฎีต่างๆที่จำเป็นต้องใช้ในการทดลองก่อนครับ อ่านมาให้ดีๆนะครับ เพราะการทดลองครั้งถัดๆไป เราต้องใช้ความรู้จากที่เขาสอน (เผลอๆใช้ได้จนถึงค่ายสสวท.เลย) เนื้อหาที่ใช้มีดังนี้สำหรับคนที่เคยเข้ามาก่อน ส่วนตัวพี่คิดว่าสามารถผ่านค่ายนี้ได้สบายๆ ด้วยการทำข้อสอบเก่า แต่ถ้าคนไหนไม่เคยเข้ามาก่อนควรตั้งใจเรียนในค่ายดีๆ อ่านชีทที่อาจารย์ให้มาด้วยนะครับ บางครั้งเขาก็ออกคล้ายๆกับในชีทปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม คนที่ออกข้อสอบไม่ใช่คนเดียวกับที่สอนครับ ดังนั้นถ้าเขาจะออกอะไรที่ไม่ค่อยตรงกับที่สอนในค่ายก็ อย่าใส่ใจเลยครับ5553) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 2การเรียนการสอนในค่ายคล้ายๆกับในค่าย 1 ครับ คือแบ่งเป็นช่วงเช้ากับช่วงบ่าย และวันสุดท้ายก็สอบปลายค่าย แต่เนื้อหาที่เรียนจะต่างกัน ดังนี้เริ่มลึกกว่าค่าย 1 พอสมควร เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับ

(ไม่มีข้อ 3. นะ)

–   เนื้อหาที่สอนภาคปฏิบัติ
ทำการทดลองเหมือนๆกับค่าย 1 เลยครับ ต่างกันแค่มันยากขึ้นกว่าเดิม
คำแนะนำ :   ตั้งใจเรียนในค่ายให้มากๆ  ฝึกโจทย์ในชีทที่อาจารย์ให้มา และทำข้อสอบเก่าให้หมดทุกปี ผมเชื่อว่าคนที่ตั้งใจจริงเท่านั้นที่จะผ่านไปค่ายต่อไปได้ ดังนั้นสู้ๆนะครับ
ปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม วันสุดท้ายที่อาจารย์วุทธิพันธุ์สอนตั้งใจเรียนให้ดีๆเลยนะครับ มีหลายครั้งมากที่อาจารย์เขาออกโจทย์ที่สอนวันสุดท้าย (ผมเจอแบบนี้มาตั้งแต่ค่ายสอวน.ยันค่ายสสวท.เลยครับ) แต่พาร์ทของอาจารย์คนนี้ถ้าเก็บเต็มให้ได้จะดีมากครับ ถึงแม้จะอินทิเกรตโหดไปในบางครั้ง

4) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)
ค่ายผู้แทน   TPhO
ก่อนจะสอบ TPhO จะมีการเข้าค่ายเตรียมความพร้อมก่อนไปแข่งประมาณครึ่งเดือน เนื้อหาที่เรียนในค่ายเป็นเนื้อหาเบ็ดเตล็ด ประมาณว่าอาจารย์นึกอะไรขึ้นมาได้เขาก็จะสอน   บางครั้งสอนเลทมากกจนถึงบ่าย เพราะพูดเพลินไปหน่อย ส่วนแลปที่ต้องทำจะเป็นแลป TPhO ปีเก่าๆ เช่น TPhO ตั้งแต่ครั้งที่ 11 ถึงปีล่าสุด แต่สบายใจได้ครับ ไม่มีสอบปลายค่ายอีกแน่นอน แต่อยากให้น้องๆทำแลปด้วยตัวเอง อย่าดูเฉลยก่อนนะ ไม่งั้นเดี๋ยวตอนสอบจริงทำไม่ได้นะครับ (พี่เคยทำแลป TPhO นานถึง 5 ชั่วโมงกว่าๆเลย เพราะคิดไม่ออก ได้กลับเป็นคนสุดท้ายด้วย55)
การสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)
ต้องไปสอบที่มหาลัย (แล้วแต่ว่าปีนั้นมหาลัยไหนจะได้เป็นเจ้าภาพ) ทั้งหมด 5 วัน 
day1 : ปฐมนิเทศนิดๆหน่อยๆ แล้วเขาก็จะปล่อยไปพักที่โรงแรม   แต่!! เขาจะยึดโทรศัพท์ด้วย เพื่อป้องกันการทุจริตซึ่งได้ข่าวว่าเคยเกิดขึ้นมาแล้ว
day2 : สอบทฤษฎีทั้งหมด 4 ชั่วโมง ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง คะแนนภาคทฤษฎีคิดเป็น 60% โดยทั่วไปข้อสอบจะแบ่งเป็น 3 ข้อใหญ่ หลายข้อย่อย แต่ละข้อมักจะเป็นสถานการณ์ต่างๆที่ยาวมากๆ ตั้งใจอ่านโจทย์ดีๆนะ วันแรกนอนให้เยอะๆนะครับ เดี๋ยวไม่มีแรงสอบ พอสอบเสร็จก็กลับโรงแรมเหมือนเดิมเพื่อเตรียมตัวสอบวันต่อไป
day3 : สอบปฏิบัติทั้งหมด 4 ชั่วโมง    ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง   คะแนนภาคปฏิบัติคิดเป็น 40%  พอสอบเสร็จน้องก็จะได้โทรศัพท์คืน หลังจากนี้น้องสามารถไปเที่ยวห้างใกล้ๆมหาลัยได้นะ ไปดูหนังยังได้เลย
day4: วันนี้จะเป็นวันเที่ยวครับ เขาจะพาเด็กแต่ละศูนย์ไปเที่ยวที่ต่างๆในจังหวัดนั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ดีนะ เพราะจะทำให้เราได้รู้จักเพื่อนๆศูนย์อื่นมากขึ้นด้วย
day5: น่าจะเป็นวันที่หลายๆคนเครียดกัน นั่นคือ วันประกาศผลสอบ เขาจะประกาศเรียงตั้งแต่รางวัลเกียรติคุณประกาศ เหรียญทองแดง เหรียญเงิน  จนถึงเหรียญทอง พอประกาศเสร็จแล้วก็กลับบ้านได้เลยครับ ไม่ว่าผลจะออกมาเป็นยังไง จะได้เหรียญหรือไม่ได้เหรียญ ก็ไม่ต้องเสียใจนะครับถ้าเราทำดีที่สุดแล้ว
คำแนะนำ :  ก่อนจะสอบพี่อยากให้น้องๆลองเอาข้อสอบปีเก่าๆมาทำแบบจับเวลาเสมือนจริงดู ทำให้หมดทุกข้อ ให้หมดทุกปีเลยนะครับ เพราะพี่เชื่อว่าน้องหลายๆคนไม่เคยนั่งข้อสอบ 4 ชั่วโมงรวดแบบไม่ลุกไปไหนแบบนี้มาก่อน เนื้อหาที่จะออกอาจจะไม่มีอินทิเกรตถึกๆเท่าค่าย 1 ค่าย 2 แต่ยากสะใจแน่นอนครับ (โจทย์ที่ยากไม่จำเป็นต้องมีอินทิเกรตเสมอไป) และที่สำคัญเลยคือต้องฝึกแลปด้วยนะ ถึงเราจะไม่มีอุปกรณ์ให้ทำจริงๆ ก็ต้องลองฝึกวิเคราะห์แลปอยู่ดี อย่าคิดว่าไม่สำคัญนะครับ เพราะคะแนนมันตัดกันที่จุดทศนิยมเลย

ช่วงที่ 2    : แนะนำหนังสือที่จำเป็นต้องใช้

1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์
 ในส่วนเนื้อหาพี่ไม่รู้จะแนะนำหนังสืออะไรให้น้องจริงๆ เพราะมันใช้ความรู้ม.ปลายพื้นฐาน น้องสามารถอ่านหนังสือเล่มไหนก็ได้ (ที่เขาเขียนดีๆและถูกต้อง)
ถ้าน้องอ่านเนื้อหามาเรียบร้อยแล้ว พี่มีหนังสือโจทย์มาแนะนำ 2 เล่มคือ
   How to HACK POSN Physics   ของ นักเรียนเหรียญทองฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ
เล่มนี้แนะนำมากๆ มันเป็นหนังสือเฉลยข้อสอบสอวน.ฟิสิกส์ตั้งแต่ปี 2547-2558 มีทั้งหมด 12+1 ชุด เฉลยค่อนข้างละเอียดเลยทีเดียว หลังจากน้องทำข้อสอบเก่าในนี้หมดแล้ว ก็ทำข้อสอบเพิ่มเติมท้ายเล่มอีกชุดนึงเลย ขอบอกไว้ก่อนว่าชุดนี้โหดใช้ได้ถ้าเทียบกับคนที่ไม่เคยเข้าค่ายมาก่อน เอาง่ายๆ ถ้าน้องทำชุดนี้ได้คะแนนเยอะ พี่ว่าน้องติดแน่นอนครับ55

–   แนวข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ (กสพท.)  ของ ณัฐวัชร์ มหายศนันท์
ถึงชื่อมันจะเขียนว่าแนวข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ แต่ความจริงแล้วมันมีหลายข้อในนี้ที่เป็นข้อสอบสอวน.ครับ (ความจริงก็คือคนออกข้อสอบสอวน.ศูนย์กทม.เป็นคนเดียวกับคนออกข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ) ข้อสอบในนี้จะมี 6 ชุด ทำชุดละ 1.5 ชั่วโมงนะ

ทำการทดลองเหมือนๆกับค่าย 1 เลยครับ ต่างกันแค่มันยากขึ้นกว่าเดิมตั้งใจเรียนในค่ายให้มากๆ ฝึกโจทย์ในชีทที่อาจารย์ให้มา และทำข้อสอบเก่าให้หมดทุกปี ผมเชื่อว่าคนที่ตั้งใจจริงเท่านั้นที่จะผ่านไปค่ายต่อไปได้ ดังนั้นสู้ๆนะครับปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม วันสุดท้ายที่อาจารย์วุทธิพันธุ์สอนตั้งใจเรียนให้ดีๆเลยนะครับ มีหลายครั้งมากที่อาจารย์เขาออกโจทย์ที่สอนวันสุดท้าย (ผมเจอแบบนี้มาตั้งแต่ค่ายสอวน.ยันค่ายสสวท.เลยครับ) แต่พาร์ทของอาจารย์คนนี้ถ้าเก็บเต็มให้ได้จะดีมากครับ ถึงแม้จะอินทิเกรตโหดไปในบางครั้ง4) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)ก่อนจะสอบ TPhO จะมีการเข้าค่ายเตรียมความพร้อมก่อนไปแข่งประมาณครึ่งเดือน เนื้อหาที่เรียนในค่ายเป็นเนื้อหาเบ็ดเตล็ด ประมาณว่าอาจารย์นึกอะไรขึ้นมาได้เขาก็จะสอน บางครั้งสอนเลทมากกจนถึงบ่าย เพราะพูดเพลินไปหน่อย ส่วนแลปที่ต้องทำจะเป็นแลป TPhO ปีเก่าๆ เช่น TPhO ตั้งแต่ครั้งที่ 11 ถึงปีล่าสุด แต่สบายใจได้ครับ ไม่มีสอบปลายค่ายอีกแน่นอน แต่อยากให้น้องๆทำแลปด้วยตัวเอง อย่าดูเฉลยก่อนนะ ไม่งั้นเดี๋ยวตอนสอบจริงทำไม่ได้นะครับ (พี่เคยทำแลป TPhO นานถึง 5 ชั่วโมงกว่าๆเลย เพราะคิดไม่ออก ได้กลับเป็นคนสุดท้ายด้วย55)ต้องไปสอบที่มหาลัย (แล้วแต่ว่าปีนั้นมหาลัยไหนจะได้เป็นเจ้าภาพ) ทั้งหมด 5 วันday1 : ปฐมนิเทศนิดๆหน่อยๆ แล้วเขาก็จะปล่อยไปพักที่โรงแรมเพื่อป้องกันการทุจริตซึ่งได้ข่าวว่าเคยเกิดขึ้นมาแล้วday2 : สอบทฤษฎีทั้งหมด 4 ชั่วโมง ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง คะแนนภาคทฤษฎีคิดเป็น 60% โดยทั่วไปข้อสอบจะแบ่งเป็น 3 ข้อใหญ่ หลายข้อย่อย แต่ละข้อมักจะเป็นสถานการณ์ต่างๆที่ยาวมากๆ ตั้งใจอ่านโจทย์ดีๆนะ วันแรกนอนให้เยอะๆนะครับ เดี๋ยวไม่มีแรงสอบ พอสอบเสร็จก็กลับโรงแรมเหมือนเดิมเพื่อเตรียมตัวสอบวันต่อไปday3 : สอบปฏิบัติทั้งหมด 4 ชั่วโมง ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง คะแนนภาคปฏิบัติคิดเป็น 40% พอสอบเสร็จน้องก็จะได้โทรศัพท์คืน หลังจากนี้น้องสามารถไปเที่ยวห้างใกล้ๆมหาลัยได้นะ ไปดูหนังยังได้เลยday4: วันนี้จะเป็นวันเที่ยวครับ เขาจะพาเด็กแต่ละศูนย์ไปเที่ยวที่ต่างๆในจังหวัดนั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ดีนะ เพราะจะทำให้เราได้รู้จักเพื่อนๆศูนย์อื่นมากขึ้นด้วยday5: น่าจะเป็นวันที่หลายๆคนเครียดกัน นั่นคือ วันประกาศผลสอบ เขาจะประกาศเรียงตั้งแต่รางวัลเกียรติคุณประกาศ เหรียญทองแดง เหรียญเงิน จนถึงเหรียญทอง พอประกาศเสร็จแล้วก็กลับบ้านได้เลยครับ ไม่ว่าผลจะออกมาเป็นยังไง จะได้เหรียญหรือไม่ได้เหรียญ ก็ไม่ต้องเสียใจนะครับถ้าเราทำดีที่สุดแล้วก่อนจะสอบพี่อยากให้น้องๆลองเอาข้อสอบปีเก่าๆมาทำแบบจับเวลาเสมือนจริงดู ทำให้หมดทุกข้อ ให้หมดทุกปีเลยนะครับ เพราะพี่เชื่อว่าน้องหลายๆคนไม่เคยนั่งข้อสอบ 4 ชั่วโมงรวดแบบไม่ลุกไปไหนแบบนี้มาก่อน เนื้อหาที่จะออกอาจจะไม่มีอินทิเกรตถึกๆเท่าค่าย 1 ค่าย 2 แต่ยากสะใจแน่นอนครับ (โจทย์ที่ยากไม่จำเป็นต้องมีอินทิเกรตเสมอไป) และที่สำคัญเลยคือต้องฝึกแลปด้วยนะ ถึงเราจะไม่มีอุปกรณ์ให้ทำจริงๆ ก็ต้องลองฝึกวิเคราะห์แลปอยู่ดี อย่าคิดว่าไม่สำคัญนะครับ เพราะคะแนนมันตัดกันที่จุดทศนิยมเลย1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์ในส่วนเนื้อหาพี่ไม่รู้จะแนะนำหนังสืออะไรให้น้องจริงๆ เพราะมันใช้ความรู้ม.ปลายพื้นฐาน น้องสามารถอ่านหนังสือเล่มไหนก็ได้ (ที่เขาเขียนดีๆและถูกต้อง)ถ้าน้องอ่านเนื้อหามาเรียบร้อยแล้ว พี่มีหนังสือโจทย์มาแนะนำ 2 เล่มคือของ นักเรียนเหรียญทองฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติเล่มนี้แนะนำมากๆ มันเป็นหนังสือเฉลยข้อสอบสอวน.ฟิสิกส์ตั้งแต่ปี 2547-2558 มีทั้งหมด 12+1 ชุด เฉลยค่อนข้างละเอียดเลยทีเดียว หลังจากน้องทำข้อสอบเก่าในนี้หมดแล้ว ก็ทำข้อสอบเพิ่มเติมท้ายเล่มอีกชุดนึงเลย ขอบอกไว้ก่อนว่าชุดนี้โหดใช้ได้ถ้าเทียบกับคนที่ไม่เคยเข้าค่ายมาก่อน เอาง่ายๆ ถ้าน้องทำชุดนี้ได้คะแนนเยอะ พี่ว่าน้องติดแน่นอนครับ55ของ ณัฐวัชร์ มหายศนันท์ถึงชื่อมันจะเขียนว่าแนวข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ แต่ความจริงแล้วมันมีหลายข้อในนี้ที่เป็นข้อสอบสอวน.ครับ (ความจริงก็คือคนออกข้อสอบสอวน.ศูนย์กทม.เป็นคนเดียวกับคนออกข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ) ข้อสอบในนี้จะมี 6 ชุด ทำชุดละ 1.5 ชั่วโมงนะ

ทั้งสองเล่มนี้หาซื้อได้ที่ศูนย์หนังสือจุฬาเลย

–  เพิ่มเติม  ขัอสอบที่เกี่ยวกับฟิสิกส์โอลิมปิกทุกฉบับตั้งแต่การสอบคัดเข้า สอวน TPhO สสวท APhO IPhO  อยู่ในเว็บไซต์   http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/    ทั้งหมดเลยครับ ซึ่งหนังสือ 2 เล่มที่แนะนำด้านบน ยังไม่มีข้อสอบสอวนระดับชั้นไม่เกินม.5 หรือถ้ามีก็มีไม่ครบ (เมื่อก่อนมีการแบ่งเป็นข้อสอบระดับชั้นไม่เกินม.4 กับไม่เกินม.5 แต่ตอนนี้ไม่มีแล้ว) ดังนั้นน้องสามารถมาหาโจทย์ทำในนี้ได้ แต่ให้ดูดีๆด้วยนะครับ บางข้ออาจจะเฉลยผิดแล้วยังไม่มีคนแก้ เพราะคนที่มาเขียนเฉลยก็เป็นเด็กๆในค่ายสอวนนี่แหละ

ขัอสอบที่เกี่ยวกับฟิสิกส์โอลิมปิกทุกฉบับตั้งแต่การสอบคัดเข้า สอวน TPhO สสวท APhO IPhO อยู่ในเว็บไซต์ http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/ ทั้งหมดเลยครับ ซึ่งหนังสือ 2 เล่มที่แนะนำด้านบน ยังไม่มีข้อสอบสอวนระดับชั้นไม่เกินม.5 หรือถ้ามีก็มีไม่ครบ (เมื่อก่อนมีการแบ่งเป็นข้อสอบระดับชั้นไม่เกินม.4 กับไม่เกินม.5 แต่ตอนนี้ไม่มีแล้ว) ดังนั้นน้องสามารถมาหาโจทย์ทำในนี้ได้บางข้ออาจจะเฉลยผิดแล้วยังไม่มีคนแก้ เพราะคนที่มาเขียนเฉลยก็เป็นเด็กๆในค่ายสอวนนี่แหละ

ข้อนี้เป็นโจทย์ข้อนึงในข้อสอบสอวน.ฟิสิกส์ปี 2562

ขอย้ำนะครับ  ว่าควรทำข้อสอบของทั้งระดับชั้นไม่เกินม.4 และระดับชั้นไม่เกินม.5 ให้หมด ไม่ว่าเราจะอยู่มอไหนก็ตาม  ข้อสอบระดับชั้นไม่เกินม.4  บางปีอาจจะยากกว่าของม.5 ก็ได้นะครับ

2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1 และค่าย 2
ก่อนอื่นเลย พี่จะแนะนำหนังสือ 2 ชุดที่จำเป็นในค่ายพอสมควร อารมณ์ประมาณหนังสือประจำค่ายอะ
–  ชุดหนังสือฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา (University Physics)   ของ Young&Freedman แปลไทยโดย ดร.ปิยพงษ์ สิทธิคง มีทั้งหมด 3 เล่ม

ในค่าย 1 และค่าย 2 พี่แนะนำให้น้องอ่านเนื้อหาจากในนี้ครับ มันเป็นหนังสือฟิสิกส์พื้นฐานของมหาลัยปี 1 ที่เนื้อหาครอบคลุมสอวนทั้งสองค่ายเลย โจทย์ท้ายบทมีเยอะมาก พี่ขอแนะนำให้น้องเลือกทำเฉพาะโจทย์ปัญหาท้าทายนะ  และโจทย์ที่ดูยากๆนะ (เกรงว่าถ้าน้องทำหมด น้องจะอ่านอย่างอื่นไม่ทัน)
ปล. มีหนังสืออีก 2 เล่มที่น้องสามารถเลือกอ่านได้ คือ Physics for scientists and engineers ของ Serway&Jewett กับ  fundamentals of Physics ของ Halliday&Resnick เป็น textbook มหาลัยเหมือนกับของ Young เลย อยู่ที่ความชอบว่าน้องชอบอ่านเล่มไหน
   ชุดหนังสือสอวน.    มี 3 เล่ม คือเล่มกลศาสตร์, เทอร์โมไดนามิกส์ และ แม่เหล็กไฟฟ้า

ทั้ง 3 เล่มนี้แต่งโดยอาจารย์ที่สอนในค่ายครับ ถือว่าค่อนข้างยากทั้ง 3 เล่มเลยเพราะมันมีแคลคูลัสเยอะ โดยเฉพาะเล่มแม่เหล็กไฟฟ้า เล่มนี้มียัน gradient, divergence, curl เลย
เล่มกลศาสตร์: อ่านให้หมดเลย แต่ไม่ต้องอ่านถึงสัมพัทธภาพพิเศษนะ (เรื่องนี้เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวท)
เล่ม เทอร์โมไดนามิกส์: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องทฤษฏีของ Boltzmann (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทเช่นกัน)
เล่มแม่เหล็กไฟฟ้า: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ   (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทอีกแล้ว!!) ความจริงแล้วเรื่อง hysteresis, demagnetization, magnetic circuits ไม่ต้องอ่านก็ได้นะ เพราะมันไม่ออกข้อสอบ
อย่าลืม  ทำข้อสอบท้ายบทให้หมดนะครับ เพราะนี่แหละคือแนวข้อสอบของอาจารย์วุทธิพันธุ์ ป๋าของเรานั่นเอง
–   ทักษะปฎิบัติการฟิสิกส์     ของ นฤมล&ขวัฐ&ธเนศ อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยมหิดล
เล่มนี้ไม่มีอะไรจะพูดเยอะ แต่พี่ว่าควรมีเลยครับ เพราะมันเป็นพื้นฐานแลปทั้งหมดที่ครอบคลุมค่าย 1 ค่าย 2 จนถึงค่ายลึกๆ

–   หนังสือ calculus
อาจจะยังไม่จำเป็นต้องอ่าน เพราะแค่เรียนแคลคูลัสในค่าย+อ่านแคลคูลัสตามชีทต่างๆที่อาจารย์แจกมาก็เพียงพอแล้วครับ แต่ถ้าหากมีคนสนใจก็สามารถอ่านเล่ม Thomas’ calculus หรือ calculus ของ James Stewart ได้ (แนะนำว่าไม่ต้องอ่านละเอียดมากนะครับ เอาแค่ที่ใช้ในฟิสิกส์ก็พอ)
–   ข้อสอบเก่าจากเว็บ mpec 
อันนี้ขาดไม่ได้เลย ถ้าอยากไปค่ายลึกๆก็ทำทุกชุดเลยนะ ไม่ใช่ว่าอ่านเนื้อหามาหมดแล้ว ก็เลยไม่ทำโจทย์ ไม่ได้นะครับ เพราะยิ่งเราเจอโจทย์มามากเท่าไหร่ เราก็จะมีประสบการณ์มากเท่านั้น และโจทย์ยังเป็นตัวบอกว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอีกด้วย
ข้อสอบปลายค่าย 1 ปี 2559-2560  (ข้อพิเศษ)

อย่าดูถูกโจทย์ปลายค่าย 1 นะครับ ข้อนี้ถ้าแก้ตามวิธีที่อาจารย์ให้มา พี่ว่ามันจะยากและยาวมาก 
Hint: ใช้หลักอนุรักษ์พลังงานและหลักอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้นจะดีกว่า ไม่งั้นลองดูเฉลยที่ป๋าทำ

ส่วนอันนี้คือข้อสอบปลายค่าย 2 ปี 2554-2555 ที่ค่อนข้างยากอีกข้อนึง ถ้าน้องทำได้ น้องเก่งมากครับ

3) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)
   ข้อสอบเก่าจากเว็บ mpec 
อย่างที่เคยบอกไปแล้ว ให้ฝึกทำข้อสอบเก่าๆจากในนี้นะครับ ถ้าน้องๆคนไหนทำ TPhO จนหมด ไม่มีอะไรจะทำต่อแล้ว ก็ทำข้อสอบปลายค่าย1 สสวท.ต่อได้เลยนะ แต่พี่คิดว่าไม่น่ามีคนแบบนี้หรอก(มั้ง)

2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1 และค่าย 2ก่อนอื่นเลย พี่จะแนะนำหนังสือ 2 ชุดที่จำเป็นในค่ายพอสมควร อารมณ์ประมาณหนังสือประจำค่ายอะของ Young&Freedman แปลไทยโดย ดร.ปิยพงษ์ สิทธิคง มีทั้งหมด 3 เล่มในค่าย 1 และค่าย 2 พี่แนะนำให้น้องอ่านเนื้อหาจากในนี้ครับ มันเป็นหนังสือฟิสิกส์พื้นฐานของมหาลัยปี 1 ที่เนื้อหาครอบคลุมสอวนทั้งสองค่ายเลย โจทย์ท้ายบทมีเยอะมาก พี่ขอแนะนำให้น้องเลือกทำเฉพาะโจทย์ปัญหาท้าทายนะ และโจทย์ที่ดูยากๆนะ (เกรงว่าถ้าน้องทำหมด น้องจะอ่านอย่างอื่นไม่ทัน)ปล. มีหนังสืออีก 2 เล่มที่น้องสามารถเลือกอ่านได้ คือ Physics for scientists and engineers ของ Serway&Jewett กับ fundamentals of Physics ของ Halliday&Resnick เป็น textbook มหาลัยเหมือนกับของ Young เลย อยู่ที่ความชอบว่าน้องชอบอ่านเล่มไหนมี 3 เล่ม คือเล่มกลศาสตร์, เทอร์โมไดนามิกส์ และ แม่เหล็กไฟฟ้าทั้ง 3 เล่มนี้แต่งโดยอาจารย์ที่สอนในค่ายครับ ถือว่าค่อนข้างยากทั้ง 3 เล่มเลยเพราะมันมีแคลคูลัสเยอะ โดยเฉพาะเล่มแม่เหล็กไฟฟ้า เล่มนี้มียัน gradient, divergence, curl เลยเล่มกลศาสตร์: อ่านให้หมดเลย แต่ไม่ต้องอ่านถึงสัมพัทธภาพพิเศษนะ (เรื่องนี้เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวท)เล่ม เทอร์โมไดนามิกส์: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องทฤษฏีของ Boltzmann (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทเช่นกัน)เล่มแม่เหล็กไฟฟ้า: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทอีกแล้ว!!) ความจริงแล้วเรื่อง hysteresis, demagnetization, magnetic circuits ไม่ต้องอ่านก็ได้นะ เพราะมันไม่ออกข้อสอบทำข้อสอบท้ายบทให้หมดนะครับ เพราะนี่แหละคือแนวข้อสอบของอาจารย์วุทธิพันธุ์ ป๋าของเรานั่นเองของ นฤมล&ขวัฐ&ธเนศ อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยมหิดลเล่มนี้ไม่มีอะไรจะพูดเยอะ แต่พี่ว่าควรมีเลยครับ เพราะมันเป็นพื้นฐานแลปทั้งหมดที่ครอบคลุมค่าย 1 ค่าย 2 จนถึงค่ายลึกๆอาจจะยังไม่จำเป็นต้องอ่าน เพราะแค่เรียนแคลคูลัสในค่าย+อ่านแคลคูลัสตามชีทต่างๆที่อาจารย์แจกมาก็เพียงพอแล้วครับ แต่ถ้าหากมีคนสนใจก็สามารถอ่านเล่ม Thomas’ calculus หรือ calculus ของ James Stewart ได้ (แนะนำว่าไม่ต้องอ่านละเอียดมากนะครับ เอาแค่ที่ใช้ในฟิสิกส์ก็พอ)อันนี้ขาดไม่ได้เลย ถ้าอยากไปค่ายลึกๆก็ทำทุกชุดเลยนะ ไม่ใช่ว่าอ่านเนื้อหามาหมดแล้ว ก็เลยไม่ทำโจทย์ ไม่ได้นะครับ เพราะยิ่งเราเจอโจทย์มามากเท่าไหร่ เราก็จะมีประสบการณ์มากเท่านั้น และโจทย์ยังเป็นตัวบอกว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอีกด้วย3) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)อย่างที่เคยบอกไปแล้ว ให้ฝึกทำข้อสอบเก่าๆจากในนี้นะครับ ถ้าน้องๆคนไหนทำ TPhO จนหมด ไม่มีอะไรจะทำต่อแล้ว ก็ทำข้อสอบปลายค่าย1 สสวท.ต่อได้เลยนะ แต่พี่คิดว่าไม่น่ามีคนแบบนี้หรอก(มั้ง)

ข้อสอบ TPhO ครั้งที่ 17 สอบที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สังเกตว่าโจทย์จะยาวมากและชอบถามเป็นข้อย่อยไปเรื่อยๆ พี่ว่าตรงนี้น้องต้องระวังดีๆเลย เพราะถ้าน้องทำข้อย่อยแรกผิด ข้อถัดๆไปน้องอาจจะทำผิดหมด

และข้อสังเกตอีกอย่าง คือโจทย์ที่ยากไม่จำเป็นต้องมีแคลคูลัส
มีจุดที่น่าสนใจคือ บางครั้งโจทย์ TPhO ก็มีข้อผิดพลาดได้ เช่น จากรูปด้านบน a+a^2+a^3+… ไม่เท่ากับ 1/(1-a) นะครับ ดังนั้นเวลาทำข้อสอบ ต้องรอบคอบนิดนึง

หนังสือเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่สนใจ
–   Problems in general Physics  ของ IE Irodov
อันนี้เป็นหนังสือโจทย์ในตำนานของเด็กค่ายฟิสิกส์ มีโจทย์เยอะมากกก เป็น 1000 ข้อเลย เฉลยภาษาอังกฤษน้องสามารถหาตามเว็บต่างๆได้ ส่วนเฉลยภาษาไทย(บางข้อ) มีอยู่ในเว็บ mpec กดเข้าไปตรง “โครงการ Irodov”
   Introduction to classical mechanics with problems and solutions    ของ David Morin
ส่วนตัวชอบเล่มนี้มากเพราะในค่ายสสวทอ่านมันบ่อย ฝึกทำโจทย์จากในเล่มนี้ได้นะ โจทย์ค่อนข้างยากเลย แต่จะมีโจทย์แค่กลศาสตร์
   Introduction to Electrodynamics   ของ  David J. Griffiths
เป็นหนังสือเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่ค่อนข้างยากอีกเล่มนึง ถ้าเป็นระดับสอวน. พี่แนะนำให้อ่านบท Electrostatics,  Magnetostatics กับ Electrodynamics นะ ส่วนเรื่อง vector calculus น้องยังไม่ต้องสนใจในตอนนี้ ข้ามได้ข้ามเลย แต่ถ้าจะอ่านเอามันส์ก็ไม่เป็นไร

ก่อนจะจากกันไปก็ขอให้น้องโชคดีกับการสอบสอวน.นะครับ ในฐานะคนที่มีประสบการณ์ในวงการนี้มาหลายปี ก็ขอบอกเลยว่า  คนที่จะเข้าค่ายลึกๆได้ หรือได้เหรียญรางวัลมากมายต้องเป็นคนที่จริงจังและแบ่งเวลาเป็นครับ เราต้องสอบปลายค่ายหรือเข้าค่ายต่างๆ พร้อมๆกับเรียนที่โรงเรียนไปด้วย บางครั้งอาจจะทำให้น้องๆหลายคนเหนื่อยและละความพยายามไป ซึ่งพี่ขอบอกเลยว่ามันเหนื่อยจริงๆครับ มีอุปสรรคมากมาย เช่น ต้องมาตามการบ้านย้อนหลังเพราะติดค่ายที่สสวท. , ทำโจทย์ไม่ได้จนหมดกำลังใจ หรือการบ้านที่โรงเรียนเยอะจนไม่มีเวลาอ่านฟิสิกส์ แต่เชื่อเถอะครับว่าถ้าน้องจะผ่านมันไปได้ แล้วพอมองย้อนกลับมา น้องจะมีความสุขที่ได้เรียนสิ่งที่ตัวเองชอบ มีความสุขที่ได้พยายามฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆมา แม้จะไม่เคยได้เหรียญรางวัลอะไรเลยก็ตาม..

ของ IE Irodovอันนี้เป็นหนังสือโจทย์ในตำนานของเด็กค่ายฟิสิกส์ มีโจทย์เยอะมากกก เป็น 1000 ข้อเลย เฉลยภาษาอังกฤษน้องสามารถหาตามเว็บต่างๆได้ ส่วนเฉลยภาษาไทย(บางข้อ) มีอยู่ในเว็บ mpec กดเข้าไปตรง “โครงการ Irodov”ของ David Morinส่วนตัวชอบเล่มนี้มากเพราะในค่ายสสวทอ่านมันบ่อย ฝึกทำโจทย์จากในเล่มนี้ได้นะ โจทย์ค่อนข้างยากเลย แต่จะมีโจทย์แค่กลศาสตร์ของ David J. Griffithsเป็นหนังสือเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่ค่อนข้างยากอีกเล่มนึง ถ้าเป็นระดับสอวน. พี่แนะนำให้อ่านบท Electrostatics, Magnetostatics กับ Electrodynamics นะ ส่วนเรื่อง vector calculus น้องยังไม่ต้องสนใจในตอนนี้ ข้ามได้ข้ามเลย แต่ถ้าจะอ่านเอามันส์ก็ไม่เป็นไรก่อนจะจากกันไปก็ขอให้น้องโชคดีกับการสอบสอวน.นะครับ ในฐานะคนที่มีประสบการณ์ในวงการนี้มาหลายปี ก็ขอบอกเลยว่า คนที่จะเข้าค่ายลึกๆได้ หรือได้เหรียญรางวัลมากมายต้องเป็นคนที่จริงจังและแบ่งเวลาเป็นครับ เราต้องสอบปลายค่ายหรือเข้าค่ายต่างๆ พร้อมๆกับเรียนที่โรงเรียนไปด้วย บางครั้งอาจจะทำให้น้องๆหลายคนเหนื่อยและละความพยายามไป ซึ่งพี่ขอบอกเลยว่ามันเหนื่อยจริงๆครับ มีอุปสรรคมากมาย เช่น ต้องมาตามการบ้านย้อนหลังเพราะติดค่ายที่สสวท. , ทำโจทย์ไม่ได้จนหมดกำลังใจ หรือการบ้านที่โรงเรียนเยอะจนไม่มีเวลาอ่านฟิสิกส์ แต่เชื่อเถอะครับว่าถ้าน้องจะผ่านมันไปได้ แล้วพอมองย้อนกลับมา น้องจะมีความสุขที่ได้เรียนสิ่งที่ตัวเองชอบ มีความสุขที่ได้พยายามฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆมา แม้จะไม่เคยได้เหรียญรางวัลอะไรเลยก็ตาม..

[NEW] รีวิวสอวนฟิสิกส์+แนะนำหนังสือที่ต้องใช้ ตั้งแต่สอบเข้าจนถึงสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ(TPhO) | ประกาศ ผล สอบ สอ วน – NATAVIGUIDES

รีวิวสอวนฟิสิกส์+แนะนำหนังสือที่ต้องใช้ ตั้งแต่สอบเข้าจนถึงสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ(TPhO)

heart
กระทู้นี้พี่จะแบ่งเป็น 2 ส่วนนะครับ ส่วนแรกคือรีวิวค่ายสอวนรวมถึงบอกเนื้อหาที่ใช้ในแต่ละค่าย และส่วนที่สองคือแนะนำหนังสือที่จำเป็นต้องใช้     หากมีอะไรผิดพลาดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ

ช่วงที่ 1 : รีวิวค่ายสอวน

1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์
แน่นอนว่าก่อนที่จะเข้าค่ายสอวนได้ น้องๆก็ต้องสอบคัดเข้าค่ายให้ได้ก่อน เนื้อหาที่ออกข้อสอบเป็นเนื้อหาม.ปลาย ธรรมดาๆ  (แต่พี่ค่อนข้างมั่นใจว่า มันยากกว่าข้อสอบที่โรงเรียนแน่นอน)    ข้อสอบจะแตกต่างกันในแต่ละปี ขึ้นกับอาจารย์ผู้ออกข้อสอบครับ มีบางปีที่ง่ายและมีบางปีที่ยากสลับกันไป ซึ่งเนื้อหาที่สอบก็อาจแตกต่างกันในแต่ละปีเช่นกัน แต่โดยรวมแล้วไม่เกินความรู้ม.ปลายครับ เนื้อหาที่ออกในปี 2562-2563  มีดังนี้

คณิตศาสตร์ที่ใช้ก็ไม่ยากครับ  มีแค่แก้สมการ แก้สมการกำลังสอง ตรีโกณมิติ พีชคณิต ความรู้เรขาคณิตเบื้องต้น เวกเตอร์ ยังไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องแคลคูลัสครับ
คำแนะนำ: อ่านเนื้อหาม.ปลายที่จะออกสอบทั้งหมด และตะลุยทำโจทย์สอวน.ปีเก่าๆ ให้หมดเลยครับ เอาแบบให้เข้าใจทุกข้อ ถ้าจะให้ดีก็จับเวลาทำเสมือนจริง 3 ชั่วโมงเลย ถึงข้อสอบปีเก่าๆจะออกเนื้อหาไม่ตรงกับในปีปัจจุบันก็ไม่เป็นไร เพราะถือว่าเป็นการฝึกโจทย์สำหรับค่ายต่อๆไปนะครับ ส่วนหนังสือที่พี่จะแนะนำเดี๋ยวจะบอกในส่วนต่อไป (ในช่วงที่ 2)

2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1
การสอนในค่ายจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือช่วงเช้าเรียนทฤษฎี (ประมาณ 3 ชั่วโมง) ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นแลป และ tutorial (รวมอีก 3 ชั่วโมง)  มีสอนเลทบ้างเป็นเรื่องปกติ ถ้าเป็นศูนย์กทม.จะเป็นค่ายแบบไป-กลับ แต่ถ้าศูนย์ต่างจังหวัดน่าจะต้องค้างคืนครับ วันสุดท้ายของการเข้าค่ายจะเป็น สอบทฤษฎี (3 ชั่วโมง) และสอบปฏิบัติ (3 ชั่วโมง)
–   เนื้อหาที่สอนภาคทฤษฎี  
น้องๆที่พึ่งเข้าค่ายนี้มาครั้งแรกอาจจะต้องปรับตัวพอสมควรครับ  เพราะเนื้อหาที่สอนจะเป็นฟิสิกส์ม.ปลายผสมกับฟิสิกส์ของมหาลัยปี1 (มีแคลคูลัสมาเกี่ยวข้อง)  เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับ

–   เนื้อหาที่สอนภาคปฏิบัติ
ภาคบ่ายจะมีการทำทดลองเป็นคู่ ใช้เวลาประมาณ 1.5 ชั่วโมง  สองวันแรกเขาสอนทฤษฎีต่างๆที่จำเป็นต้องใช้ในการทดลองก่อนครับ อ่านมาให้ดีๆนะครับ เพราะการทดลองครั้งถัดๆไป เราต้องใช้ความรู้จากที่เขาสอน (เผลอๆใช้ได้จนถึงค่ายสสวท.เลย) เนื้อหาที่ใช้มีดังนี้

คำแนะนำ :   สำหรับคนที่เคยเข้ามาก่อน ส่วนตัวพี่คิดว่าสามารถผ่านค่ายนี้ได้สบายๆ ด้วยการทำข้อสอบเก่า แต่ถ้าคนไหนไม่เคยเข้ามาก่อนควรตั้งใจเรียนในค่ายดีๆ อ่านชีทที่อาจารย์ให้มาด้วยนะครับ บางครั้งเขาก็ออกคล้ายๆกับในชีท
ปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม คนที่ออกข้อสอบไม่ใช่คนเดียวกับที่สอนครับ ดังนั้นถ้าเขาจะออกอะไรที่ไม่ค่อยตรงกับที่สอนในค่ายก็ อย่าใส่ใจเลยครับ555

3) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 2
การเรียนการสอนในค่ายคล้ายๆกับในค่าย 1 ครับ คือแบ่งเป็นช่วงเช้ากับช่วงบ่าย และวันสุดท้ายก็สอบปลายค่าย แต่เนื้อหาที่เรียนจะต่างกัน ดังนี้
–   เนื้อหาที่สอนภาคทฤษฎี  
เริ่มลึกกว่าค่าย 1 พอสมควร เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับ

กระทู้นี้พี่จะแบ่งเป็น 2 ส่วนนะครับ ส่วนแรกคือและส่วนที่สองคือหากมีอะไรผิดพลาดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์แน่นอนว่าก่อนที่จะเข้าค่ายสอวนได้ น้องๆก็ต้องสอบคัดเข้าค่ายให้ได้ก่อน เนื้อหาที่ออกข้อสอบเป็นเนื้อหาม.ปลาย ธรรมดาๆ (แต่พี่ค่อนข้างมั่นใจว่า มันยากกว่าข้อสอบที่โรงเรียนแน่นอน) ข้อสอบจะแตกต่างกันในแต่ละปี ขึ้นกับอาจารย์ผู้ออกข้อสอบครับ มีบางปีที่ง่ายและมีบางปีที่ยากสลับกันไป ซึ่งเนื้อหาที่สอบก็อาจแตกต่างกันในแต่ละปีเช่นกัน แต่โดยรวมแล้วไม่เกินความรู้ม.ปลายครับ เนื้อหาที่ออกในปี 2562-2563 มีดังนี้คณิตศาสตร์ที่ใช้ก็ไม่ยากครับ มีแค่แก้สมการ แก้สมการกำลังสอง ตรีโกณมิติ พีชคณิต ความรู้เรขาคณิตเบื้องต้น เวกเตอร์ ยังไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องแคลคูลัสครับ: อ่านเนื้อหาม.ปลายที่จะออกสอบทั้งหมด และตะลุยทำโจทย์สอวน.ปีเก่าๆ ให้หมดเลยครับ เอาแบบให้เข้าใจทุกข้อ ถ้าจะให้ดีก็จับเวลาทำเสมือนจริง 3 ชั่วโมงเลย ถึงข้อสอบปีเก่าๆจะออกเนื้อหาไม่ตรงกับในปีปัจจุบันก็ไม่เป็นไร เพราะถือว่าเป็นการฝึกโจทย์สำหรับค่ายต่อๆไปนะครับ ส่วนหนังสือที่พี่จะแนะนำเดี๋ยวจะบอกในส่วนต่อไป (ในช่วงที่ 2)2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1การสอนในค่ายจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือช่วงเช้าเรียนทฤษฎี (ประมาณ 3 ชั่วโมง) ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นแลป และ tutorial (รวมอีก 3 ชั่วโมง) มีสอนเลทบ้างเป็นเรื่องปกติ ถ้าเป็นศูนย์กทม.จะเป็นค่ายแบบไป-กลับ แต่ถ้าศูนย์ต่างจังหวัดน่าจะต้องค้างคืนครับ วันสุดท้ายของการเข้าค่ายจะเป็น(3 ชั่วโมง) และ(3 ชั่วโมง)น้องๆที่พึ่งเข้าค่ายนี้มาครั้งแรกอาจจะต้องปรับตัวพอสมควรครับ เพราะเนื้อหาที่สอนจะเป็นฟิสิกส์ม.ปลายผสมกับฟิสิกส์ของมหาลัยปี1 (มีแคลคูลัสมาเกี่ยวข้อง) เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับภาคบ่ายจะมีการทำทดลองเป็นคู่ ใช้เวลาประมาณ 1.5 ชั่วโมง สองวันแรกเขาสอนทฤษฎีต่างๆที่จำเป็นต้องใช้ในการทดลองก่อนครับ อ่านมาให้ดีๆนะครับ เพราะการทดลองครั้งถัดๆไป เราต้องใช้ความรู้จากที่เขาสอน (เผลอๆใช้ได้จนถึงค่ายสสวท.เลย) เนื้อหาที่ใช้มีดังนี้สำหรับคนที่เคยเข้ามาก่อน ส่วนตัวพี่คิดว่าสามารถผ่านค่ายนี้ได้สบายๆ ด้วยการทำข้อสอบเก่า แต่ถ้าคนไหนไม่เคยเข้ามาก่อนควรตั้งใจเรียนในค่ายดีๆ อ่านชีทที่อาจารย์ให้มาด้วยนะครับ บางครั้งเขาก็ออกคล้ายๆกับในชีทปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม คนที่ออกข้อสอบไม่ใช่คนเดียวกับที่สอนครับ ดังนั้นถ้าเขาจะออกอะไรที่ไม่ค่อยตรงกับที่สอนในค่ายก็ อย่าใส่ใจเลยครับ5553) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 2การเรียนการสอนในค่ายคล้ายๆกับในค่าย 1 ครับ คือแบ่งเป็นช่วงเช้ากับช่วงบ่าย และวันสุดท้ายก็สอบปลายค่าย แต่เนื้อหาที่เรียนจะต่างกัน ดังนี้เริ่มลึกกว่าค่าย 1 พอสมควร เนื้อหาที่ออกมีดังนี้ครับ

(ไม่มีข้อ 3. นะ)

–   เนื้อหาที่สอนภาคปฏิบัติ
ทำการทดลองเหมือนๆกับค่าย 1 เลยครับ ต่างกันแค่มันยากขึ้นกว่าเดิม
คำแนะนำ :   ตั้งใจเรียนในค่ายให้มากๆ  ฝึกโจทย์ในชีทที่อาจารย์ให้มา และทำข้อสอบเก่าให้หมดทุกปี ผมเชื่อว่าคนที่ตั้งใจจริงเท่านั้นที่จะผ่านไปค่ายต่อไปได้ ดังนั้นสู้ๆนะครับ
ปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม วันสุดท้ายที่อาจารย์วุทธิพันธุ์สอนตั้งใจเรียนให้ดีๆเลยนะครับ มีหลายครั้งมากที่อาจารย์เขาออกโจทย์ที่สอนวันสุดท้าย (ผมเจอแบบนี้มาตั้งแต่ค่ายสอวน.ยันค่ายสสวท.เลยครับ) แต่พาร์ทของอาจารย์คนนี้ถ้าเก็บเต็มให้ได้จะดีมากครับ ถึงแม้จะอินทิเกรตโหดไปในบางครั้ง

4) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)
ค่ายผู้แทน   TPhO
ก่อนจะสอบ TPhO จะมีการเข้าค่ายเตรียมความพร้อมก่อนไปแข่งประมาณครึ่งเดือน เนื้อหาที่เรียนในค่ายเป็นเนื้อหาเบ็ดเตล็ด ประมาณว่าอาจารย์นึกอะไรขึ้นมาได้เขาก็จะสอน   บางครั้งสอนเลทมากกจนถึงบ่าย เพราะพูดเพลินไปหน่อย ส่วนแลปที่ต้องทำจะเป็นแลป TPhO ปีเก่าๆ เช่น TPhO ตั้งแต่ครั้งที่ 11 ถึงปีล่าสุด แต่สบายใจได้ครับ ไม่มีสอบปลายค่ายอีกแน่นอน แต่อยากให้น้องๆทำแลปด้วยตัวเอง อย่าดูเฉลยก่อนนะ ไม่งั้นเดี๋ยวตอนสอบจริงทำไม่ได้นะครับ (พี่เคยทำแลป TPhO นานถึง 5 ชั่วโมงกว่าๆเลย เพราะคิดไม่ออก ได้กลับเป็นคนสุดท้ายด้วย55)
การสอบฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)
ต้องไปสอบที่มหาลัย (แล้วแต่ว่าปีนั้นมหาลัยไหนจะได้เป็นเจ้าภาพ) ทั้งหมด 5 วัน 
day1 : ปฐมนิเทศนิดๆหน่อยๆ แล้วเขาก็จะปล่อยไปพักที่โรงแรม   แต่!! เขาจะยึดโทรศัพท์ด้วย เพื่อป้องกันการทุจริตซึ่งได้ข่าวว่าเคยเกิดขึ้นมาแล้ว
day2 : สอบทฤษฎีทั้งหมด 4 ชั่วโมง ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง คะแนนภาคทฤษฎีคิดเป็น 60% โดยทั่วไปข้อสอบจะแบ่งเป็น 3 ข้อใหญ่ หลายข้อย่อย แต่ละข้อมักจะเป็นสถานการณ์ต่างๆที่ยาวมากๆ ตั้งใจอ่านโจทย์ดีๆนะ วันแรกนอนให้เยอะๆนะครับ เดี๋ยวไม่มีแรงสอบ พอสอบเสร็จก็กลับโรงแรมเหมือนเดิมเพื่อเตรียมตัวสอบวันต่อไป
day3 : สอบปฏิบัติทั้งหมด 4 ชั่วโมง    ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง   คะแนนภาคปฏิบัติคิดเป็น 40%  พอสอบเสร็จน้องก็จะได้โทรศัพท์คืน หลังจากนี้น้องสามารถไปเที่ยวห้างใกล้ๆมหาลัยได้นะ ไปดูหนังยังได้เลย
day4: วันนี้จะเป็นวันเที่ยวครับ เขาจะพาเด็กแต่ละศูนย์ไปเที่ยวที่ต่างๆในจังหวัดนั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ดีนะ เพราะจะทำให้เราได้รู้จักเพื่อนๆศูนย์อื่นมากขึ้นด้วย
day5: น่าจะเป็นวันที่หลายๆคนเครียดกัน นั่นคือ วันประกาศผลสอบ เขาจะประกาศเรียงตั้งแต่รางวัลเกียรติคุณประกาศ เหรียญทองแดง เหรียญเงิน  จนถึงเหรียญทอง พอประกาศเสร็จแล้วก็กลับบ้านได้เลยครับ ไม่ว่าผลจะออกมาเป็นยังไง จะได้เหรียญหรือไม่ได้เหรียญ ก็ไม่ต้องเสียใจนะครับถ้าเราทำดีที่สุดแล้ว
คำแนะนำ :  ก่อนจะสอบพี่อยากให้น้องๆลองเอาข้อสอบปีเก่าๆมาทำแบบจับเวลาเสมือนจริงดู ทำให้หมดทุกข้อ ให้หมดทุกปีเลยนะครับ เพราะพี่เชื่อว่าน้องหลายๆคนไม่เคยนั่งข้อสอบ 4 ชั่วโมงรวดแบบไม่ลุกไปไหนแบบนี้มาก่อน เนื้อหาที่จะออกอาจจะไม่มีอินทิเกรตถึกๆเท่าค่าย 1 ค่าย 2 แต่ยากสะใจแน่นอนครับ (โจทย์ที่ยากไม่จำเป็นต้องมีอินทิเกรตเสมอไป) และที่สำคัญเลยคือต้องฝึกแลปด้วยนะ ถึงเราจะไม่มีอุปกรณ์ให้ทำจริงๆ ก็ต้องลองฝึกวิเคราะห์แลปอยู่ดี อย่าคิดว่าไม่สำคัญนะครับ เพราะคะแนนมันตัดกันที่จุดทศนิยมเลย

ช่วงที่ 2    : แนะนำหนังสือที่จำเป็นต้องใช้

1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์
 ในส่วนเนื้อหาพี่ไม่รู้จะแนะนำหนังสืออะไรให้น้องจริงๆ เพราะมันใช้ความรู้ม.ปลายพื้นฐาน น้องสามารถอ่านหนังสือเล่มไหนก็ได้ (ที่เขาเขียนดีๆและถูกต้อง)
ถ้าน้องอ่านเนื้อหามาเรียบร้อยแล้ว พี่มีหนังสือโจทย์มาแนะนำ 2 เล่มคือ
   How to HACK POSN Physics   ของ นักเรียนเหรียญทองฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ
เล่มนี้แนะนำมากๆ มันเป็นหนังสือเฉลยข้อสอบสอวน.ฟิสิกส์ตั้งแต่ปี 2547-2558 มีทั้งหมด 12+1 ชุด เฉลยค่อนข้างละเอียดเลยทีเดียว หลังจากน้องทำข้อสอบเก่าในนี้หมดแล้ว ก็ทำข้อสอบเพิ่มเติมท้ายเล่มอีกชุดนึงเลย ขอบอกไว้ก่อนว่าชุดนี้โหดใช้ได้ถ้าเทียบกับคนที่ไม่เคยเข้าค่ายมาก่อน เอาง่ายๆ ถ้าน้องทำชุดนี้ได้คะแนนเยอะ พี่ว่าน้องติดแน่นอนครับ55

–   แนวข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ (กสพท.)  ของ ณัฐวัชร์ มหายศนันท์
ถึงชื่อมันจะเขียนว่าแนวข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ แต่ความจริงแล้วมันมีหลายข้อในนี้ที่เป็นข้อสอบสอวน.ครับ (ความจริงก็คือคนออกข้อสอบสอวน.ศูนย์กทม.เป็นคนเดียวกับคนออกข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ) ข้อสอบในนี้จะมี 6 ชุด ทำชุดละ 1.5 ชั่วโมงนะ

ทำการทดลองเหมือนๆกับค่าย 1 เลยครับ ต่างกันแค่มันยากขึ้นกว่าเดิมตั้งใจเรียนในค่ายให้มากๆ ฝึกโจทย์ในชีทที่อาจารย์ให้มา และทำข้อสอบเก่าให้หมดทุกปี ผมเชื่อว่าคนที่ตั้งใจจริงเท่านั้นที่จะผ่านไปค่ายต่อไปได้ ดังนั้นสู้ๆนะครับปล. สำหรับศูนย์เตรียมอุดม วันสุดท้ายที่อาจารย์วุทธิพันธุ์สอนตั้งใจเรียนให้ดีๆเลยนะครับ มีหลายครั้งมากที่อาจารย์เขาออกโจทย์ที่สอนวันสุดท้าย (ผมเจอแบบนี้มาตั้งแต่ค่ายสอวน.ยันค่ายสสวท.เลยครับ) แต่พาร์ทของอาจารย์คนนี้ถ้าเก็บเต็มให้ได้จะดีมากครับ ถึงแม้จะอินทิเกรตโหดไปในบางครั้ง4) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)ก่อนจะสอบ TPhO จะมีการเข้าค่ายเตรียมความพร้อมก่อนไปแข่งประมาณครึ่งเดือน เนื้อหาที่เรียนในค่ายเป็นเนื้อหาเบ็ดเตล็ด ประมาณว่าอาจารย์นึกอะไรขึ้นมาได้เขาก็จะสอน บางครั้งสอนเลทมากกจนถึงบ่าย เพราะพูดเพลินไปหน่อย ส่วนแลปที่ต้องทำจะเป็นแลป TPhO ปีเก่าๆ เช่น TPhO ตั้งแต่ครั้งที่ 11 ถึงปีล่าสุด แต่สบายใจได้ครับ ไม่มีสอบปลายค่ายอีกแน่นอน แต่อยากให้น้องๆทำแลปด้วยตัวเอง อย่าดูเฉลยก่อนนะ ไม่งั้นเดี๋ยวตอนสอบจริงทำไม่ได้นะครับ (พี่เคยทำแลป TPhO นานถึง 5 ชั่วโมงกว่าๆเลย เพราะคิดไม่ออก ได้กลับเป็นคนสุดท้ายด้วย55)ต้องไปสอบที่มหาลัย (แล้วแต่ว่าปีนั้นมหาลัยไหนจะได้เป็นเจ้าภาพ) ทั้งหมด 5 วันday1 : ปฐมนิเทศนิดๆหน่อยๆ แล้วเขาก็จะปล่อยไปพักที่โรงแรมเพื่อป้องกันการทุจริตซึ่งได้ข่าวว่าเคยเกิดขึ้นมาแล้วday2 : สอบทฤษฎีทั้งหมด 4 ชั่วโมง ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง คะแนนภาคทฤษฎีคิดเป็น 60% โดยทั่วไปข้อสอบจะแบ่งเป็น 3 ข้อใหญ่ หลายข้อย่อย แต่ละข้อมักจะเป็นสถานการณ์ต่างๆที่ยาวมากๆ ตั้งใจอ่านโจทย์ดีๆนะ วันแรกนอนให้เยอะๆนะครับ เดี๋ยวไม่มีแรงสอบ พอสอบเสร็จก็กลับโรงแรมเหมือนเดิมเพื่อเตรียมตัวสอบวันต่อไปday3 : สอบปฏิบัติทั้งหมด 4 ชั่วโมง ตั้งแต่ 8 โมงถึงเที่ยง คะแนนภาคปฏิบัติคิดเป็น 40% พอสอบเสร็จน้องก็จะได้โทรศัพท์คืน หลังจากนี้น้องสามารถไปเที่ยวห้างใกล้ๆมหาลัยได้นะ ไปดูหนังยังได้เลยday4: วันนี้จะเป็นวันเที่ยวครับ เขาจะพาเด็กแต่ละศูนย์ไปเที่ยวที่ต่างๆในจังหวัดนั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ดีนะ เพราะจะทำให้เราได้รู้จักเพื่อนๆศูนย์อื่นมากขึ้นด้วยday5: น่าจะเป็นวันที่หลายๆคนเครียดกัน นั่นคือ วันประกาศผลสอบ เขาจะประกาศเรียงตั้งแต่รางวัลเกียรติคุณประกาศ เหรียญทองแดง เหรียญเงิน จนถึงเหรียญทอง พอประกาศเสร็จแล้วก็กลับบ้านได้เลยครับ ไม่ว่าผลจะออกมาเป็นยังไง จะได้เหรียญหรือไม่ได้เหรียญ ก็ไม่ต้องเสียใจนะครับถ้าเราทำดีที่สุดแล้วก่อนจะสอบพี่อยากให้น้องๆลองเอาข้อสอบปีเก่าๆมาทำแบบจับเวลาเสมือนจริงดู ทำให้หมดทุกข้อ ให้หมดทุกปีเลยนะครับ เพราะพี่เชื่อว่าน้องหลายๆคนไม่เคยนั่งข้อสอบ 4 ชั่วโมงรวดแบบไม่ลุกไปไหนแบบนี้มาก่อน เนื้อหาที่จะออกอาจจะไม่มีอินทิเกรตถึกๆเท่าค่าย 1 ค่าย 2 แต่ยากสะใจแน่นอนครับ (โจทย์ที่ยากไม่จำเป็นต้องมีอินทิเกรตเสมอไป) และที่สำคัญเลยคือต้องฝึกแลปด้วยนะ ถึงเราจะไม่มีอุปกรณ์ให้ทำจริงๆ ก็ต้องลองฝึกวิเคราะห์แลปอยู่ดี อย่าคิดว่าไม่สำคัญนะครับ เพราะคะแนนมันตัดกันที่จุดทศนิยมเลย1) การสอบคัดเข้าค่ายสอวน.ฟิสิกส์ในส่วนเนื้อหาพี่ไม่รู้จะแนะนำหนังสืออะไรให้น้องจริงๆ เพราะมันใช้ความรู้ม.ปลายพื้นฐาน น้องสามารถอ่านหนังสือเล่มไหนก็ได้ (ที่เขาเขียนดีๆและถูกต้อง)ถ้าน้องอ่านเนื้อหามาเรียบร้อยแล้ว พี่มีหนังสือโจทย์มาแนะนำ 2 เล่มคือของ นักเรียนเหรียญทองฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติเล่มนี้แนะนำมากๆ มันเป็นหนังสือเฉลยข้อสอบสอวน.ฟิสิกส์ตั้งแต่ปี 2547-2558 มีทั้งหมด 12+1 ชุด เฉลยค่อนข้างละเอียดเลยทีเดียว หลังจากน้องทำข้อสอบเก่าในนี้หมดแล้ว ก็ทำข้อสอบเพิ่มเติมท้ายเล่มอีกชุดนึงเลย ขอบอกไว้ก่อนว่าชุดนี้โหดใช้ได้ถ้าเทียบกับคนที่ไม่เคยเข้าค่ายมาก่อน เอาง่ายๆ ถ้าน้องทำชุดนี้ได้คะแนนเยอะ พี่ว่าน้องติดแน่นอนครับ55ของ ณัฐวัชร์ มหายศนันท์ถึงชื่อมันจะเขียนว่าแนวข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ แต่ความจริงแล้วมันมีหลายข้อในนี้ที่เป็นข้อสอบสอวน.ครับ (ความจริงก็คือคนออกข้อสอบสอวน.ศูนย์กทม.เป็นคนเดียวกับคนออกข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ) ข้อสอบในนี้จะมี 6 ชุด ทำชุดละ 1.5 ชั่วโมงนะ

ทั้งสองเล่มนี้หาซื้อได้ที่ศูนย์หนังสือจุฬาเลย

–  เพิ่มเติม  ขัอสอบที่เกี่ยวกับฟิสิกส์โอลิมปิกทุกฉบับตั้งแต่การสอบคัดเข้า สอวน TPhO สสวท APhO IPhO  อยู่ในเว็บไซต์   http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/    ทั้งหมดเลยครับ ซึ่งหนังสือ 2 เล่มที่แนะนำด้านบน ยังไม่มีข้อสอบสอวนระดับชั้นไม่เกินม.5 หรือถ้ามีก็มีไม่ครบ (เมื่อก่อนมีการแบ่งเป็นข้อสอบระดับชั้นไม่เกินม.4 กับไม่เกินม.5 แต่ตอนนี้ไม่มีแล้ว) ดังนั้นน้องสามารถมาหาโจทย์ทำในนี้ได้ แต่ให้ดูดีๆด้วยนะครับ บางข้ออาจจะเฉลยผิดแล้วยังไม่มีคนแก้ เพราะคนที่มาเขียนเฉลยก็เป็นเด็กๆในค่ายสอวนนี่แหละ

ขัอสอบที่เกี่ยวกับฟิสิกส์โอลิมปิกทุกฉบับตั้งแต่การสอบคัดเข้า สอวน TPhO สสวท APhO IPhO อยู่ในเว็บไซต์ http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/ ทั้งหมดเลยครับ ซึ่งหนังสือ 2 เล่มที่แนะนำด้านบน ยังไม่มีข้อสอบสอวนระดับชั้นไม่เกินม.5 หรือถ้ามีก็มีไม่ครบ (เมื่อก่อนมีการแบ่งเป็นข้อสอบระดับชั้นไม่เกินม.4 กับไม่เกินม.5 แต่ตอนนี้ไม่มีแล้ว) ดังนั้นน้องสามารถมาหาโจทย์ทำในนี้ได้บางข้ออาจจะเฉลยผิดแล้วยังไม่มีคนแก้ เพราะคนที่มาเขียนเฉลยก็เป็นเด็กๆในค่ายสอวนนี่แหละ

ข้อนี้เป็นโจทย์ข้อนึงในข้อสอบสอวน.ฟิสิกส์ปี 2562

ขอย้ำนะครับ  ว่าควรทำข้อสอบของทั้งระดับชั้นไม่เกินม.4 และระดับชั้นไม่เกินม.5 ให้หมด ไม่ว่าเราจะอยู่มอไหนก็ตาม  ข้อสอบระดับชั้นไม่เกินม.4  บางปีอาจจะยากกว่าของม.5 ก็ได้นะครับ

2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1 และค่าย 2
ก่อนอื่นเลย พี่จะแนะนำหนังสือ 2 ชุดที่จำเป็นในค่ายพอสมควร อารมณ์ประมาณหนังสือประจำค่ายอะ
–  ชุดหนังสือฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา (University Physics)   ของ Young&Freedman แปลไทยโดย ดร.ปิยพงษ์ สิทธิคง มีทั้งหมด 3 เล่ม

ในค่าย 1 และค่าย 2 พี่แนะนำให้น้องอ่านเนื้อหาจากในนี้ครับ มันเป็นหนังสือฟิสิกส์พื้นฐานของมหาลัยปี 1 ที่เนื้อหาครอบคลุมสอวนทั้งสองค่ายเลย โจทย์ท้ายบทมีเยอะมาก พี่ขอแนะนำให้น้องเลือกทำเฉพาะโจทย์ปัญหาท้าทายนะ  และโจทย์ที่ดูยากๆนะ (เกรงว่าถ้าน้องทำหมด น้องจะอ่านอย่างอื่นไม่ทัน)
ปล. มีหนังสืออีก 2 เล่มที่น้องสามารถเลือกอ่านได้ คือ Physics for scientists and engineers ของ Serway&Jewett กับ  fundamentals of Physics ของ Halliday&Resnick เป็น textbook มหาลัยเหมือนกับของ Young เลย อยู่ที่ความชอบว่าน้องชอบอ่านเล่มไหน
   ชุดหนังสือสอวน.    มี 3 เล่ม คือเล่มกลศาสตร์, เทอร์โมไดนามิกส์ และ แม่เหล็กไฟฟ้า

ทั้ง 3 เล่มนี้แต่งโดยอาจารย์ที่สอนในค่ายครับ ถือว่าค่อนข้างยากทั้ง 3 เล่มเลยเพราะมันมีแคลคูลัสเยอะ โดยเฉพาะเล่มแม่เหล็กไฟฟ้า เล่มนี้มียัน gradient, divergence, curl เลย
เล่มกลศาสตร์: อ่านให้หมดเลย แต่ไม่ต้องอ่านถึงสัมพัทธภาพพิเศษนะ (เรื่องนี้เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวท)
เล่ม เทอร์โมไดนามิกส์: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องทฤษฏีของ Boltzmann (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทเช่นกัน)
เล่มแม่เหล็กไฟฟ้า: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ   (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทอีกแล้ว!!) ความจริงแล้วเรื่อง hysteresis, demagnetization, magnetic circuits ไม่ต้องอ่านก็ได้นะ เพราะมันไม่ออกข้อสอบ
อย่าลืม  ทำข้อสอบท้ายบทให้หมดนะครับ เพราะนี่แหละคือแนวข้อสอบของอาจารย์วุทธิพันธุ์ ป๋าของเรานั่นเอง
–   ทักษะปฎิบัติการฟิสิกส์     ของ นฤมล&ขวัฐ&ธเนศ อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยมหิดล
เล่มนี้ไม่มีอะไรจะพูดเยอะ แต่พี่ว่าควรมีเลยครับ เพราะมันเป็นพื้นฐานแลปทั้งหมดที่ครอบคลุมค่าย 1 ค่าย 2 จนถึงค่ายลึกๆ

–   หนังสือ calculus
อาจจะยังไม่จำเป็นต้องอ่าน เพราะแค่เรียนแคลคูลัสในค่าย+อ่านแคลคูลัสตามชีทต่างๆที่อาจารย์แจกมาก็เพียงพอแล้วครับ แต่ถ้าหากมีคนสนใจก็สามารถอ่านเล่ม Thomas’ calculus หรือ calculus ของ James Stewart ได้ (แนะนำว่าไม่ต้องอ่านละเอียดมากนะครับ เอาแค่ที่ใช้ในฟิสิกส์ก็พอ)
–   ข้อสอบเก่าจากเว็บ mpec 
อันนี้ขาดไม่ได้เลย ถ้าอยากไปค่ายลึกๆก็ทำทุกชุดเลยนะ ไม่ใช่ว่าอ่านเนื้อหามาหมดแล้ว ก็เลยไม่ทำโจทย์ ไม่ได้นะครับ เพราะยิ่งเราเจอโจทย์มามากเท่าไหร่ เราก็จะมีประสบการณ์มากเท่านั้น และโจทย์ยังเป็นตัวบอกว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอีกด้วย
ข้อสอบปลายค่าย 1 ปี 2559-2560  (ข้อพิเศษ)

อย่าดูถูกโจทย์ปลายค่าย 1 นะครับ ข้อนี้ถ้าแก้ตามวิธีที่อาจารย์ให้มา พี่ว่ามันจะยากและยาวมาก 
Hint: ใช้หลักอนุรักษ์พลังงานและหลักอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้นจะดีกว่า ไม่งั้นลองดูเฉลยที่ป๋าทำ

ส่วนอันนี้คือข้อสอบปลายค่าย 2 ปี 2554-2555 ที่ค่อนข้างยากอีกข้อนึง ถ้าน้องทำได้ น้องเก่งมากครับ

3) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)
   ข้อสอบเก่าจากเว็บ mpec 
อย่างที่เคยบอกไปแล้ว ให้ฝึกทำข้อสอบเก่าๆจากในนี้นะครับ ถ้าน้องๆคนไหนทำ TPhO จนหมด ไม่มีอะไรจะทำต่อแล้ว ก็ทำข้อสอบปลายค่าย1 สสวท.ต่อได้เลยนะ แต่พี่คิดว่าไม่น่ามีคนแบบนี้หรอก(มั้ง)

2) สอวน.ฟิสิกส์ค่าย 1 และค่าย 2ก่อนอื่นเลย พี่จะแนะนำหนังสือ 2 ชุดที่จำเป็นในค่ายพอสมควร อารมณ์ประมาณหนังสือประจำค่ายอะของ Young&Freedman แปลไทยโดย ดร.ปิยพงษ์ สิทธิคง มีทั้งหมด 3 เล่มในค่าย 1 และค่าย 2 พี่แนะนำให้น้องอ่านเนื้อหาจากในนี้ครับ มันเป็นหนังสือฟิสิกส์พื้นฐานของมหาลัยปี 1 ที่เนื้อหาครอบคลุมสอวนทั้งสองค่ายเลย โจทย์ท้ายบทมีเยอะมาก พี่ขอแนะนำให้น้องเลือกทำเฉพาะโจทย์ปัญหาท้าทายนะ และโจทย์ที่ดูยากๆนะ (เกรงว่าถ้าน้องทำหมด น้องจะอ่านอย่างอื่นไม่ทัน)ปล. มีหนังสืออีก 2 เล่มที่น้องสามารถเลือกอ่านได้ คือ Physics for scientists and engineers ของ Serway&Jewett กับ fundamentals of Physics ของ Halliday&Resnick เป็น textbook มหาลัยเหมือนกับของ Young เลย อยู่ที่ความชอบว่าน้องชอบอ่านเล่มไหนมี 3 เล่ม คือเล่มกลศาสตร์, เทอร์โมไดนามิกส์ และ แม่เหล็กไฟฟ้าทั้ง 3 เล่มนี้แต่งโดยอาจารย์ที่สอนในค่ายครับ ถือว่าค่อนข้างยากทั้ง 3 เล่มเลยเพราะมันมีแคลคูลัสเยอะ โดยเฉพาะเล่มแม่เหล็กไฟฟ้า เล่มนี้มียัน gradient, divergence, curl เลยเล่มกลศาสตร์: อ่านให้หมดเลย แต่ไม่ต้องอ่านถึงสัมพัทธภาพพิเศษนะ (เรื่องนี้เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวท)เล่ม เทอร์โมไดนามิกส์: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องทฤษฏีของ Boltzmann (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทเช่นกัน)เล่มแม่เหล็กไฟฟ้า: อ่านให้หมด ยกเว้นบทสุดท้ายเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ (เก็บไว้อ่านตอนเข้าค่ายสสวทอีกแล้ว!!) ความจริงแล้วเรื่อง hysteresis, demagnetization, magnetic circuits ไม่ต้องอ่านก็ได้นะ เพราะมันไม่ออกข้อสอบทำข้อสอบท้ายบทให้หมดนะครับ เพราะนี่แหละคือแนวข้อสอบของอาจารย์วุทธิพันธุ์ ป๋าของเรานั่นเองของ นฤมล&ขวัฐ&ธเนศ อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยมหิดลเล่มนี้ไม่มีอะไรจะพูดเยอะ แต่พี่ว่าควรมีเลยครับ เพราะมันเป็นพื้นฐานแลปทั้งหมดที่ครอบคลุมค่าย 1 ค่าย 2 จนถึงค่ายลึกๆอาจจะยังไม่จำเป็นต้องอ่าน เพราะแค่เรียนแคลคูลัสในค่าย+อ่านแคลคูลัสตามชีทต่างๆที่อาจารย์แจกมาก็เพียงพอแล้วครับ แต่ถ้าหากมีคนสนใจก็สามารถอ่านเล่ม Thomas’ calculus หรือ calculus ของ James Stewart ได้ (แนะนำว่าไม่ต้องอ่านละเอียดมากนะครับ เอาแค่ที่ใช้ในฟิสิกส์ก็พอ)อันนี้ขาดไม่ได้เลย ถ้าอยากไปค่ายลึกๆก็ทำทุกชุดเลยนะ ไม่ใช่ว่าอ่านเนื้อหามาหมดแล้ว ก็เลยไม่ทำโจทย์ ไม่ได้นะครับ เพราะยิ่งเราเจอโจทย์มามากเท่าไหร่ เราก็จะมีประสบการณ์มากเท่านั้น และโจทย์ยังเป็นตัวบอกว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอีกด้วย3) ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ (TPhO)อย่างที่เคยบอกไปแล้ว ให้ฝึกทำข้อสอบเก่าๆจากในนี้นะครับ ถ้าน้องๆคนไหนทำ TPhO จนหมด ไม่มีอะไรจะทำต่อแล้ว ก็ทำข้อสอบปลายค่าย1 สสวท.ต่อได้เลยนะ แต่พี่คิดว่าไม่น่ามีคนแบบนี้หรอก(มั้ง)

ข้อสอบ TPhO ครั้งที่ 17 สอบที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สังเกตว่าโจทย์จะยาวมากและชอบถามเป็นข้อย่อยไปเรื่อยๆ พี่ว่าตรงนี้น้องต้องระวังดีๆเลย เพราะถ้าน้องทำข้อย่อยแรกผิด ข้อถัดๆไปน้องอาจจะทำผิดหมด

และข้อสังเกตอีกอย่าง คือโจทย์ที่ยากไม่จำเป็นต้องมีแคลคูลัส
มีจุดที่น่าสนใจคือ บางครั้งโจทย์ TPhO ก็มีข้อผิดพลาดได้ เช่น จากรูปด้านบน a+a^2+a^3+… ไม่เท่ากับ 1/(1-a) นะครับ ดังนั้นเวลาทำข้อสอบ ต้องรอบคอบนิดนึง

หนังสือเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่สนใจ
–   Problems in general Physics  ของ IE Irodov
อันนี้เป็นหนังสือโจทย์ในตำนานของเด็กค่ายฟิสิกส์ มีโจทย์เยอะมากกก เป็น 1000 ข้อเลย เฉลยภาษาอังกฤษน้องสามารถหาตามเว็บต่างๆได้ ส่วนเฉลยภาษาไทย(บางข้อ) มีอยู่ในเว็บ mpec กดเข้าไปตรง “โครงการ Irodov”
   Introduction to classical mechanics with problems and solutions    ของ David Morin
ส่วนตัวชอบเล่มนี้มากเพราะในค่ายสสวทอ่านมันบ่อย ฝึกทำโจทย์จากในเล่มนี้ได้นะ โจทย์ค่อนข้างยากเลย แต่จะมีโจทย์แค่กลศาสตร์
   Introduction to Electrodynamics   ของ  David J. Griffiths
เป็นหนังสือเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่ค่อนข้างยากอีกเล่มนึง ถ้าเป็นระดับสอวน. พี่แนะนำให้อ่านบท Electrostatics,  Magnetostatics กับ Electrodynamics นะ ส่วนเรื่อง vector calculus น้องยังไม่ต้องสนใจในตอนนี้ ข้ามได้ข้ามเลย แต่ถ้าจะอ่านเอามันส์ก็ไม่เป็นไร

ก่อนจะจากกันไปก็ขอให้น้องโชคดีกับการสอบสอวน.นะครับ ในฐานะคนที่มีประสบการณ์ในวงการนี้มาหลายปี ก็ขอบอกเลยว่า  คนที่จะเข้าค่ายลึกๆได้ หรือได้เหรียญรางวัลมากมายต้องเป็นคนที่จริงจังและแบ่งเวลาเป็นครับ เราต้องสอบปลายค่ายหรือเข้าค่ายต่างๆ พร้อมๆกับเรียนที่โรงเรียนไปด้วย บางครั้งอาจจะทำให้น้องๆหลายคนเหนื่อยและละความพยายามไป ซึ่งพี่ขอบอกเลยว่ามันเหนื่อยจริงๆครับ มีอุปสรรคมากมาย เช่น ต้องมาตามการบ้านย้อนหลังเพราะติดค่ายที่สสวท. , ทำโจทย์ไม่ได้จนหมดกำลังใจ หรือการบ้านที่โรงเรียนเยอะจนไม่มีเวลาอ่านฟิสิกส์ แต่เชื่อเถอะครับว่าถ้าน้องจะผ่านมันไปได้ แล้วพอมองย้อนกลับมา น้องจะมีความสุขที่ได้เรียนสิ่งที่ตัวเองชอบ มีความสุขที่ได้พยายามฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆมา แม้จะไม่เคยได้เหรียญรางวัลอะไรเลยก็ตาม..

ของ IE Irodovอันนี้เป็นหนังสือโจทย์ในตำนานของเด็กค่ายฟิสิกส์ มีโจทย์เยอะมากกก เป็น 1000 ข้อเลย เฉลยภาษาอังกฤษน้องสามารถหาตามเว็บต่างๆได้ ส่วนเฉลยภาษาไทย(บางข้อ) มีอยู่ในเว็บ mpec กดเข้าไปตรง “โครงการ Irodov”ของ David Morinส่วนตัวชอบเล่มนี้มากเพราะในค่ายสสวทอ่านมันบ่อย ฝึกทำโจทย์จากในเล่มนี้ได้นะ โจทย์ค่อนข้างยากเลย แต่จะมีโจทย์แค่กลศาสตร์ของ David J. Griffithsเป็นหนังสือเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่ค่อนข้างยากอีกเล่มนึง ถ้าเป็นระดับสอวน. พี่แนะนำให้อ่านบท Electrostatics, Magnetostatics กับ Electrodynamics นะ ส่วนเรื่อง vector calculus น้องยังไม่ต้องสนใจในตอนนี้ ข้ามได้ข้ามเลย แต่ถ้าจะอ่านเอามันส์ก็ไม่เป็นไรก่อนจะจากกันไปก็ขอให้น้องโชคดีกับการสอบสอวน.นะครับ ในฐานะคนที่มีประสบการณ์ในวงการนี้มาหลายปี ก็ขอบอกเลยว่า คนที่จะเข้าค่ายลึกๆได้ หรือได้เหรียญรางวัลมากมายต้องเป็นคนที่จริงจังและแบ่งเวลาเป็นครับ เราต้องสอบปลายค่ายหรือเข้าค่ายต่างๆ พร้อมๆกับเรียนที่โรงเรียนไปด้วย บางครั้งอาจจะทำให้น้องๆหลายคนเหนื่อยและละความพยายามไป ซึ่งพี่ขอบอกเลยว่ามันเหนื่อยจริงๆครับ มีอุปสรรคมากมาย เช่น ต้องมาตามการบ้านย้อนหลังเพราะติดค่ายที่สสวท. , ทำโจทย์ไม่ได้จนหมดกำลังใจ หรือการบ้านที่โรงเรียนเยอะจนไม่มีเวลาอ่านฟิสิกส์ แต่เชื่อเถอะครับว่าถ้าน้องจะผ่านมันไปได้ แล้วพอมองย้อนกลับมา น้องจะมีความสุขที่ได้เรียนสิ่งที่ตัวเองชอบ มีความสุขที่ได้พยายามฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆมา แม้จะไม่เคยได้เหรียญรางวัลอะไรเลยก็ตาม..


Q\u0026A สอวน. รวมคำถามที่น้องๆถามมาเกี่ยวกับการสอบสอวน. l To be DOC พี่หมาพาเข้าหมอ


คลิปนี้เป็นคลิป Q\u0026A สอวน. น้าา โดยพี่รวมคำถามมาจากในคอมเมนต์ และในไอจีจ้าาา ถ้าน้องๆคนไหนมีคำถามเพิ่มเติมสามารถทักมาได้ที่ 📌📌
📢📢 Facebook : To be DOC พี่หมาพาเข้าหมอ
📢📢 Youtube : To be DOC
📢📢 Instagram : tobedoc_
สอวน. สอวนชีวะ สอวนเคมี แพทย์ ติดหมอ tobedoc พี่หมาพาเข้าหมอ พี่หมา dek64 dek65 dek66 dek67 dek68 กสพท tcas

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Q\u0026A สอวน. รวมคำถามที่น้องๆถามมาเกี่ยวกับการสอบสอวน. l To be DOC พี่หมาพาเข้าหมอ

สอวน.คืออะไร ? ก่อนสอบสอวน. เตรียมตัวเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ต้องรู้ ! | by Dek-D’s School


สิ่งที่ต้องรู้ก่อนสอบ สอวน.
สอวน.คืออะไร ข้อสอบต่างจากการสอบอื่นๆ ยังไง เป็นเด็กค่ายแล้วได้อะไร มีโควตาเรียนจริงไหม?
มารู้จักกับค่ายสอวน.
กดแชร์ไปให้เพื่อนๆ ที่สนใจเข้าค่ายนี้ไปพร้อมกัน

สอวน posn dekdschool

สอวน.คืออะไร ? ก่อนสอบสอวน. เตรียมตัวเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ต้องรู้ ! | by Dek-D's School

ประกาศผลรอบ 3 | จุฬาธรรมศาสตร์หรือรอบ4 #dek63


instagram: @realchokhok
twitter: @chokytoon
ask.fm: https://ask.fm/RealCToon
มีคำถาม / ติชม สามารถคอมเม้นไว้ด้านล่างได้เลยนะคะ💖💖
thank you for your attention na ka✨✨

ประกาศผลรอบ 3 | จุฬาธรรมศาสตร์หรือรอบ4 #dek63

𝐏𝐀𝐑𝐓𝟏 รีวิวไม่มีกั๊ก เส้นทางสอวน.ชีวะ ค่าย 1,2 + อ่านชีวะยังไงให้จำได้ !? I kornsbk.


ig : kornsbk
มาอีกคลิปละครับสำหรับคลิปที่มีคนเรียกร้องให้ทำ ใน part 1 จะเป็นการรีวิวตั้งเเต่เตรียมตัวจนถึงก่อนไปเเข่ง TBO หรือ การเเข่งชีววิทยาโอลิมปิกระดับชาติ ใครที่เตรียมตัวจะเข้า สอวน.ชีวะ (Biology POSN.) ก็ดูกันได้ เเล้วยังมีเทคนิคการอ่านชีววิทยาให้จำได้ ซึ่งเป็นเทคนิคเฉพาะตัว ใครที่ยังไม่รู้จะเริ่มยังไง ลองดูคลิปนี้กันก่อนก็ได้ครับ ตั้งใจทำมากๆๆๆ ดูให้จบกันเถอะทุกคน ส่วน part 2 จะเป็นการเเข่งระดับชาติทั้งหมด ฝากติดตามกันด้วยนะครัชชช dek65 dek66 dek67 POSN
PS.1 ใครอยากรู้อะไรที่เราไม่ได้ใส่ไว้ในคลิป คอมเม้นทิ้งไว้ได้เลยครับ
PS.2 ใครอยากให้ทำคลิปเเบบไหนทิ้งข้อความไว้ได้นะครัชชช
PS.3 สำคัญที่สุด ฝากกดไลค์กับ subscribe เป็นกำลังใจให้กันด้วยฮะ
PS.4 ใครที่ดูไม่จบพลาด highlight นะอิอิ
Song Credit
Song: Ikson Paradise (Vlog No Copyright Music)
Music promoted by Vlog No Copyright Music.
Video Link: https://youtu.be/glMhD3EU46k
สอวน สอวนชีวะ study

𝐏𝐀𝐑𝐓𝟏 รีวิวไม่มีกั๊ก เส้นทางสอวน.ชีวะ ค่าย 1,2 + อ่านชีวะยังไงให้จำได้ !? I kornsbk.

อ่านหนังสือยังไงให้จำได้ l 10นาทีกับหมอต่อ


รับปรึกษาปัญหาด้านความงาม ผิว และสุขภาพ โดย นพ.วชิรวิทย์ กิตติรัตน์พัฒนา
fanpage ถามตอบปัญหา https://bit.ly/30fr3Nh
Youtube : http://www.youtube.com/c/10นาทีกับหมอต่อ​
.
สั่งซื้อสินค้า ครีมบำรุงผิว เซรั่มหน้าใส ครีมรักษาสิว กันแดดชนิดไม่อุดตัน
website : https://bit.ly/3ea0l0H
Facebook : https://bit.ly/38dV0Sm
LINE : https://bit.ly/3sSh1hA
Shopee : https://bit.ly/3ebT40p
IG : https://bit.ly/38drCf6

อ่านหนังสือยังไงให้จำได้ l 10นาทีกับหมอต่อ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ประกาศ ผล สอบ สอ วน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *